คู่มือการปฏิบัติงาน
งานลูกเสือเนตรนารี
ิ
จัดทำโดย นางสาวทมตา ไชยศรี
ตำแหน่ง นักวิชาการศึกษาชำนาญการ
งานกิจการนักเรียน
กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา
สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
คำนำ
คู่มือปฏิบัติงานลูกเสือเนตรนารี ฉบับนี้ ข้าพเจ้านางสาวทมิตา ไชยศรี ตำแหน่งนักวิชาการ
ศึกษาชำนาญการ กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
จัดทำขึ้นโดยรวบรวมข้อบังคับ และระเบียบสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานลูกเสือ เนตรนารี ได้มี
ความรู้ ความเข้าใจเบื้องต้นในการปฏิบัติงานลูกเสือ เนตรนารี ซึ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการขออนุมัติจัดตั้งกลุ่ม
กองลูกเสือและแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ การตรวจขั้นที่ ๕ ขั้นปฏิบัติการและประเมินผลและการเดิน
ทางไกลและแรมคืน ผู้จัดทำหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และสถานศึกษา
ได้เป็นอย่างดียิ่ง
นางสาวทมิตา ไชยศรี
งานกิจการ นักเรียนกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา
สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
สารบัญ
หน้า
คำนำ
การขออนุมัติจัดตั้งกองและแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๑-๒
แนวทางการตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๓-๕
การจัดตั้งกองลูกเสือ ๖
ขั้นตอนการให้บริการ การขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๗
ขั้นตอนวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจขั้นที่ ๕ ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล ๘-๑๐
ขั้นตอนการให้บริการ การตรวจขั้นที่ ๕ ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล ๑๐
ื่
การส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพอขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อน ๑๑-๑๘
การส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพอขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน ๑๙-๒๑
ื่
ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๒๒-๓๑
การขออนุมัติตั้งกอง และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
จากข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการปกครอง หลักสูตร และวิชาพิเศษ พ.ศ. ๒๕๐๙
ข้อ ๖๔ การจัดตั้งกลุ่มหรือกองลูกเสือต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้บังคับ บัญชาลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๓ ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ คือ เลขาธิการ
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี (ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๕๓ ข้อ ๗ )
การดำเนินการก่อนขออนุมัติตั้งกองและแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
๑. ดำเนินการรับสมัครเด็ก (ใช้แบบ ลส.๓ ใบสมัครเข้าเป็นลูกเสือ)
- กองลูกเสือสำรอง ๑ กอง มีจำนวนลูกเสือ ๘-๓๖ คน อายุตั้งแต่ 6 ปี และไม่เกิน
๑๑ ปีบริบูรณ์ (หรืออยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑-๓) โดยแบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ ๒-๖ หมู่ หมู่หนึ่งมี
ลูกเสือ ๔-๖ คน รวมทั้งนายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย (ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๗๒)
- กองลูกเสือสามัญ ๑ กอง มีจำนวนลูกเสือ ๑๒-๔๘ คน อายุตั้งแต่ ๑๑ ปี และไม่
ึ
เกิน ๑๗ ปีบริบูรณ์ (หรืออยู่ในระดับชั้นประถมศกษาปีที่ ๔-๖) โดยแบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ ๒-๖ หมู่ หมู่หนึ่งมี
ลูกเสือ ๖-๘ คน รวมทั้งนายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย (ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๘๔)
- กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๑ กอง มีจำนวนลูกเสือ ๖-๔๘ คน อายุ ๑๕-๑๘ ปีหรือ
ึ
อยู่ในระดับชั้นมัธยมศกษา โดยแบ่งลูกเสือออกเป็นหมู่ ๒-๖ หมู่ ๒-๖ หมู่ หมู่หนึ่งมีลูกเสือ ๓-๗ คน รวมทั้ง
นายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย (ข้อบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๙๔)
- กองลูกเสือวิสามัญ ๑ กอง มีจำนวนลูกเสืออย่างน้อย ๑๐ คน และไม่เกิน 50 คน
อายุ ๑๖-๒๕ ปี (หรือกำลังเรียนอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือระดับอาชีวศึกษา หรือระดับอุดมศึกษา)
กองลูกเสือวิสามัญจะแบ่งออกเป็นชุดหรือหมู่ตามความต้องการก็ได้ และควรมีลูกเสือวิสามัญ ชุด หรือหมู่ละ
้
๔-๖ คน รวมทั้งนายหมู่ และรองนายหมู่ลูกเสือด้วย (ขอบังคับ พ.ศ. ๒๕๐๙ ข้อ ๑๐๖)
เมื่อรับสมัครเด็กเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะต้องหาตัวผู้กำกับลูกเสือ กองละ ๑ คน และรอง
ผู้กำกับอีก 9 คน หรือหลายคนเป็นผู้ช่วย
๒. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ข้อบังคับฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๔) หมายถึง ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน
รองผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ รองผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ ผู้กำกับกองลูกเสือ รองผู้กำกับลูกเสือ
นายหมู่ลูกเสือ และรองนายหมู่ลูกเสือ
๓. ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ข้อบังคับฯ พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๕) ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้
- เป็นผู้สุภาพเรียบร้อย มีความประพฤติดี สมควรเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เด็ก
- เป็นผู้มีศาสนา
2
- เป็นผู้ไม่มีโรคซึ่งเป็นที่รังเกียจแก่สังคม
- เป็นผู้มีสัญชาติไทย หรือถ้าไม่มีสัญชาติไทยต้องได้รับอนุมัติจากคณะ
กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
- เป็นผู้มีความเข้าใจในวัตถุประสงค์ หลักการและวิธีการของลูกเสือ
- เป็นผู้มีอาชีพเป็นหลักฐานไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
- มีอายุและผ่านการฝึกอบรม ดังนี้
๑) ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ให้แต่งตั้งจากผู้อำนวยการสถานศึกษานั้น
และต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ รองผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียนให้แต่งตั้งจากรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
นั้นที่ได้รับมอบหมายและต้องได้รับ เครื่องหมายวูดแบดจ์ ผู้อำนวยการสถานศึกษาที่ยังไม่ได้รับเครื่องหมายวูด
แบดจ์ ให้รักษาการตำแหน่ง ผู้อำนวยการลูกเสือ โรงเรียนไปก่อน และต้องเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อให้ได้รับ
เครื่องหมายวูดแบดจ์ในหนึ่งปี นับแต่วันที่ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษา
๒) ผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบแปดปีบริบูรณ์และต้องได้รับ
เครื่องหมาย วูดจ์แบดจ์ รองผู้กำกับ กลุ่มลูกเสือมีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบห้าปีบริบูรณ์และต้องได้รับเครื่องหมาย
วูดแบดจ์
๓) ผู้กำกับกองลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์ และต้อง
ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ประเภท ลูกเสือวิสามัญ รองผู้กำกับกองลูกเสือวิสามัญ มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิสามปี
บริบูรณ์ และต้องได้รับวุฒิบัตร การฝึกอบรมวิชา ผู้กำกับลูกเสือวิสามัญ ขั้นความรู้เบื้องต้น
๔) ผู้กำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบสามปีบริบูรณ์
และต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ประเภทลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ รองผู้กำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ มีอายุ
ไม่น้อยกว่ายี่สิบเอ็ดปีบริบูรณ์ และต้องได้รับ วุฒิบัตรการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ขั้นความรู้
เบื้องต้น
๕) ผู้กำกับกองลูกเสือสำรอง มีอายุไม่น้อยกว่ายี่สิบปีบริบูรณ์และต้องได้รับ
