The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการส่งเสริมการอ่านสำหรับผู้สูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศิริวรรณ เหลือศิริ, 2021-03-28 23:46:16

โครงการส่งเสริมการอ่านสำหรับผู้สูงอายุ

โครงการส่งเสริมการอ่านสำหรับผู้สูงอายุ

บทท่ี ๑
บทนำ

๑. หลักการและเหตผุ ล
ตามท่ี ยุทธศาสตร์ชาตเิ ป้าหมายการพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน ตามหลกั ธรรมิบาลเพื่อใช้เป็น

กรอบในการจัดทำแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติ
มั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรรมชาติยั่งยืน” โดย
ยกระดับศักยภาพของประเทศใน หลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยใหเป็นคนเก่ง และมี
คุณภาพสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับวิ่งแวดล้อม
และภาครัฐเพอ่ื ประชาชนและประโยชนส์ ่วนรวมฃ

สำนักงาน กศน.ได้กำหนดให้ ดำเนินงาน ภายใต้วิสัยทัศน์คือ “คนไทยได้รับโอกาสทาง
การศกึ ษาและการเรียนตลอดชีวติ อย่างมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชวี ติ ที่เหมาะสมกับชว่ งวัย” กศน.อำเภอห้วย
ผึ้ง จงึ ได้เลง็ เหน็ ความสำคัญของการส่งเสรมิ การอา่ น เพื่อเป็นการกระตุ้นนสิ ยั รักการอา่ น ผา่ นโครงการสง่ เสริม
การอ่านรถโมบายเคลื่อนที่และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านคาราโอเกะสำหรับผู้สูงอายุ ให้กับผู้อ่านสามารถ
เข้าถึงหนังสือในห้องสมุดประชาชนอำเภอห้วยผึ้งได้และสามารถในรถโมบายเคลื่อนที่ จะมีพื้นที่เพียงพอ
สำหรับคนที่จะนั่งและอ่านหนังสือภายในรถ และสามารถบรรทุกหนังสือออกไปให้บริการ เด็ก นักเรียน
ประชาชนและกลุ่มบุคคลที่มีความยากลำบากในการเข้าถึงถึงห้องสมุด เช่น ชุมชนแออัด บ้านพักคนชรา
สถานพกั ฟ้ืน เป็นต้น
๒. วตั ถปุ ระสงค์

๒.๑ เพอ่ื สง่ เสรมิ การอ่านให้กบั ผสู้ ูงอายุและประชาชนทวั่ ไป ได้รบั ความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรือ่ งการอ่าน
และสขุ ภาพจิตท่ีดมี่ ากขึน้

๒.๒ เพอื่ สง่ เสรมิ การอ่านให้กับผ้สู ูงอายมุ สี ขุ ภาพจิตทีด่ ี
๒.๓. เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่าน สร้างกำใจผ้สู งอายุในการดำเนนิ ชีวิต
๓. เปา้ หมาย

๓.๑ เชิงปริมาณ
- โรงเรียนผสู้ งู อายุเทศบาลนคิ มห้วยผงึ้ จำนวน ๑๐๐ คน

๓.๒ เชิงคณุ ภาพ
- ประชาชนเกดิ กระบวนการเรยี นรแู้ ละมนี สิ ยั รักการอ่านพร้อมท้ังได้รับความสนุกสนาน

เพลิดเพลินมสี ุขภาพจิตที่ดี
๔. ดัชนชี ้วี ดั ความสำเรจ็ ของโครงการ

รอ้ ยละ ๘๐ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถเข้าเรยี นรู้จากสือ่ /กิจกรรมได้
ร้อยละ ๘๐ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมสามารถนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ประโยชน์กบั ตนเองไดม้ ากท่ีสดุ

๕. ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
๑ . กลุ่มเปา้ หมายได้ตหนกั ถึงความสำคญั ของการอ่าน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเร่ืองการอ่านและ

มีสขุ ภาพจติ ทด่ี ขี ้นึ
๒. ทำให้กลุ่มเป้าหมายมสี มาธิในการอา่ นหรือกิจกรรมต่างๆ เพม่ิ มากยิ่งขนึ้

บทที่ ๒
แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและผลงานที่เกย่ี วขอ้ ง

เป็นการศึกษาเอกสารและผลการที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่านสำหรั บผู้สูงอายุร่วมทั้งการจัด
กิจกรรมสำหรับโครงการส่งเสริมการอ่านรถโมบายเคลื่อนที่และกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านคาราโอเกะ
สำหรับผู้สูงอายุ ส่งเสริมกิจกรรมรักการอ่าน ให้กับผู้สูงอายุ ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการอ่านและ
สขุ ภาพจิตทดี่ ีม่ ากข้นึ ซง่ึ เป็นอีกสว่ นหนงึ่ ของการผลกั ดันใหเ้ กดิ สงั คมแห่งการเรยี นรู้ รว่ มทัง้ ข้อมลู ตา่ งๆ

แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและผลงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

๑. แนวคดิ การดำเนินงาน

กิจกรรมชว่ งเวลาหลังเรยี นเปน็ กิจกรรมทีม่ ุ่งนำเด็กและเยาวชนเข้าสบู่ ริบททต่ี ้องการ กลา่ วคือใช้
เวลาวา่ งหลงั เลิกเรียนอย่างมีคุณภาพและปลอดภยั หลักในการจดั กิจกรรมหลงั เลิกเรยี น มดี ังน้ี

๑. เป็นประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่เด็กและเยาวชนเห็นถึงประโยชน์ที่ไดร้ บั ในการเข้าร่วมกจิ กรรม
อาจเปน็ ประโยชน์ดา้ นการเรียน ดา้ นการฝึกทักษะอาชีพ ด้านสุขภาพอนามัย ดา้ นเทคโนโลยแี ละคอมพวิ เตอร์ ด้าน
ศิลปวัฒนธรรม ดา้ นกีฬาและนนั ทนาการ เปน็ ต้น นอกจากน้ีหากเป็นกจิ กรรมทีผ่ ูป้ กครองและคนในชุมชนเห็น
ประโยชน์ดว้ ยกย็ งิ่ จะทำให้เกิดการยอมรับและการได้รบั การสนับสนุนกิจกรรมทนี่ ำไปสู่ความยั่งยืน

๒. ไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย กลา่ วคือการเข้ารว่ มกจิ กรรมต้องไม่เสียคา่ ใชจ้ ่ายใด ๆ หากจำเปน็ ที่จะต้องมี
คา่ ใช้จ่ายในการเข้ารว่ มกจิ กรรม อาทิ การใชบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ต ควรเก็บค่าใชจ้ ่ายในอัตราท่ีต่ำกว่าการใหบ้ ริการ
ท่ัวไป

๓. เปน็ ธรรมชาติ การทเี่ ด็กและเยาวชนได้แสดงออกหรือเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ จะส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพในการเรียนรู้

๔. ตอบสนองความต้องการของเด็กและเยาวชน ทีต่ ้องการแสดงออกอย่างสนุกสนาน ต่นื เต้นและ
และเรา้ ใจ จะทำใหเ้ ด็กและเยาวชนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมโดยสมัครใจ

๕. เข้าถงึ ได้ง่าย หมายถึง สถานท่ที ี่จัดกจิ กรรมควรอยู่ในแหล่งชมุ ชนหรอื บรเิ วณใกลแ้ หลง่
ชุมชนทีส่ ามารถเดนิ ทางไดส้ ะดวก ปลอดภยั ในชว่ งเวลาหลงั เลิกเรยี น

๖. ยืดหยุน่ ปรับเปล่ียนได้ เพอื่ สนองความตอ้ งการของเดก็ และเยาวชนที่เบ่ือง่ายและสนใจสิ่ง
แปลกใหม่ ผจู้ ัดกจิ กรรมต้องต่ืนตวั อยู่เสมอแสวงหากิจกรรมใหม่ ๆ ที่เป็นทส่ี นใจของเด็กและเยาวชน อันจะส่งผล
ให้สามารถดึงดูดความสนใจเด็กและเยาวชนและนำเด็กและเยาวชนเข้าสู่บริบททตี่ ้องการได้อย่างต่อเน่ือง