เครื่องหมายวูดแบดจ์ประเภทลูกเสือ สำรอง รองผู้กำกับกองลูกเสือสำรอง มีอายุไม่น้อยกว่าสิบเอ็ดปีบริบูรณ์
และต้องได้รับวุฒิบัตรการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับ ลูกเสือสำรอง ขั้นความรู้เบื้องต้น
หมายเหตุ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่ยังไม่ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ หรือวุฒิบัตรการฝึกอบรม
้
ื่
วิชาผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้นตามขอ ๗ (ก)-(ฉ) ให้เข้ารับการฝึกอบรมเพอขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์
หรือวุฒิบัตรการฝึกอบรม วิชาผู้กำกับลูกเสือ ขั้นเบื้องต้นภายในหนึ่งปี อนึ่ง ครู อาจารย์โรเรียนที่ยังไม่ผ่านการ
อบรมขั้นความรู้เบื้องต้น ให้แต่งตั้งเป็นรองผู้กำกับกองลูกเสือ ไปกอน และต้องเข้ารับการฝึกอบรมขั้นความรู้
่
เบื้องต้นภายใน ๑ ปี
3
ั
แนวทางการตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บงคับบัญชาลูกเสือ
๑. ขั้นตอนการดำเนินการ แบ่งออกเป็น ๒ ขั้นตอน คือ ขั้นอนุมัติ และ ขั้นหลังอนุมติ
ั
ระดับโรงเรียน
ขั้นขออนุมัติ
โรงเรียนส่งคำร้องขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือตามแบบฟอร์มที่
กำหนด โดยดำเนินการ ดังนี้
๑) ผู้บังคับบัญชา ตรวจสอบจำนวนลูกเสือ เนตรนารี มีจำนวนเด็กเพียงพอกับการตั้ง
กองลูกเสือแต่ละประเภท และแต่งตั้งกลุ่มลูกเสือได้ตามจำนวนกองลูกเสือที่กำหนด และมีผู้กำกับกลุ่มลูกเสือ
ตามขอบังคับ จัดทำใบสมัคร (ลส.๓) ให้ลูกเสือสมัครเข้าเป็นลูกเสือ ตามจำนวนที่กำหนด
้
๒) ให้ลูกเสือ ผู้สมัครเป็นลูกเสือเขียนใบสมัคร (ลส.๓) ให้กับโรงเรียน โรงเรียนขึ้น
ทะเบียนลงชื่อผู้สมัครตามประเภทของลูกเสือ คือ
- ลูกเสือสำรอง ลส.๖ ทะเบียนกองลูกเสือสำรอง
- ลูกเสือสามัญ ลส.๗ ทะเบียนกองลูกเสือสามัญ
- ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ สส.๘ ทะเบียนกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
- ลูกเสือวิสามัญ สส.๙ ทะเบียนกองลูกเสือวิสามัญ
๓) จัดทำคำร้องขอจัดตั้งกลุ่มลูกเสือ กองลูกเสือ (ลส.๑) ตามจำนวนกลุ่มหรือกอง
ลูกเสือ (ลูกเสือ ๑ กลุ่ม : ลส.๑ จำนวน ๑ ฉบับ และกองลูกเสือ ๑ กอง : ลส.๑ จำนวน ๑ ฉบับ)
- ตรวจสอบบุคลากรในโรงเรียนที่มีวุฒิลูกเสือ แต่งตั้งตรงตามประเภทตาม
ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๓
- จัดทำแผนภูมิ โครงสร้างลูกเสือตามแบบฟอร์ม
- ส่งคำร้องขอแต่งตั้งกองลูกเสือ ตามแบบ ลส.๑
๔) ส่งคำร้องขอแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ตามแบบ ลส.๒ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
กลุ่ม/กองลูกเสือ
- ผู้กำกับลูกเสือ ๑ คน/กลุ่มลูกเสือ ๑ กลุ่ม
- ผู้กำกับลูกเสือ ๑ คน/กองลูกเสือ ๑ กอง
- รองผู้กำกับกลุ่ม/กองลูกเสือ ให้เป็นไปตามระเบียบ พร้อมแนบวุฒิบัตร
ผ่านการฝึกอบรม
4
๕) ผู้อำนวยการโรงเรียนที่จะมีตำแหน่งผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียน ต้องส่งแบบคำ
ขอแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (แบบ ลส.๒) พร้อมแนบวุฒิผ่านการฝึกอบรมวูดแบดจ์ ๒ ท่อน
๖) รวบรวมใบสมัครขอจัดตั้งกลุ่ม/กองลูกเสือ (ลส.๑) และใบสมัครของ
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ (ลส.๒) ส่งสำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่ดำเนินการโดยทำหนังสือจากโรงเรียนถึงผู้อำนวยการ
ึ
ลูกเสือเขตพื้นที่การศกษา ให้มีเอกสารประกอบ ดังนี้
- บัญชีรายชื่อผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่ขอรับการแต่งตั้ง
- ลส.๑ คำร้องขอจัดตั้งกลุ่ม/กองลูกเสือ ตามจำนวนที่ขอจัดตั้ง
ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ขั้นขออนุมัติ
เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเอกสารให้ถูกต้องตามระเบียบ หลักเกณฑ์การตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และ
แต่งตั้งผู้บังคับบัญชาตามประเภทของลูกเสือ (ลูกเสือสำรอง ลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่และลูกเสือ
วิสามัญ) ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
๑) เสนอผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดพิจารณาอนุมัติตั้งกลุ่ม /กองลูกเสือ และแต่งตั้ง
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ โดยใช้เลขทะเบียนจากสำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
๒) ลงทะเบียนข้อมูลการตั้งกลุ่ม/ กอง / และ ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
๓) จัดส่งใบแต่งตั้งให้หน่วยงาน/สถานศึกษาที่เกี่ยวข้อง
ขั้นหลังอนุมัติ
๑) เมื่อโรงเรียนได้รับหนังสือแจ้งจากสำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา (ได้รับ
อนุมัติจากสำนักงานลูกเสือจังหวัด/สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษาที่ได้รับมอบอำนาจแล้ว) จะได้รับ
เอกสารเป็นหนังสือสำคัญการแต่งตั้ง ตามคำขอ
- ลส.๑๑ ใบตั้งกลุ่มลูกเสือ ตามจำนวนที่ขอจัดตั้ง
- ลส.๑๒ ใบตั้งกองลูกเสือ ตามจำนวนที่ขอจัดตั้ง
- ลส.๑๓ ใบแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ตามจำนวนที่ขอแต่งตั้ง โรงเรียน
๒) ลงทะเบียนผู้บังคับบัญชา ตามลำดับการแต่งตั้ง
๓) แจ้งให้ผู้ได้รับการแต่งตั้งทราบ
๔) ดำเนินการจัดกิจกรรมตามที่ได้รับการแต่งตั้ง
๒.ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๑) พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ.๒๕๕๑
๒) ข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
พ.ศ. ๒๕๕๓
5
๓) แนวปฏิบัติการขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือและแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
๔) แนวทางการจัดกิจกรรมลูกเสือที่สอดคล้องกับหลักสูตรการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๔๔ ของ สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
๓. แบบฟอร์มที่ใช้
๑) หนังสือนำส่งจากโรงเรียนเสนอขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
แนบเอกสารดังนี้
- แผนภูมิการขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ
- โครงสร้างกองลูกเสือ
- แบบ ลส.๑ (แบบคำร้องขอจัดตั้งกลุ่ม หรือกองลูกเสือ)
- แบบ ลส.๒ (ใบสมัครเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือฯ แนบวุฒิบัตร)
- วุฒิบัตรผ่านการอบรมตรงตามประเภทการขอแต่งตั้งกองลูกเสือ (สำรอง สามัญ
สามัญรุ่นใหญ่ วิสามัญ)
- เอกสารอื่น ๆ (กรณีชื่อสกุลไม่ตรงกับวุฒิบัตร)
หมายเหตุ
๑) ผู้มีวุฒิลูกเสือสำรอง เป็นผู้กำกับและรองผู้กำกับกองลูกเสือสำรองเท่านั้น ดังนี้ ผู้กำกับ
กองลูกเสือ สำรอง จะต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ลูกเสือสำรอง เท่านั้น รองผู้กำกับกองลูกเสือสำรอง มีวุฒิ
ลูกเสือสำรอง ขั้นสูง (A.T.C.) และวุฒิลูกเสือสำรองเบื้องต้น (B.T.C.)
๒) ผู้มีวุฒิลูกเสือสามัญ เป็นผู้กำกับและรองผู้กำกับกองลูกเสือสามัญเท่านั้น ดังนี้ ผู้กำกับกอง
ลูกเสือสามัญ จะต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ลูกเสือสามัญ เท่านั้น รองผู้กำกับกองลูกเสือสามัญ ต้องมีวุฒิ
ลูกเสือสามัญ ขั้นสูง (A.T.C.) และมีวุฒิลูกเสือสามัญเบื้องต้น (B.T.C.)
๓) ผู้มีวุฒิลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เป็นผู้กำกับและรองผู้กำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เท่านั้น
ดังนี้ ผู้กำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ จะต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เท่านั้น รองผู้
กำกับกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ต้องมีวุฒิลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ขั้นสูง (A.T.C.) และมีวุฒิลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เบื้องต้น (B.T.C.)
๔) ผู้มีวุฒิลูกเสือวิสามัญ เป็นผู้กำกับและรองผู้กำกับกองลูกเสือวิสามัญเท่านั้น ดังนี้ ผู้กำกับ
กองลูกเสือวิสามัญ จะต้องได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ลูกเสือวิสามัญ เท่านั้น รองผู้กำกับกองลูกเสือวิสามัญ
ี
ต้องมีวุฒิลูกเสือวิสามัญ ขั้นสูง (A.T.C.) และมวุฒิลูกเสือวิสามัญเบื้องต้น (B.T.C.)
6
การจัดตั้งกลุ่มลูกเสือ
การจัดตั้งกลุ่ม หรือกองลูกเสือ ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการสำนักงานคณะ
กรรมการบริหาร ลูกเสือแห่งชาติ หรือผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด หรือผู้อำนวยการสำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่
การศึกษาทได้รับมอบอำนาจ แล้วแต่กรณี
ี่
๑. การที่จะขอจัดตั้งกลุ่มลูกเสือได้จะต้องมีกองลูกเสือ ตั้งแต่ ๔ กองขึ้นไป
๒. กลุ่มลูกเสือแบ่งออกได้เป็น ๒ ลักษณะ คือ
- กลุ่มลูกเสือที่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกองลูกเสือทั้ง ๔ ประเภท ได้แก่ กองลูกเสือ
สำรอง ๑ กอง กองลูกเสือสามัญ ๑ กอง กองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๑ กอง กองลูกเสือวิสามัญ ๑ กอง (ประเภท
ละ ๑ กอง เป็นอย่างน้อย)
ี่
- กลุ่มลูกเสือทไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกองลูกเสือ ๒-๓ ประเภท ประเภทละ ๒
กอง ขึ้นไป หรือมีประเภทเดียว ๔ กองขึ้นไป เมื่อรวมกองลูกเสือ ๔ กอง เป็น ๑ กลุ่มแล้ว จะต้องมีผู้กำกับกลุ่ม
๑ คน และมีรองผู้กำกับกลุ่มเป็นผู้ช่วย
3. การจัดตั้งกองลูกเสือ
พระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ หมวด ๓ การจัดกลุ่ม ประเภท และตำแหน่งลูกเสือ
มาตรา ๔๓ การตั้ง การยุบ การจัดหน่วยลูกเสือ เหล่าลูกเสือ และประเภทลูกเสือทั้งปวง ให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ์ และ วิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๔ การเข้าเป็นลูกเสือ การออกจากลูกเสือ การจัดประเภท ชั้น เหล่า และการฝึกอบรมลูกเสือใน
สถานศึกษา หรือนอกสถานศึกษา ให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
๔. เอกสารประกอบการขอจัดตั้งกองลูกเสือ
- แบบ ลส.๑ คือ คำร้องขอจัดตั้งกลุ่มลูกเสือ หรือกองลูกเสือ
- แบบ ลส. ๒ คือ ใบสมัครเป็นผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ผู้ตรวจการลูกเสือ กรรมการ
ลูกเสือ และเจ้าหน้าที่ลูกเสือ
- แบบ ลส. ๓ คือ ใบสมัครเข้าเป็นลูกเสือ
7
การให้บริการ
การขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ขั้นตอนการให้บริการ
(๑)
โรงเรียนส่งคำร้องขอจัดตั้งกลุ่ม กองลูกเสือ และผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ยังสนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
(๒) ๕ วัน
เจ้าหนาทลูกเสือ ตรวจสอบคำร้อง เอกสาร
ี่
หลักฐาน การจัดตั้งกลุ่ม กอง และผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือ ตามประเภทของลูกเสือ
(สนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา)
(๓) ๒ วัน
จัดทำ ลส.11 ลส.12 และ ลส.13
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ติดต่อ/ประสาน/ส่งกลับโรงเรียน
บันทึกพร้อมเสนอขออนุมัติ
ถูกต้อง
(สนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา)
ง หรือไม่ ให้ดำเนินการให้ถูกต้อง
(๔) ๓ วัน
เสนอผู้อำนวยการลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต
๒๙ อนุมัติตั้งกลุ่ม กอง ลูกเสือ และแต่งตั้งผู้บังคับบัญชา
ลูกเสือ (สนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา)
(๕) ๑ วัน (๖) ๑ วัน
จัดทำทะเบียนข้อมูลการจัดตั้งกลุ่ม จัดส่งใบแต่งตั้งให้โรงเรียนที่
กองลูกเสือ และผู้บังคับบัญชาลูกเสือ เสนอขอ
(สนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา)
จบการให้บริการ
ระยะเวลาที่ใช้ในการใหบริการ บริการ ๖ ขั้นตอน ๑๒ วัน
ผู้รับผิดชอบการให้บริการ นางสาวทมิตา ไชยศรี กลุ่มส่งเสรมการจัดการศึกษา
8
ขั้นตอนวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจขั้นที่ ๕ ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล
๑. การปฏิบัติการก่อนที่จะขอให้ผู้ทรงคุณวุฒิมาตรวจ
๑.๑ เมื่อผู้บังคับบัญชาลูกเสือที่ได้ผ่านการฝึกอบรมขั้นที่ ๔ มาแล้ว ให้นำความรู้และทักษะที่ได้รับจาก
การ ฝึกอบรม ไปดำเนินการในกองลูกเสือของตน เป็นเวลาอย่างน้อย ๔ เดือน นับจากวันสุดท้ายของการ
ฝึกอบรมขั้นความรู้ขั้นสูง
๑.๒ เมื่อครบเวลา ๔ เดือนแล้ว และผู้บังคับบัญชามีความพร้อมที่จะรับการตรวจขั้นที่ ๕ ได้แล้ว ให้
เสนอ รายงานผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด ขอให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมาตรวจและประเมินผลการตรวจปฏิบัติงาน
๑.๓ การเสนอรายงานขอให้มีการตรวจขั้นปฏิบัติการและการประเมินผลเช่นที่ว่านี้จะต้องกระทำ
ภายในกำหนดเวลา ๒ ปี นับจากวันสิ้นสุดการฝึกอบรมขั้นความรู้ชั้นสูง
๒. การเตรียมการเพื่อรับการตรวจ
๒.๑ ต้องฝึกอบรมลูกเสือในกองของตนไว้ให้พร้อม
๒.๒ เตรียมงานด้านธุรการไว้ให้เรียบร้อย อาทิ เอกสารหลักฐาน ใบสำคัญต่าง ๆ ให้เป็นปัจจุบัน
๒.๓ เตรียมสนามฝึก อุปกรณ์การฝึกอบรม เสาธงประชุมกอง หีบอุปกรณ์ ไม้พลอง ไม้ง่าม เชือก รอก
ไม้ ทูน ศีรษะ เชือกกระโดด ลูกบอล ฯลฯ
๒.๔ เตรียมฝึกระเบียบแถว การสวนสนาม สำหรับลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามัญ ตลอดจน
การประชุมนายหมู่ และพร้อมที่จะสาธิตให้ผู้ตรวจดูด้วย
๓. คุณสมบัติของผู้ตรวจ
๓.๑ บุคคลนั้นต้องผ่านการฝึกอบรมขั้นที่ ๑,๒,๓ และ ๔ มาแล้วไม่น้อยกว่า ๔ เดือนและไม่เกิน ๒ ปี
นับจาก วันสิ้นสุดการฝึกอบรมขั้นความรู้ชั้นสูง
๓.๒ เป็นบุคคลที่มีกองลูกเสือเป็นของตนเอง หรือไปช่วยฝึกในกองใกล้เคียงเป็นประจำ หรือผู้มีหน้าที่
ควบคุม กองลูกเสือตามสังกัด
๓.๓ เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางลูกเสืออยู่ในปัจจุบัน โดยมีใบแต่งตั้งให้มีตำแหน่งทางลูกเสือตามแบบ ลส.
๑๓ เป็นหลักฐาน
๔. การขอให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิมาตรวจ
๔.๑ ผู้บริหารโรงเรียน ทำหนังสือในนามของโรงเรียนถึงผู้อำนวยการลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อ
แจ้งผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด ขอให้ส่งผู้ทรงคุณวุฒิไปตรวจขั้นที่ ๕ เป็นการล่วงหน้าอย่างน้อย ๑๕ วัน ก่อน
ถึงวันให้ไปทำการ ในหนังสือนั้นให้ระบุไว้ด้วยว่า จะให้ไปตรวจวันใด
๔.๒ จังหวัดนัดหมายกับผู้ทรงคุณวุฒิที่ได้รับการแต่งตั้งแล้ว คนหนึ่งคนใดหรือหลายคนให้เป็นผู้ไปทำ
การ ตรวจ ตามวัน เวลา ที่มีผู้ขอมา
9
๕. ลำดับขั้นตอนการตรวจ มีดังต่อไปนี้
๕.๑ งานด้านธุรการของกอง
๕.๑.๑ ทะเบียนลูกเสือ ได้จัดทำไว้ถูกต้องและเป็นปัจจุบันหรือไม่
๕.๑.๒ หลักฐานการสอบไล่หรือสอบวิชาพิเศษลูกเสือ ได้ทำไว้เรียบร้อยเพียงไร
๕.๑.๓ หลักฐานการเงิน การบัญชี บัญชีทรัพย์สินของกองลูกเสือ ได้จัดไว้เรียบร้อยเพียงไร
๕.๑.๔ บันทึกการประชุมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ มีหรือไม่ และมีการมอบหมายหน้าที่
รับผิดชอบกัน อย่างไร ตลอดจนการประชุมนายหมู่ลูกเสือมีหรือไม่ และเรียบร้อยเพียงไร
๕.๑.๕ สมุดบันทึกการสอนของผู้บังคับบัญชามีครบทุกคนหรือไม่ และต้องบันทึกการสอน
มาแล้วไม่ น้อยกว่า ๑๖ ครั้งด้วยเป็นอย่างน้อย
๕.๑.๖ สมุดหมายเหตุรายวันของกอง ได้จัดทำขึ้นมีหรือไม่ และได้จัดไว้ถูกต้องเรียบร้อย
เพียงไร
๕.๑.๗ สมุดประวัติของกองลูกเสือนั้น โดยให้มีประวัติของกองลูกเสือนั้นไว้ว่ากองลูกเสือกอง
นี้ ตั้งขึ้น เมื่อไร ใครเป็นผู้กำกับกองคนแรก ใครเป็นรองผู้กำกับ มีจำนวนลูกเสือครั้งแรกกี่คน ปัจจุบันเป็น
อย่างไร
๕.๑.๘ ใบสมัครเข้าเป็นลูกเสือ ลส.๑๒ ใบอนุญาตตั้งกลุ่มลูกเสือ ลส.๑๑ ใบแต่งตั้งผู้กำกับ
ลูกเสือ และ รองผู้กำกับลูกเสือ ลส.๑๓ และใบเสร็จรับเงินค่าบำรุงประจำปีลูกเสือ ลส.๑๙
๕.๑.๙ งานสารบรรณของกอง การเก็บเรื่องต่าง ๆ ได้ปฏิบัติถูกต้องตามระเบียบแบบแผน
หรือไม่ เพียงไร
๕.๒ งานด้านวิชาการ
๕.๒.๑ ให้ผู้รับการตรวจขั้นที่ ๕ สาธิตการฝึกสอนลูกเสือตามประเภทลูกเสือที่ขอรับการตรวจ
ให้ดู ๑ ครั้ง โดยเริ่มตั้งแต่เปิดประชุมกอง จนถึงปิดการประชุมกอง ใช้เวลาไม่น้อยกว่า 50 นาที ในการปฏิบัติ
ในการสาธิตการสอน ผู้ตรวจจะต้องตรวจดูอย่างละเอียดว่าผู้รับการตรวจปฏิบัติถูกต้องตาม ขั้นตอนของ
แผนการสอนหรือไม่เพียงไร
๕.๒.๒ สมุดสะสม เฉพาะลูกเสือสำรอง โดยตรวจสมุดสะสมของกองลูกเสือสำรอง อย่างน้อย
หมู่ละ ๑ เล่ม
๕.๒.๓ การสวนสนาม ระเบียบแถว เฉพาะลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่ และวิสามัญ ตรวจดู
ความถูกต้องของการจัดขบวนสวนสนาม เครื่องแบบ ระเบียบวินัย การสั่งแถว ความสง่าผ่าเผย ความองอาจ
พึ่งผายและแข็งแรงเป็นอย่างไร
๕.๒.๔ การสาธิตการประชุมนายหมู่ เฉพาะลูกเสือสามัญ สามัญรุ่นใหญ่และวิสามัญ ว่าปฏิบัติ
ี
ได้ถูกต้องหรือไม่เพยงไร การสวนสนามและการประชุมนายหมู่ ให้ใช้เวลาปฏิบัติให้ดู ใช้เวลาอย่างละไม่น้อย
กว่า ๑๕ นาที
10
๕.๓ การสัมภาษณ ์
ให้สัมภาษณ์บุคคลที่ขอรับการตรวจขั้นที่ ๕ ตามแบบฟอร์มรายละเอียดการตรวจอย่างน้อย ๑๐ ข้อ
การรายงานผลการตรวจขั้นที่ ๕ เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิไปตรวจขั้นที่ ๕ ให้แก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือคนใดเสร็จ
เรียบร้อยแล้วให้รายงานการตรวจเสนอ ผู้บังคับบัญชาที่มอบหมายให้ไปตรวจ พิจารณาและเสนอขึ้นไป
ตามลำดับชั้น จนถึงเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ เพื่ออนุมัติ
การให้บริการ การตรวจขั้นที่ ๕ ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล
เพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์
ขั้นตอนการให้บริการ
(๑)
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือยื่นเรื่อง ต่อผู้บริหารโรงเรียน และส่งสนง.ลูกเสือ
เขตพื้นที่การศึกษา
(๒) ๕ วัน
เจ้าหนาทลูกเสือ ตรวจสอบเอกสารหลักฐาน
ี่
(สนง.ลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา)
(3) ๑๕ วัน
ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด (ผู้ว่าฯ)
ถูกต้อง
ถูกต้อง ไม่ถูกต้อง ติดต่อ/ประสาน/ส่งกลับโรงเรียน
อนุมัติแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒ ิ หรือไม่ ให้ดำเนินการให้ถูกต้อง
ดำเนินการตรวจประเมินขั้นที่ ๕
(สนง.ลูกเสือจังหวัด)
(๔) ๒ วัน
ผู้ทรงคุณวุฒรายงานผลการประเมิน ผ่าน สนง.ลูกเสือจังหวัด
ิ
(๕) ๑๐ วัน
ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด (ผู้ว่าฯ) เสนอผลการประเมิน
ไปยังเลขาธิการคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เพื่ออนุมัติ
(สนง.ลูกเสือจังหวัด)
จบการให้บริการ
ระยะเวลาที่ใช้ในการให้บริการ บริการ ๕ ขั้นตอน ๓๒ วัน
ผู้รับผิดชอบการให้บริการ นางสาวทมิตา ไชยศรี กลุ่มส่งเสรมการจัดการศึกษา
11
การส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ 3 ท่อน
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
1. ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ.