๒. คำจำกัดความต่างๆ เก่ียวกบั ผูส้ ูงอายุ (อา้ งองิ นายแพทย์บรรลุ ศิริพานชิ ปกิณกะ งานผสู้ ูงอายุ)
ในองค์กรสหประชาชาติ ผู้สูงอายุ หมายถึง ผ้ทู ี่มอี ายุต้ังแต่ 60 ปี ข้นึ ไป
ภาคภาษาไทย ผู้สูงอาย หมายถึง เอาอายุเป็นหลักในการเรียก(60+ปี) คนชรา หมายถึง เอาลักษณะทาง
กายภาพเป็นหลักในการเรียก ผู้อาวโุ ส หมายถงึ เอาสถานภาพทางราชการ แก่กว่า เก่ากว่า เป็นหลักในการ
เรียก (ในทางศาสนา ภกิ ษผุ ใู้ หญ่ เรียก ภกิ ษผุ ้นู ้อยว่า อาวุโส ภิกษผุ ู้นอ้ ยเรยี กภิกษผุ ้ใู หญ่วา่ ภันเต)
ภาคภาษาองั กฤษ วทิ ยาการวา่ ด้วยผู้สูงอายุ เรียกว่า Gerontology วิทยาการด้านการแพทย์ เก่ียวกับผูส้ งู อายุ
เรียกว่า Geritics medicine ในองค์กรสหประชาชาติ ตกลงใช้คำว่า older persons มีคำหลายคำ ใช้เป็น
สรรพนามเรยี กผสู้ ูงอายุ เชน่ Aging,Elderly,older person,Senior Citizen สดุ แตจ่ ะใช้ etc.
ในสำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี ผ้สู งู อายุ หมายถงึ บุคคลท่มี อี ายตุ งั้ แต่ 60 ปีขึน้ ไปทงั้ ชายและ
หญิง ซึ่งในการศึกษารวบรวมข้อมูลประชากรผู้สูงอายุได้แบ่ง ผู้สูงอายุเป็น 2 กลุ่มคือ ผู้สูงอายุตอนต้น และ
ผู้สูงอายุตอนปลายผู้สูงอายุตอนต้น หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60-69 ปี ทั้งชายและหญิง ผู้สูงอายุตอนปลาย
หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 70 ปี ขึ้นไปทั้งชายและหญิง อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด หมายถึงจำนวนปีทีบุคคลหน่งึ
เมื่อเกิดมาแล้วมีโอกาสที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไปจนกระทั่งตาย อายุขัยเฉลี่ยเมื่ออายุ 60 ปี หมายถึง จำนวนปีท่ี
บุคคลหนึ่งเมื่ออายุครบ 60 ปี แล้วมีโอกาสที่จะมีชีวิตอยู่ต่อไป จนกระทั่งตาย อัตราส่วนการเป็นภาระรวม
หมายถึง จำนวนประชากรวัยเด็ก(อายุ 0-14 ปี) และวัยสูงอายุ(อายุ 60 ปีขึ้นไป) รวมกันต่อประชากรในวัย
ทำงาน(อายุ 15-59 ป)ี แสดงอตั ราสว่ นตอ่ ประชากร 100 คน อตั ราส่วนการเป็นภาระวัยเด็ก หมายถงึ จำนวน
ประชากรวัยเด็ก(อายุ 0-14 ปี) ต่อประชากรในวัยทำงาน(อายุ 15-59 ปี) แสดงอัตราส่วนต่อประชากร 100
คน อัตราส่วนการเป็นภาระวัยชรา หมายถึง จำนวนประชากรวัยสูงอายุ(อายุ 60 ปีขึ้นไป) ต่อประชากรวัย
ทำงาน(อายุ 15-59 ปี )แสดงอัตราสว่ นต่อประชากร 100 คน
อ้างองิ

๓.ปัญหาทีพ่ บบ่อยในผสู้ ูงอายุ
๓.๑ ความเสื่อมของสติปัญญาเนื่องจากเซลล์สมองจะน้อยลง ขาดประสิทธิภาพ เนื่องจากเลือด
ไหลเวียนสมองน้อยลงและภาวะขาดอาหารและวิตามินบางชนิด ผู้สูงอายุจะมีความจำเสื่อม หลงลืม นอนไม่
หลบั ภาวะสมองเส่ือมอาจนำไปสูป่ ญั หาอื่น ๆ เช่น การพลัดหลง, อุบตั ิเหตุ, การขาดอาหาร, การตดิ เชอื้ ฯลฯ
๓.๒ ภาวะซึมเศร้าเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะผู้ที่มีโรคเรื้อรังทางกาย ขาด
สมรรถภาพ และขาดความเอาใจใส่จากญาติพี่น้อง ผู้ป่วยจะมีอาการหลายอย่าง ได้แก่ ความผิดปกติของการ
นอน ขาดความสนใจ รสู้ ึกผดิ ขาดสมาธิ เบอ่ื อาหาร ถ้ามอี าการรนุ แรงอาจมีความคิดฆา่ ตัวตาย
๓.๓ อาการกลั้นปัสสาวะไม่ได้ การอักเสบของทางเดินปัสสาวะ ช่องคลอด หรือทางเดินปัสสาวะฝ่อ
และอักเสบ และผลข้างเคียงของการใช้ยาและรักษาหลายโรค เช่น ยาคลายเครียด ยารักษาอาการซึมเศร้า
หรอื ยารกั ษาความดันบางชนิด ยาขบั ปัสสาวะ ทำใหป้ ัสสาวะมาก กอ็ าจทำให้ปัสสาวะไมท่ ันได้ นอกจากน้ียังมี
ภาวะปสั สาวะไมส่ ะดวกเรื้อรัง ซึ่งเปน็ ผลจากความผิดปกตขิ องทางเดนิ ปัสสาวะ