2556
2. แนวปฏิบัติในกำรดเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ตามระเบียบคณะ
กรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
เอกสารที่แนบในเล่ม
๑. สำเนาบัตรข้าราชการ/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
๒. สำเนาทะเบียนบ้าน
๓. สำเนาวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท (ถ้ามี)
๔. สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าบำรุงลูกเสือ (ลส.๑๙)
๕. สำเนาหนังสือสำคัญการอนุญาตตั้งกองลูกเสือ (ลส.๑๒)
๖. สำเนาหนังสือสำคัญการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งทางลูกเสือ (ลส.๑๓)
๗. สำเนาวุฒิบัตรเป็นผู้สำเร็จการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้ชั้นสูง และมีสิทธิ์ประดับ
เครื่องหมาย-วูดแบดจ์ ๒ ท่อน (W.B.)
๘. สำเนาใบประกาศได้เข้ารับการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับ
ลูกเสือ (A.L.T.C.)
๙. สำเนาหนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่ฯ ออกโดยผู้อำนวยการฝึกอบรม
๑๐. สำเนาคำสั่งแต่งตั้งเป็นวิทยากรผู้ให้การฝึกอบรมฯ
๑๑. ในกรณีได้รับเชิญให้อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม หนังสือเชิญและหนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่
ต้องออก โดยผู้อำนวยการฝึกอบรม พร้อมกับแนบสำเนาคำสั่งแต่งตั้งผู้อำนวยการฝึกอบรม สำหรับหนังสือเชิญ
สามารถนำมาใช้เป็นผลงานได้ไม่เกินสามครั้ง
๑๒. กรณีใช้ผลงานการเป็นผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมลูกเสือ ต้องแนบโครงการพร้อมคำสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการดำเนินงานของโรงเรียน หรือหน่วยงาน
๑๓. สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว / ชื่อสกุล /ใบสมรส (ถ้ามี) กรณีเอกสารไม่ตรงกับข้อมูลปัจจุบัน
หมายเหตุ ๑. จัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มส่งสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ จำนวน ๓ เล่ม
พร้อมรับรองสำเนาถูกต้องด้วย
๒. ผลงานทางลูกเสือไม่น้อยกว่า ๖ ครั้ง (สำเนาทุกฉบับรับรองสำเนาถูกต้องด้วย)
แบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือ
เพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน
ของ
..........................................
..........................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๒
ก
เอกสารอ้างอิงประกอบการรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓
ท่อน ที่แนบมาพร้อมเอกสารเล่มนี้ ข้าพเจ้า ..................................... ตำแหน่ง ............................ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ วุฒิทางลูกเสือ A.L.T.C. ตำแหน่งทางลูกเสือ .............................
สังกัด................................ อำเภอ.............................. จังหวัด...................... สำนักงานลูกเสือจังหวัด
...................... ขอรับรองว่าเป็นเอกสารที่ได้สำเนามาจากฉบับจริงทุกประการ
(ชื่อ)…………………………………………………………
๑๓
ข
คำนำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๔๒ และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕
ั
กำหนดแนวการจัดการศึกษา โดยยึดหลักการพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้มีความรู้ความสามารถ ในการเรียน พฒนา
ความสามารถและทักษะของตนเองให้เป็นไปตามหลักธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยมุ่งพัฒนาเด็กไทยให้
เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง และอยู่ร่วมกันในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข บนพื้นฐานของความเป็น
คนไทย
ข้าพเจ้า ………………………………… ได้นำกระบวนการลูกเสือมาประยุกต์ใช้กับเยาวชน ครู
และบุคลากรทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดผลดีในด้านต่าง ๆ ที่เกิดจากการปฏิบัติของกลุ่มเป้าหมายเชิงประจักษ์
ส่งผลให้เยาวชน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียน ชุมชน เกิดความคิดที่ดี ต่อกิจการลูกเสือ โดยพนฐาน
ื้
แล้ว กระบวนการลูกเสือเป็นกระบวนการที่ดี มีวิธีการที่หลากหลาย ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่
พึงประสงค์ ส่งเสริมให้การรู้จักและเข้าใจตนเอง สร้างจิตสำนึกในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ปรับตัวและปฏิบัติ
ให้เกิดประโยชน์ ต่อสังคม ประเทศชาติ และดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข ตามแนวทางการพัฒนาองค์รวมของ
ความเป็นมนุษย์ทุกด้าน
เอกสารเล่มนี้ ผู้จัดทำได้รวบรวมผลงานที่เกิดขึ้นเชิงประจักษ์ กับเยาวชน ครูและบุคลากร
ทางการศึกษา อย่างแท้จริง เพื่อประกอบการขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน ขอดวง พระวิญญาณ องค์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ พระผู้พระราชทานกำเนิดลูกเสือไทย จงคุ้มครองทุกท่าน
ที่เสียสละเวลานำกระบวนการลูกเสือนำไปใช้กับเยาวชน ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกกิจกรรม และเจริญ
ตามรอยพระบาทสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า
ชื่อ.......................................................
ตำแหน่ง………………………………….………
สังกัด ............................ อำเภอ..................... จังหวัด..............
สำนักงานลูกเสือจังหวัด..............................
๑๔
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
แบบรายงานผลการปฏิบัติงานเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน ๑ – ๓
เอกสารประกอบผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน ๔
- สำเนาบัตรข้าราชการ/สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
- สำเนาทะเบียนบ้าน
- สำเนาวุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท
- สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าบำรุงลูกเสือ (ลส.๑๙)
- สำเนาวุฒิบัตรเป็นผู้สำเร็จการฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
ขั้นความรู้ชั้นสูง และมีสิทธิ์ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อน (W.B.)
- สำเนาใบประกาศได้เข้ารับการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.)
- สำเนาหนังสือสำคัญการอนุญาตตั้งกลุ่มลูกเสือ (ลส.๑๑)
- สำเนาหนังสือสำคัญการอนุญาตตั้งกองลูกเสือ (ลส.๑๒)
- สำเนาหนังสือสำคัญการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งฯ (ลส.๑๓)
- สำเนาหนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่ฯ ออกโดยผู้อำนวยการฝึกอบรม/
สำเนาคำสั่งแต่งตั้งเป็นวิทยากรผู้ให้การฝึกอบรมฯ/หนังสือเชิญเป็นวิทยากร
๑๕
แบบรายงานผลการปฏิบัติเกี่ยวกับลูกเสือเพื่อขอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๓ ท่อน
โรงเรียน.......................................
วัน...............เดือน...............................พ.ศ..........
ข้าพเจ้า.......................................................ตำแหน่งปัจจุบัน......................................โรงเรียน
............................................... สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙ ตำแหน่งทางลูกเสือ................
...................... ได้เข้ารับการฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.) รุ่นที่.............. ประกาศนียบัตร
เลขที่ ............... เมื่อวัน.................เดือน.......................พ.ศ................ ณ .............................................อำเภอ....................... จังหวัด................. และ
ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อน ประเภทลูกเสือ.................รุ่นที่ ................ ประกาศนียบัตรเลขที่ ........................ เมื่อวัน.............เดือน
........................พ.ศ.............ณ ...............................อำเภอ....................... จังหวัด................................................
ข้าพเจ้ามีผลการฝึกอบรมตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ
พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๑๓ ดังนี้
๑. เป็นวิทยากรให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.)
จำนวน ........... ครั้ง ดังนี้
๑.๑ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ...................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) รุ่นที่ ........ระหว่างวันที่
.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่
่
....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและอยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหน้าทีด้วยความตั้งใจ ม ี
ึ
ความขยันขันแข็งและเรียบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๑.๒ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ...................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) รุ่นที่ ........ระหว่างวันที่
.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่
ึ
่
....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและอยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหน้าทีด้วยความตั้งใจ ม ี
ความขยันขันแข็งและเรียบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๑.๓ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ...................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) รุ่นที่ ........ระหว่างวันที่
.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่
ึ
่
....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและอยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหน้าทีด้วยความตั้งใจ ม ี
ความขยันขันแข็งและเรียบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๑.๔ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ...................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) รุ่นที่
........ระหว่างวันที่.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้ง
ตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่ ....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและ
้
ั
ั
ึ
อยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ มีความขยนขนแข็ง
้
ี
และเรยบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
ฯลฯ
๑๖
๒. เป็นวิทยากรให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.)
จำนวน.............. ครั้ง ดังนี้
๒.๑ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ..................... ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) รุ่นที่
........ ระหว่างวันที่.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้ง
ตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่ ....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและ
้
ึ
้
อยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ มีความขยนขนแข็ง
ั
ั
ี
และเรยบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๒.๒ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ..................... ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) รุ่นที่
........ ระหว่างวันที่.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้ง
ตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่ ....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและ
้
้
ึ
ั
ั
อยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ มีความขยนขนแข็ง
ี
และเรยบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๒.๓ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ..................... ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) รุ่นที่
........ ระหว่างวันที่.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด................ ได้รับแต่งตั้ง
ตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่ ....................................... ให้ปฏิบัติหน้าที่เป็นวิทยากรและ
ึ
อยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝกอบรมฯ ได้ปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ มีความขยนขนแข็ง
้
ั
ั
้
ี
และเรยบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
ฯลฯ
๓. เป็นวิทยากรให้การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับ
ลูกเสือ (A.L.T.C.) จำนวน.............. ครั้ง ดังนี้
๓.๑ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ
(A.L.T.C.) รุ่นที่ ........ ระหว่างวันที่.................................. ณ ......................... อำเภอ................ จังหวัด
................ ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่ง.......................... ที่ .................... ลงวันที่ ....................................... ให้ปฏิบัติ
ั
หน้าที่เป็นวิทยากรและอยู่ประจำการฝึกอบรมตลอดระยะเวลาฝึกอบรมฯ ได้ปฏิบติหน้าที่ด้วยความตังใจ
้
มีความขยันขันแข็งและเรยบร้อย โดยมี ......................................... เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
ี
(ลงชื่อ).................................................
(...............................................)
ผู้รายงาน
๑๗
ความเห็นของเจ้าหน้าที่
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) ......................................................
(..................................................)
ตำแหน่ง................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) ......................................................
(..................................................)
ตำแหน่ง................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) ......................................................
(..................................................)
ตำแหน่ง................................................
................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) ......................................................
(..................................................)
ตำแหน่ง................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ) ......................................................
(..................................................)
ตำแหน่ง................................................
.................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
๑๘
การส่งแบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ั
เพื่อขอรับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิหวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (L.T.)
และมีสิทธิ์ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน
ระเบียบที่เกี่ยวข้อง
๑. ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ.
๒๕๕๖
๒. แนวปฏิบัติในการดำเนินการเกี่ยวกับการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ตามระเบียบคณะ
กรรมกำรบริหารลูกเสือแห่งชำติ
เอกสารแนบในเล่ม
๑. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน
๒. สำเนาหนังสือสำคัญการแต่งตั้งดำรงตำแหน่งทางลูกเสือ (ลส.13)
๓. สำเนาหนังสือสำคัญหรือคำสั่งแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ 2 ท่อน (W.B.)
๔. สำเนาหนังสือสำคัญหรือคำสั่งแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ 3 ท่อน (A.L.T.)
๕. สำเนาใบประกาศผ่านการฝึกอบรมบุคลกรทางการลูกเสือ ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับ
ลูกเสือ (L.T.C.)
๖. สำเนาคำสั่งแต่งตั้งเป็นวิทยากรผู้ให้การฝึกอบรมฯ
๗. ในกรณีได้รับเชิญให้อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรม หนังสือเชิญและหนังสือรับรองการปฏิบัติหน้าที่
ต้องออกโดย ผู้อำนวยการฝึกอบรม พร้อมกับแนบสำเนาคำสั่งแต่งตั้งผู้อำนวยการฝึกอบรม สำหรับ
หนังสือเชิญสามารถนำมาใช้เป็นผลงานได้ไม่เกินสองครั้ง
๘. กรณีใช้ผลงานการเป็นผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมลูกเสือ ต้องแนบโครงการพร้อมคำสั่ง
คณะกรรมการดำเนินงานของโรงเรียน หรือหน่วยงาน
้
ี
๙. สำเนาใบเปลี่ยนชื่อตัว/ชื่อสกุล/ใบสมรส (ถ้ำม) กรณีเอกสารไม่ตรงกบขอมูลปัจจุบัน
หมายเหตุ จัดทำเอกสารเป็นรูปเล่มส่ง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
จำนวน ๓ เล่ม (สำเนาทุกฉบับรับรองสำเนาถูกต้องด้วย)
๑๙
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
เพื่อขอรับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรม
ผู้กำกับลูกเสือ (L.T.)
และมีสิทธิ์ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน
ของ
..........................................
..........................................
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๒๐
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
เพื่อขอรับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (L.T.)
และมีสิทธิ์ประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน
วันที่..................เดือน....................พ.ศ.................
ข้าพเจ้า..............................................................ตำแหน่งหน้าที่การงาน................................................
โรงเรียน..................................................................................สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๒๙
ตำแหน่งทางลูกเสือ........................................................................ได้เข้ารับการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ
ขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (L.T.C.) รุ่นที่...................วุฒิบัตรเลขที่.................................ระหว่าง
วันที่............................เดือน......................พ.ศ. .................ณ.....................................................อำเภอ................
จังหวัด.................................................ได้เข้ารับการฝึกอบรมบุคลำกรทางการลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรม
ผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.) รุ่นที่...................วุฒิบัตรเลขที่.........................ระหว่างวันที่...........................เดือน
......................พ.ศ. .................ณ......................................................อำเภอ................ได้รับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒ ิ
ผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.) ทะเบียนเลขที่..........................................................เมื่อวันท ี่
................เดือน.................................................พ.ศ. ..............................และได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๒ ท่อน
ประเภทลูกเสือ .............................ทะเบียนเลขที่.............เมื่อวันที่.................เดือน........................พ.ศ...............
ข้าพเจ้ามีผลงานการฝึกอบรมตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชำติ ว่าด้วยการฝึกอบรม
บุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๖ ข้อ ๑๕ ดังนี้
๑. เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.) จำนวน.................ครั้ง
๑.๑ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ..........................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.....................................ณ....................................................อำเภอ..............................
จังหวัด..........................ตามคำสั่ง.........................................................ที่...................... ...ลงวันที่........................
๑.๒ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชำผู้กำกับลูกเสือ..........................ขั้นความรู้เบื้องต้น (B.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.......................................ณ....................................................อำเภอ............................
จังหวัด..........................ตามคำสั่ง........................................................ที่...................... ...ลงวันที่.........................
๒. เป็นวิทยากรให้การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) จำนวน............ครั้ง หรือขั้น
ผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.) จำนวน.............ครั้ง
๒.๑ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ....................................ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.......................................ณ.................................................. .อำเภอ............................
จังหวัด..........................ตามคำสั่งแต่งตั้งหรือหนังสือเชิญ..........................................................ที่........................
ลงวันที่............................................ โดยมี.................................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๒.๒ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ....................................ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.......................................ณ................................................... อำเภอ............................
จังหวัด..........................ตามคำสั่งแต่งตั้งหรือหนังสือเชิญ..........................................................ที่........................
ลงวันที่............................................ โดยมี.................................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๒.๓ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ....................................ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.......................................ณ................................................... อำเภอ............................
จังหวัด..........................ตามคำสั่งแต่งตั้งหรือหนังสือเชิญ..........................................................ที่........................
ลงวันที่............................................ โดยมี.................................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๒๑
๒.๔ การฝึกอบรมหลักสูตรวิชาผู้กำกับลูกเสือ....................................ขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.)
รุ่นที่..............ระหว่างวันที่.......................................ณ....................................................อำเภอ............................
จังหวัด.......................... โดยมี.................................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๓. เป็นวิทยากรให้การฝึกอบรมขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.)
จำนวน.............ครั้ง
๓.๑ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ
(A.L.T.C.) รุ่นที่................ระหว่างวันที่.......................................ณ..........................................อำเภอ...................
จังหวัด....................ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่งหรือหนังสือเชิญ...............................................................ที่.................
ลงวันที่...............................................โดยมี...........................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
๓.๒ การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ขั้นผู้ช่วยผู้ให้การฝึกอบรมวิชาผู้กำกับลูกเสือ
(A.L.T.C.) รุ่นที่................ระหว่างวันที่.......................................ณ..........................................อำเภอ...................
จังหวัด....................ได้รับแต่งตั้งตามคำสั่งหรือหนังสือเชิญ...............................................................ที่.................
ลงวันที่...............................................โดยมี...........................................เป็นผู้อำนวยการฝึกอบรม
ลงชื่อ.............................................
(............................................)