๓.๔ การหกล้ม โดยเฉพาะเพศหญิง อัตราการหกล้มสูงถึง 30% ในแต่ละปี และสัดส่วนจะสูงขึ้นตาม
อายุการทรงตัวจะเสียไป และทำให้เซ่ได้ง่ายในผู้สูงอายุ ทำให้หกล้มได้ง่าย สาเหตุทำให้เกิดการหกล้ม เช่น
เลือดไหลเวยี นสมองน้อยลง อัมพาต ปอดบวม หัวใจขาดเลอื ด การเปลย่ี นสิ่งแวดล้อม เช่น พ้นื ลื่น เป็นต้น ยา
และแอลกอฮอลเ์ ป็นสาเหตุเสรมิ ท่พี บไดบ้ ่อย นอนไม่หลบั ปสั สาวะไม่ทัน เทา้ และอาการบวมก็เปน็ ปัญหาได้

สาเหตสุ ำคัญท่สี ุด คือ การเสียการทรงตัวและกลัวจะหกล้ม การทรงตัวทผ่ี ิดปกติอาจมีสาเหตุจากความเส่ือม
ตามอายุ โรคของระบบประสาท เช่น อมั พาต ระบบประสาทอตั โนมตั ิ และระบบประสาทส่วนปลายเสอ่ื ม
เบาหวาน แอลกอฮอล์ ภาวะทพุ โภชนาการและโรคของสมองส่วนที่ควบคุมการทรงตัว ความดันโลหติ ตกเมือ่
เปลีย่ นทา่ จากการใชย้ าบางชนิด หรอื เกิดภายหลังการนอนทนี่ านเกินไป ภาวะทางจติ เช่น ความเครียดหรือ
ซึมเศรา้ ก็อาจมสี ว่ นเชน่ กนั การลม้ เปน็ สาเหตสุ ำคญั ของภาวะทพุ พลภาพทส่ี ำคญั ของผูส้ ูงอายุและอาจจะมี
ภาวะแทรกซ้อนท่ีทำใหเ้ สียชวี ิตได้ การป้องกนั การล้มโดยการจัดสภาพแวดลอ้ มภายในบ้าน การใชอ้ ุปกรณใ์ น
การช่วยการเคลอ่ื นที่ท่เี หมาะสม การรักษาโรคกระดูกและขอ้ และรักษาโรคทางกายตา่ ง ๆ ท่อี าจเป็นสาเหตุ
ให้ผูส้ ูงอายเุ กดิ การหกล้มเป็นสง่ิ จำเป็น ผ้สู งู อายุทกุ คนควรได้รบั การประเมินความเส่ยี งท่ีจะเกดิ การหกลม้
อยา่ งสมำ่ เสมอและไดร้ บั การฝกึ ใชอ้ ปุ กรณ์ชว่ ยเดินในกรณีที่จำเป็น

๓.๕ การเคลื่อนไหวลำบากเนื่องจากการปวดอ่อนแอ การเสยี การทรงตวั และปัญหาทางจติ ทำให้
ผู้สงู อายุตอ้ งนอนอยู่เฉย ๆ ภาวะทุพโภชนาการ ความผิดปกตขิ องเกลือแร่ โลหิตจาง ระบบประสาทหรือ
กล้ามเนือ้ นอกจากนอ้ี าจมสี าเหตุรว่ มจากโรคทางข้อ เช่น รูมาตอยด์ เกาต์ โรคพาร์กนิ สนั และยารกั ษาโรคจติ
อาการเจบ็ ปวดจากหลายสาเหตุ ทำให้ผูส้ ูงอายุไม่อยากเคล่อื นไหว