ผู้รายงาน
๒๒
ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
ว่าด้วยการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๖
อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๗ (๕) แห่งพระราชบัญญัติลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบ กับมติ
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๖
คณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ จึงออกระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการ
ฝึกอบรม บุคลากรทางการลูกเสือไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ระเบียบนี้เรียกว่า "ระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรม บุคลากร
ทางการลูกเสือ พ.ศ. ๒๕๕๖”
ข้อ ๒ ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(๑) ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยการฝึกอบรม
ื่
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือเพอรับเครื่องหมายวูดแบดจ์ พ.ศ. ๒๕๒๑
(๒) ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยแผนการฝึกอบรม
ผู้บังคับบัญชาลูกเสือแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๑
บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ ประกาศ หรือคำสั่งอื่นใดที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบ นี้แทน
ข้อ ๔ การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ มีสองระดับ ได้แก ่
ระดับที่หนึ่ง การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
ระดับที่สอง การฝึกอบรมผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
ข้อ ๕ ระดับที่หนึ่ง การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ แบ่งออกเป็นห้าขั้น ดังต่อไปนี้
ขั้นที่หนึ่ง ขั้นความรู้ทั่วไป (General Information Course)
ขั้นที่สอง ขั้นความรู้เบื้องต้น (Basic Unit Leader Training Course) โดยมีอักษรย่อ B.T.C.
ขั้นที่สาม ขั้นฝึกหัดงาน (In-Service Training) ขั้นที่สี่ ขั้นความรู้ชั้นสูง (Advanced Unit
ั
Leader Training Course) โดยมีอกษรย่อ A.T.C.
ขั้นที่ห้า ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล (Application and Evaluation)
ข้อ ๖ ระดับที่หนึ่ง ขั้นที่หนึ่ง ขั้นความรู้ทั่วไป (General Information Course)
วัตถุประสงค์ เพื่อจูงใจบุคลากรทางการลูกเสือและผู้สนใจในกิจการลูกเสือให้มีความเข้าใจ ในขบวนการลูกเสือ
วัตถุประสงค์และสาระสำคัญของการลูกเสือ รายละเอียดในการฝึกอบรม มีดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาฝึกอบรมหนึ่งวัน
2๓
(๒) ผู้ที่เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือหรือผู้สนใจในกิจการลูกเสือที่มีอายุ
ตั้งแต่สิบแปดปีขึ้นไป
(๓) ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ส่วนกลาง ได้แก่ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักงาน
ลูกเสือกรุงเทพมหานคร สมาคมสโมสรลูกเสือหรือสโมสรลูกเสือที่เป็นนิติบุคคล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจากสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ได้แก่ สำนักงาน
ลูกเสือจังหวัด
สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา สมาคมสโมสรลูกเสือหรือสโมสรลูกเสือที่เป็นนิติบุคคล และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจากสำนักงานลูกเสือจังหวัด
ุ
(๔) ผู้อำนวยการฝึกอบรม (Course Leader) ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่มีคณวุฒิ
ุ
หัวหน้า ผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (LT.) หรือที่มีคณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
(A.LT.) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมจากผู้รับผิดชอบในการดำเนินการตามความในข้อ 5 (๓)
(๕) คณะผู้ให้การฝึกอบรมประกอบด้วยผู้ที่ได้ผ่านการฝึกอบรมขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรม
ผู้กำกับลูกเสือ (L.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.)
(๖) ผู้อำนวยการฝึกอบรมอาจเชิญผู้ที่มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ (W.B.) หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
เป็นวิทยากรตามที่เห็นสมควร
(๗) ผู้อำนวยการฝึกอบรมเป็นผู้ลงนามในวุฒิบัตรมอบให้ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม เมื่อเสร็จสิ้น
การฝึกอบรม ให้ผู้อำนวยการฝึกอบรมรายงานผลไปยังผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานภายในสิบห้าวัน และ
ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานรายงานไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติภายในสามสิบวัน
(๘) ส านักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกวุฒิบัตรตามความในข้อ ๖ (๗)
(๙) การเก็บเงินค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยค่าบำรุง ค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่น
ข้อ ๗ ระดับที่หนึ่ง ขั้นที่สอง ขั้นความรู้เบื้องต้น (Basic Unit Leader Training Course) โดยมีอักษร
ย่อ B.T.C.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในวิธีการฝึกอบรมลูกเสือแต่ละประเภท การวางแผน
กำหนดการ
ฝึกอบรมลูกเสือแต่ละประเภทและสามารถทำหน้าที่เป็นรองผู้กำกับกองลูกเสือตามประเภทนั้นๆ รายละเอียด
ในการฝึกอบรม มีดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาฝึกอบรมสามวัน โดยอยู่ประจำ ณ ค่ายฝึกอบรม
(๒) การจัดการฝึกอบรม ให้จัดแยกตามประเภทลูกเสือ
๒๔
(๓) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือหรือผู้สนใจในกิจการลูกเสือ ที่ผ่าน
การฝึกอบรมขั้นความรู้ทั่วไป
(๔) ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ส่วนกลาง ได้แก่ สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักงาน
ลูกเสือกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจาก
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โดยสำนักงานลูกเสือแห่งชาติหรือสำนักงานลูกเสือกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณีเป็น
ึ
ผู้ กำหนดเลขรุ่น ส่วนภูมิภาค ได้แก่ สำนักงานลูกเสือจังหวัด สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศกษา และ
หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจากสำนักงานลูกเสือจังหวัด โดยสำนักงาน
ลูกเสือ จังหวัดเป็นผู้กำหนดเลขรุ่น
ุ
(๕) ผู้อำนวยการฝึกอบรม (Course Leader) ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่มีคณวุฒิ
หัวหน้า ผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (L.T.) หรือมีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
(A.LT.) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมจากผู้รับผิดชอบในการดำเนินการตามความในข้อ ๗ (๔)
ั้
(๖) คณะผู้ให้การฝึกอบรมประกอบด้วยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมขนหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรม
ผู้กำกับลูกเสือ (L.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.C.)
(๗) ผู้อำนวยการฝึกอบรมอาจเชิญผู้ที่มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ (W.B.) หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
เป็นวิทยากรตามที่เห็นสมควร
(๘) ผู้อำนวยการฝึกอบรมเป็นผู้ลงนามในวุฒิบัตรมอบให้ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมพร้อมห่วงสวม
ผ้าผูกคอแบบกิลเวลล์ เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรมให้ผู้อำนวยการฝึกอบรมรายงานผลไปยังผู้รับผิดชอบในการ
ดำเนินงานภายในสิบห้าวัน และผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานรายงานไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติภายใน
สามสิบวัน
(๙) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกวุฒิบัตรตามความในข้อ ๗ (๘)
(๑๐) การเก็บเงินค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยค่าบำรุง ค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่น
ข้อ ๘ ระดับที่หนึ่ง ขั้นที่สาม ขั้นฝึกหัดงาน (In-Service Training)
วัตถุประสงค์ เพื่อนำความรู้ที่ได้เรียนมาแล้วในขั้นที่หนึ่งและขั้นที่สองไปใช้ในการฝึกอบรม
ลูกเสือโดยให้มีการศึกษาหาความรู้ภาคปฏิบัติเพิ่มเติมจากการไปดูงาน แลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดและ
ประสบการณ์กับผู้บังคับบัญชาลูกเสืออื่น ทำให้เกิดความเข้าใจและความมั่นใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายละเอียด
ในการฝึกหัดงาน มีดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาดำเนินการฝึกหัดงานตามความในข้อ ๘ (๒) หลังจากที่ได้ผ่าน การ
ฝึกอบรมขั้นความรู้เบื้องต้น และมีระยะเวลาดำเนินงานไม่น้อยกว่าสี่เดือน
๒๕
(๒) การดำเนินการฝึกหัดงาน
(ก) ทำการฝึกอบรมลูกเสือในกองลูกเสืออย่างน้อยแปดครั้ง
(ข) เข้าร่วมในการวางแผนและปฏิบัติกิจกรรมกลางแจ้ง เช่น การเดินทางไกล การ
อยู่ค่าย พักแรม การสะกดรอย การเดินทางสำรวจ การให้บริการและพัฒนาชุมชน การไปเยยมชมแหล่ง
ทรัพยากร ของท้องถิ่นเป็นต้น อย่างน้อยหนึ่งครั้ง
(ค) ศึกษากิจการลูกเสือของกองลูกเสืออื่นอย่างน้อยหนึ่งครั้ง
(๓) ให้ผู้อำนวยการลูกเสือโรงเรียนเป็นผู้รับรองการฝึกหัดงาน
ข้อ ๙ ระดับที่หนึ่ง ขั้นที่สี่ ขั้นความรู้ชั้นสูง (Advanced Unit Leader Training Course) โดยมีอักษร
ย่อ A.T.C.
ั
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการพัฒนาต่อเนื่องกันทั้งในด้านการเป็นผู้นำและทกษะในการฝึกอบรม ใน
ิ่
ั
ระดับสูงแก่ลูกเสือ เป็นการเพมประสบการณ์ในการฝึกอบรมและทกษะที่จำเป็นในการฝึกอบรมลูกเสือ
สามารถทำหน้าที่ผู้กำกับกองลูกเสือหรือรองผู้กำกับกองลูกเสือ รายละเอียดในการฝึกอบรม มีดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาฝึกอบรมเจ็ดวัน โดยอยู่ประจำ ณ ค่ายฝึกอบรม
(๒) การจัดฝึกอบรมให้จัดแยกกันตามประเภทลูกเสือ
(๓) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่ผ่านการฝึกอบรมขั้นความรู้เบื้องต้น
ไม่น้อยกว่าสี่เดือน และผ่านการฝึกหัดงานขั้นที่สาม
(๔) ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ส่วนกลาง ได้แก่ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ สำนักงาน
ลูกเสือกรุงเทพมหานคร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจาก
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โดยสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ หรือสำนักงานลูกเสือกรุงเทพมหานครแล้วแต่กรณีเป็น
ผู้กำหนดเลขรุ่นส่วนภูมิภาค ได้แก่ สำนักงานลูกเสือจังหวัด สำนักงานลูกเสือเขตพื้นที่การศึกษา และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจากสำนักงานลูกเสือจังหวัด โดยสำนักงาน ลูกเสือ
จังหวัดเป็นผู้กำหนดเลขรุ่น
ุ
(๕) ผู้อำนวยการฝึกอบรม (Course Leader) ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่มีคณวุฒิ
หัวหน้า ผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (LT.) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมจากผู้รับผิดชอบใน
การ ดำเนินงานตามความในข้อ ๙ (๔)
ั้
(๖) คณะผู้ให้การฝึกอบรมประกอบด้วยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมขนหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรม ผู้
กำกับลูกเสือ (LTC.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.LT.C.)