๔. กิจกรรมส่งเสริมผูส้ งู อายุ (กิดานัล กังแฮ ขอบคณุ ขอ้ มูลจาก ศูนย์วิจัยกจิ กรรมทางกายเพื่อ
สขุ ภาพ Physical Activities Research Center (PARC)

5 กิจกรรมทางกาย เพื่อสงู วยั แขง็ แรง ทุกคนคงหลกี เล่ียงไม่ไดก้ บั การทีต่ ้องเข้าสู่วยั ผู้สงู อายุหากมกี าร
ดำเนินชวี ติ ตามวงจรของชวี ติ ซึ่งวัยผสู้ งู อายุหลายคนมองวา่ เป็นวัยทเี่ ป็นปัญหา โดยเฉพาะการเจบ็ ปว่ ยดว้ ย
โรคเรอ้ื รัง เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหติ สูง และโรคหัวใจ เป็นต้น แน่นอนว่าการออกกำลังกายเป็น
ประโยชน์ต่อสขุ ภาพหลายทาง แตส่ ำหรับผู้สงู อายุที่เคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกแล้ว การออกกำลังกายเป็น
เรือ่ งที่ต้องอาศยั ความพยายามอยไู่ มน่ ้อย “การมีรปู แบบแนวทางใหผ้ ู้สงู อายุไดม้ ีกจิ กรรมทางกายทีเ่ หมาะสม
กับวัยจึงเป็นเร่อื งสำคญั ” วันนีเ้ รามรี ูปแบบและหลกั ในการเลอื กกิจกรรมทางกายเพ่ือผู้สงู อายมุ าฝากค่ะ
กจิ กรรมทางกาย หรือ Physical Activity หมายถึง การเคลอื่ นไหวของรา่ งกายโดยกลา้ มเนือ้ และกระดกู ท่ีทำ
ใหเ้ กิดการเผาพลาญพลงั งานครอบคลุมการประกอบกจิ กรรมในชวี ิตประจำวนั และในสายอาชีพ การทำ
กิจกรรมในเวลาวา่ ง ซึง่ รวมถงึ การออกกำลังกาย การเลน่ กีฬา การทำกจิ กรรมนันทนาการ การท่องเที่ยว
(ขอ้ มลู จาก องค์การอนามัยโลก ปีพ.ศ. 2553)

รปู แบบกจิ กรรมทางกายเพ่ือผูส้ ูงอายุ
๔.๑ กจิ กรรมทผ่ี ู้สงู อายุสามารถทำเป็นกจิ วัตรประจำวนั ดว้ ยตนเองทบี่ ้าน หรือในยามว่างหลงั เสรจ็
ภารกจิ จากการทำงาน ถือเป็นกิจกรรม ไดแ้ ก่ งานบา้ น กวาดและถบู ้าน รดนำ้ ตน้ ไม้ กวาดใบไม้ เดินข้ึนลง
บนั ได เล้ียงหลาน และการยกสง่ิ ของ เปน็ ตน้

๔.๒ กิจกรรมการเดนิ ทาง โดยวิธกี ารเดนิ ปน่ั จกั รยาน หรอื การเดินทางโดยระบบขนส่งมวลชน
สาธารณะ ไดแ้ ก่ การเดินไปจ่ายตลาดในบริเวณใกลเ้ คยี ง การเดนิ ไปทำงาน การขีจ่ ักรยาน หรอื การเดินขึ้นลง
บันได เปน็ ต้น

๔.๓ กจิ กรรมสนั ทนาการงานอดเิ รก เพ่อื ผ่อนคลายความตึงเครียดทางร่างกาย ส่งเสริมสุขภาพจติ ใจ
และสมองใหก้ ับผู้สูงอายุ ในช่วงเวลาวา่ งจากการทำงาน บ้านหรือกิจกรรมประจำวันอืน่ ๆ เชน่ การร้องเพลง
การเตน้ รำ การวาดภาพ การถา่ ยรปู การปลูกต้นไม้ เปน็ ต้น