๒๖
(๗) ผู้อำนวยการฝึกอบรมอาจเชิญผู้ที่มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ (W.B.) หรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
เป็นวิทยากรตามที่เห็นสมควร
(๘) ผู้อำนวยการฝึกอบรมเป็นผู้ลงนามในวุฒิบัตรมอบให้ผู้ที่ผ่านการฝึกอบรม เมื่อเสร็จสิ้น
การฝึกอบรมให้ผู้อำนวยการฝึกอบรมรายงานผลไปยังผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานภายในสิบห้าวัน และ
ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานรายงานไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติภายในสามสิบวัน
(๙) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกวุฒิบัตรตามความในข้อ ๙ (๒)
(๑๐) การเก็บเงินค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสือแห่งชาติว่าด้วยค่าบำรุง ค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่น
ข้อ ๑๐ ระดับที่หนึ่ง ขั้นที่ห้า ขั้นปฏิบัติการและประเมินผล (Application and Evaluation)
ี่
วัตถุประสงค์ เพื่อนำความรู้และประสบการณ์ทได้รับมาจากการฝึกอบรมตั้งแต่ขั้นที่หนึ่ง ถึง
ขั้นที่สี่ไปใช้ในการฝึกอบรมลูกเสือ พัฒนาตนเองให้มีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้นและได้รับการประเมินผล ขั้น
สุดท้ายเพื่อให้มีคุณวุฒิวดแบดจ์ (W.B.) และมีสิทธิประดับเครื่องหมายหมายวูดแบดจ์สองท่อน รายละเอียด ใน
การปฏิบัติการ และประเมินผล มีดังต่อไปนี้
(๑) บุคลากรทางการลูกเสือที่ผ่านการฝึกอบรมทั้งสี่ขั้นดังกล่าวข้างต้น ต้องนำความรู้และ
ทักษะที่ได้รับจากการฝึกอบรมไปดำเนินการในกองลูกเสือเป็นเวลาอย่างน้อยสี่เดือนแต่ไม่เกินสองปีนับจากวัน
สิ้นสุดการฝึกอบรมขั้นความรู้ชั้นสูง จากนั้นให้เสนอรายงานไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ส านักงานลูกเสือ
กรุงเทพ มหานคร หรือสำนักงานลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี ตามแบบการประเมินผลที่สำนักงานลูกเสือ
แห่งชาติกำหนด
(๒) การตรวจขั้นปฏิบัติการและประเมินผลให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่สำนักงาน
ลูกเสือแห่งชาติกำหนด
(๓) ผู้อำนวยการสำนักเลขาธิการ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือกรุงเทพ
มหานคร หรือ ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี เสนอรายชื่อบุคลากรทางการลูกเสือที่มีคุณวุฒิหัวหน้า
ุ
ผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (LT.) หรือผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (ALT) ที่มีคณลักษณะ
ี่
มีความรู้ ความสามารถเป็นแบบอย่างทดี และสมควรได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจ
ขั้นปฏิบัติการและประเมินผลตามประเภทที่ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์สองท่อน ไปยังเลขาธิการสำนักงาน
ลูกเสือแห่งชาติเพื่ออนุมัติและแต่งตั้ง
(๔) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามความในข้อ ๑๐ (๓) มีวาระการปฏิบัติหน้าที่ได้คราวละสี่ปี นับ
แต่วันได้รับการแต่งตั้งและอาจได้รับการแต่งตั้งอีกได้
(๕) การตรวจขั้นปฏิบัติการและประเมินผลแต่ละครั้งให้มีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามความ ใน
ข้อ ๑๐ (๓) อย่างน้อยหนึ่งคน
๒๗
(๖) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในการตรวจขั้นปฏิบัติการและประเมินผลเป็นผู้เสนอผลการตรวจ
ขั้นปฏิบัติการและประเมินผลไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ส านักงานลูกเสือกรุงเทพมหานคร หรือสำนักงาน
ลูกเสือจังหวัดแล้วแต่กรณี
(๗) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้เสนอรายชื่อผู้ที่เห็นสมควรได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์
่
ิ
สองทอนไปยังผู้ตรวจการลูกเสือฝ่ายพัฒนาบุคลากร เพื่อพจารณาเสนอเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
อนุมัติและแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิวูดแบดจ์ (W.B.)
(๘) ให้มีการประกอบพิธีมอบเครื่องหมายวูดแบดจ์สองท่อนและหนังสือสำคัญการแต่งตั้งให้มี
สิทธิประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์สองท่อนตามความเหมาะสม
(๙) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกเครื่องหมายวูดแบดจ์สองท่อนตามความใน ข้อ ๑๐
(๒)
ข้อ ๑๑ ระดับที่สอง การฝึกอบรมผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ แบ่งออกเป็นสองขั้น ดังต่อไปนี้
ขั้นที่หนึ่ง การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับ
ลูกเสือ (Assistant Leader Trainers Course) โดยมีอักษรย่อ A.L.T.C.
ขั้นที่สอง การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
(Leader Trainers Course) โดยมีอักษรย่อ L.T.C.
ข้อ ๑๒ ระดับที่สอง ขั้นที่หนึ่ง การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การ ฝึกอบรม
ผู้กำกับลูกเสือ (Assistant Leader Trainers Course) โดยมีอักษรย่อ A.L.T.C.
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบหลักการสำคัญของการลูกเสือและนโยบายของคณะลูกเสือแห่งชาติ นำไปใช้ใน
การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ รับนโยบายขององค์การลูกเสือโลกเกี่ยวกับด้านวิชาการ การฝึกอบรม
ั
การบริหารงานลูกเสือ เพื่อพฒนาและเพมพูนความรู้ ทักษะและเจตคติ รายละเอียดในการ ฝึกอบรม มี
ิ่
ดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาฝึกอบรมเจ็ดวัน โดยอยู่ประจำ ณ ค่ายฝึกอบรม
(๒) ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์สองท่อน
ไม่น้อยกว่าสองปี และในระยะเวลาสองปีนั้นได้ทำการฝึกอบรมลูกเสือได้ผลดีหรือเข้าร่วมในการจัดกิจกรรม
ลูกเสืออย่างต่อเนื่อง และได้รับเชิญจากผู้อำนวยการฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้นหรือขั้นความรู้
ชั้นสูง ให้อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรมไม่น้อยกว่าสามครั้ง และผู้อำนวยการฝึกอบรมรับรองผลการปฏิบัติหน้าที่
(๓) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเป็นผู้มีคุณลักษณะเหมาะสมที่จะเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมผู้กำกับ
ลูกเสือขั้นความรู้เบื้องต้น และผู้อำนวยการสำนักเลขาธิการ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือ
กรุงเทพมหานคร ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด หรือหน่วยงานต้นสังกัดแล้วแต่กรณี สนับสนุนและอนุญาต ให้เข้า
รับการฝึกอบรม
๒๘
(๔) ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ส านักงานลูกเสือกรุงเทพ มหา
นคร สำนักงานลูกเสือจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องได้รับอนุญาตจาก
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ โดยสำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้กำหนดเลขรุ่น
ุ
(๕) ผู้อำนวยการฝึกอบรม (Course Leader) ได้แก่ บุคลากรทางการลูกเสือที่มีคณวุฒิ
หัวหน้า ผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (LT.) และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำนวยการฝึกอบรมจากเลขาธิการ
สำนักงาน ลูกเสือแห่งชาติ
(๖) คณะผู้ให้การฝึกอบรมประกอบด้วยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ ขั้น
หัวหน้าผู้ให้การ ฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (L.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
(A.L.T.C.) หรือผู้อำนวยการ ฝึกอบรมอาจเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านเป็นวิทยากรตามที่เห็นสมควร
(๗) ผู้อำนวยการฝึกอบรมและเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ลงนามในวุฒิบัตร
มอบให้ผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรม เมื่อเสร็จสิ้นการฝึกอบรมให้ผู้อำนวยการฝึกอบรมรายงานผลไปยังผู้รับผิดชอบใน
การดำเนินงาน ภายในสิบห้าวัน และผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานรายงานไปยังสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ภายใน สามสิบวัน
(๘) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกวุฒิบัตรตามความในข้อ ๑๒ (๒)
(๙) การเก็บเงินค่าธรรมเนียมในการฝึกอบรมให้เป็นไปตามข้อบังคับคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสือแห่งชาติ ว่าด้วยค่าบำรุง ค่าธรรมเนียม และค่าบริการอื่น
ข้อ ๑๓ ผู้ได้รับการแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (Assistant
ุ
Leader Trainer) โดยมีอักษรย่อ A.L.T. และมีสิทธิประดับเครื่องหมายวูดแบดจ์สามท่อน มีคณสมบัติและ
รายละเอียด ดังต่อไปนี้
(๑) ผ่านการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
มาแล้วไม่น้อยกว่าหนึ่งปี
(๒) ได้รับแต่งตั้งหรือได้รับเชิญให้อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือขั้นความรู้
เบื้องต้น (B.T.C.) หรือขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.LT.C.)
ไม่น้อยกว่าหกครั้ง หรือได้รับแต่งตั้งหรือได้รับเชิญให้อยู่ในคณะผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ ขั้นความรู้
เบื้องต้น (B.T.C.) หรือขั้นความรู้ชั้นสูง (A.T.C.) หรือขั้นผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ
(A.L.T.C.) ไม่น้อยกว่าสามครั้ง และเป็นผู้รับผิดชอบการฝึกอบรมลูกเสือ เช่น วิชานายหมู่ลูกเสือ วิชาอยู่ค่าย
พักแรม หรืออื่นๆ ไม่น้อยกว่าสามครั้งรวมกันไม่น้อยกว่าหกครั้ง
(๓) ผู้อำนวยการสำนักเลขาธิการ ส านักงานลูกเสือแห่งชาติ ผู้อำนวยการลูกเสือกรุงเทพ
มหานคร ผู้อำนวยการลูกเสือจังหวัด หรือหน่วยงานต้นสังกดแล้วแต่กรณี เป็นผู้เสนอขอรับการแต่งตั้ง ให้มี
ั
คุณวุฒิผู้ช่วย หัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.) โดยทำเป็นรายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบ ที่
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติกำหนด เสนอไปตามลำดับจนถึงสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
๒๙
(๔) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้เสนอรายชื่อผู้ที่เห็นสมควรได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์
ิ
สามท่อนไปยังผู้ตรวจการลูกเสือฝ่ายพัฒนาบุคลากร เพื่อพจารณาเสนอเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
อนุมัติและแต่งตั้งให้มีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าผู้ให้การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.LT.) และมีสิทธิประดับ
เครื่องหมายวูดแบดจ์สามทอน
่
(๕) สำนักงานลูกเสือแห่งชาติเป็นผู้ออกเครื่องหมายวูดแบดจ์สามท่อนตามความ ในข้อ ๑๓
(๔)
ข้อ ๑๔ ระดับที่สอง ขั้นที่สอง การฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นหัวหน้าผู้ให้การ ฝึกอบรมผู้
กำกับลูกเสือ (Leader Trainers Course) โดยมีอักษรย่อ L.T.C.
วัตถุประสงค์ เพื่อนำหลักการสำคัญของการลูกเสือและนโยบายของคณะลูกเสือแห่งชาติและ
องค์การลูกเสือโลกไปใช้ในการฝึกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือ รับนโยบายขององค์การลูกเสือโลก เกี่ยวกับ
ด้านวิชาการ การวางแผนการฝึกอบรม การบริหารงานลูกเสือ และสร้างภาวะผู้นำให้มีความรู้ ทักษะ
ความสามารถในการบริหารจัดการและมีอุดมการณ์ในกิจการลูกเสือ รายละเอียดในการฝึกอบรม มีดังต่อไปนี้
(๑) กำหนดระยะเวลาฝึกอบรมเจ็ดวัน โดยอยูประจำ ณ คายฝึกอบรม
(๒) ผูเขารับการฝกอบรม ไดแก บุคลากรทางการลูกเสือที่ไดผานการฝกอบรมและไดรับ
เครื่องหมายวูดแบดจสามทอนไมนอยกวาหนึ่งป และเปนผูอำนวยการฝกอบรมผูกำกับลูกเสือขั้นความรู้
เบื้องต้นอยางนอยสองครั้ง ไดรับแตงตั้งหรือไดรับเชิญจากผูอํานวยการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือขั้นความรูชั้นสูง
ํ
ใหอยูในคณะผูใหการฝกอบรมไมนอยกวาสองครั้ง และผูอานวยการฝกอบรมรับรองผลการปฏิบัติหนาที่เปนผูมี
คุณลักษณะเหมาะสมที่จะเปนผูอํานวยการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือขั้นความรูชั้นสูง
(๓) ผูอํานวยการสํานักเลขาธิการ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ ผูอํานวยการลูกเสือ
กรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการลูกเสือจังหวัด หรือหัวหนาหนวยงานตนสังกัดแลวแตกรณี สนับสนุนและ
อนุญาตใหเขารับการฝกอบรม ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของผูตรวจการลูกเสือฝายพัฒนาบุคลากร
(๔) ผูรับผิดชอบในการดําเนินงาน สํานักงานลูกเสือแหงชาติ สํานักงานลูกเสือ
กรุงเทพมหานคร สํานักงานลูกเสือจังหวัด และหนวยงานที่เกี่ยวของ สําหรับหนวยงานที่เกี่ยวของตองไดรับ
อนุญาตจากสํานักงานลูกเสือแหงชาติใหเปนผูดําเนินการ โดยสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูกําหนดเลขรุน
ุ
(๕) ผูอํานวยการฝกอบรม (Course Leader) ไดแก บุคลากรทางการลูกเสือที่มีคณวุฒิ
หัวหน้าผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (L.T.) และไดรับแตงตั้งใหเปนผูอานวยการฝกอบรมจากเลขาธิการ
ํ
สํานักงานลูกเสือแหงชาติ
(๖) คณะผูใหการฝกอบรมประกอบดวยผูที่ไดรับการแตงตั้งใหมีคุณวุฒิหัวหนาผูใหการ
ฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (L.T.) หรือผูอํานวยการฝกอบรมอาจเชิญผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานเปนวิทยากรตามที่
เห็นสมควร
๓๐
(๗) ผูอํานวยการฝกอบรมและเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูลงนามในวุฒิบัตร
ํ
มอบใหผูที่ผานการฝกอบรม เมื่อเสร็จสิ้นการฝกอบรมใหผูอานวยการฝกอบรมรายงานผลไปยังผูรับผิดชอบใน
การดําเนินงานภายในสิบหาวัน และผูรับผิดชอบในการดําเนินงานรายงานไปยังสํานักงานลูกเสือแหงชาติ
ภายในสามสิบวัน
(๘) สํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูออกวุฒิบัตรตามความในขอ ๑๔ (๗)
(๙) การเก็บเงินคาธรรมเนียมในการฝกอบรมใหเปนไปตามขอบังคับคณะกรรมการบริหาร
ลูกเสือแหงชาติ วาดวยคาบํารุง คาธรรมเนียม และคาบริการอื่น
ขอ ๑๕ ผูไดรับการแตงตั้งใหมีคุณวุฒิหัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (Leader Trainer) โดยมี
อักษรยอ L.T. และมีสิทธิประดับเครื่องหมายวูดแบดจสี่ทอน มีคุณสมบัติและรายละเอียด ดังตอไปนี้
(๑) ผานการฝกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือขั้นหัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกำกับลูกเสือ
(L.T.C.) ไมนอยกวาหนึ่งป และ
(๒) เปนผูอํานวยการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือขั้นความรูเบื้องตน (B.T.C.) ไมนอยกวาสองครั้ง
และไดรับการแตงตั้งหรือไดรับเชิญใหอยูในคณะผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือขั้นความรูชั้นสูง (A.T.C.) หรือ
ขั้นผูชวยหัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (A.L.T.C.) หรือทั้งสองอยางรวมกันไมนอยกวาสี่ครั้ง หรือ
(๓) เปนผูอํานวยการฝกอบรมผูกำกับลูกเสือขั้นความรูเบื้องตน (B.T.C.) ไมนอยกวาหนึ่งครั้ง
และเปนผูรับผิดชอบการฝกอบรมลูกเสือ เชน วิชานายหมูลูกเสือ วิชาอยูคายพักแรม หรืออื่นๆ ไมนอยกวา
หนึ่งครั้ง รวมกันไมนอยกวาสองครั้ง และไดรับการแตงตั้งหรือไดรับเชิญใหอยูในคณะผูใหการฝกอบรมผูกำกับ
ลูกเสือขั้นความรูชั้นสูง (A.T.C.) หรือขั้นผูชวยหัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกำกับลูกเสือ (A.L.T.C.) หรือทั้งสอง
อยางรวมกันไมนอยกวาสี่ครั้ง
(๔) ผูอํานวยการสํานักเลขาธิการ สํานักงานลูกเสือแหงชาติ ผูอํานวยการลูกเสือ
กรุงเทพมหานคร ผูอํานวยการลูกเสือจังหวัด หรือหนวยงานตนสังกัด เปนผูเสนอขอรับการแตงตั้งใหมีคุณวุฒิ
หัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (L.T.) โดยทําเปนรายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบรายงานผลการ
ปฏิบัติงานที่สํานักงานลูกเสือแหงชาติกําหนด เสนอไปตามลําดับจนถึงสํานักงานลูกเสือแหงชาติ
(๕) สํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูเสนอรายชื่อผูที่เห็นสมควรไดรับเครื่องหมายวูดแบดจสี่
ทอนไปยังผูตรวจการลูกเสือฝายพัฒนาบุคลากร เพื่อพิจารณาเสนอเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติอนุมัติ
และแตงตั้งใหมีคุณวุฒิหัวหนาผูใหการฝกอบรมผูกํากับลูกเสือ (L.T.) และมีสิทธิประดับเครื่องหมายวูดแบดจ
สี่ทอน
๓๑
(๖) สํานักงานลูกเสือแหงชาติเปนผูออกเครื่องหมายวูดแบดจสี่ทอนตามความในขอ ๑๕ (๕)
ขอ ๑๖ หลักสูตรและวิธีการฝกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือระดับที่หนึ่ง และระดับที่สอง การฝกอ
บรมบุคลากรทางการลูกเสือเหลาสมุทร และเหลาอากาศ การฝกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือระดับ ผูนำการฝ
ก อบรมวิทยากรประจําหมู การฝกอบรมบุคลากรทางการลูกเสือวิชาการบุกเบิก วิชาแผนที่ - เข็มทิศวิชา
ระเบียบแถว วิชาการอยูคายพักแรม หรือหลักสูตรอื่น ใหเปนไปตามระเบียบคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห
งชาติ
ื่
ขอ ๑๗ เพอสงเสริมความเจริญกาวหนาของกิจการลูกเสือและเปนกรณีที่มีความจําเปนอาจมีการผอน
ผันการปฏิบัติตามหลักเกณฑที่ระเบียบนี้กําหนดไว โดยผูตรวจการลูกเสือฝายพัฒนาบุคลากรพิจารณาเสนอ
เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแหงชาติอนุมัติ
ขอ ๑๘ ใหเลขาธิการสํานักงานลูกเสือแหงชาติรักษาการใหเปนไปตามระเบียบนี้ และใหมีอำนาจ
ตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ประกาศ ณ วันที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