๔.๔ กจิ กรรมในรูปแบบการออกกำลังกายง่ายๆ เชน่ ลีลาศ การรำไทเก็ก รำไม้พลอง
๔.๕ กจิ กรรมท่อี ยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ และเจา้ หน้าท่ีสาธารณสขุ หรือนกั กายภาพ
หลกั ในการเลอื กกิจกรรมทางกายสำหรบั ผู้สูงอายุ
๑. เลอื กกิจกรรมทางกายทส่ี อดคล้องกับชีวติ ประจำวัน และบริบทชมุ ชนของผูส้ งู อายุ
๒. เมื่อมอี ายมุ ากข้นึ ผ้สุ งู อายุจะมภี าวะรา่ งกายที่ออ่ นแรง (frailty) พร้อมกบั โรคเรือ้ รัง กิจกรรมทาง
กายของผู้สูงอายจุ ึงไม่ควรเกินความสามารถท้ังด้านทักษะ การรับความรูส้ ึกและการเคลือ่ นไหว
๓. ผู้สูงอายุที่เร่มิ ต้นกจิ กรรมทางกาย ควรเริม่ จากแบบเบาโดยทำให้ได้ 150 นาทีต่อสัปดาห์
๔.เพ่ือใหเ้ กิดประโยชน์สงู สดุ ต่อสขุ ภาพมากขึ้น ผสู้ งู อายุสามารถเพิ่มระดับการทำกจิ กรรมทางกาย
โดยแบง่ เปน็ ชว่ งโดยตามความสามารถโดยจะตอ้ งไมห่ ักโหม
ส่ิงที่จำเป็นตอ้ งระวงั สำหรับผู้สูงอายเุ ม่ือทำกจิ กรรมทางกาย คอื หากร้สู กึ เหน่ือยมาก หายใจไม่ทัน
เหงอ่ื ออกมาก ตัวเยน็ เจ็บตรงหวั ใจ หรอื รา้ วไปท่ีไหลซ่ ้าย เวียนศรีษะ ควบคุมลำตวั แขน ขา ไม่ได้ มอี าการ
อ่อนแรง เป็นตน้ ควรหยุดทำกิจกรรม และปรกึ ษาแพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญ เพราะน้ันอาจส่งผลร้ายตอ่ สุขภาพของ
ผู้สูงอายุ ผ้สู งู อายุมักคดิ วา่ ตนเองอยู่ในชว่ งชีวิตท่ีตอ้ งพบเจอกับความเสอ่ื มโทรมของรา่ งกาย ความ
เปล่ียนแปลงท่ดี ้อยลงของกายภาพ ปญั หาด้านสขุ ภาพ แท้จริงแลว้ เราสามารถเผชญิ กบั วัยสงู อายุอย่างมี
คุณภาพดว้ ยการมี ‘กิจกรรมทางกาย’

บทที่ ๓
วธิ ีดำเนินงาน

๑. วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมินโครงการฯ

๑.๑ เพอ่ื ศึกษาประสทิ ธภิ าพของการดำเนินงานตาม โครงการสง่ เสริมการอา่ นรถโมบายเคล่ือนทแี่ ละ

กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านผา่ นคาราโอเกะสำหรบั ผสู้ งู อายุ

๑.๒ เพือ่ ศกึ ษาความ ปัญหา อุปสรรค ในการดำเนินโครงการส่งเสรมิ การอ่านรถโมบายเคลอ่ื นท่ี

และกจิ กรรมสง่ เสรมิ การอ่านผา่ นคาราโอเกะสำหรบั ผูส้ งู อายุ

๑.๓ เพ่ือนำเสนอข้อมลู ท่ีได้รับจากการประเมนิ ครง้ั น้ี ไปปรับและพัฒนางานใหเ้ กิดประโยชนต์ ่องาน

ทรี่ บั ผดิ ชอบและหนว่ ยงานได้มีประสิทธภิ าพย่งิ ข้ึน

๒. วธิ กี ารดำเนินการ

กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย พ้นื ท่ี ระยะ งบ
เป้าหมาย ดำเนนิ การ เวลา ประมาณ

๑. เสนอโครงการเพือ่ ขอ ๒.๑ เพอื่ ส่งเสรมิ การ ผ้สู งู อายโุ รงเรยี น จำนวน วนั ที่ ๒๗ ๒,๕๐๐

อนุมตั ิจากผบู้ ริหาร อ่านใหก้ ับผสู้ งู อายุและ เทศบาลตำบล ๑๐๐ คน หอ้ งสมุด พ.ย. 63 บาท
๒. ประสานงานกับครู ประชาชนท่วั ไป ได้รับ หว้ ยผงึ้ ประชาชน

กศน.ตำบล และหน่วย ความรู้ ความเขา้ ใจ ใน อำเภอนา

ราชการในพนื้ ทีอ่ ำเภอนา เรอื่ งการอ่านและ มน

มน สขุ ภาพจิตที่ดี่มากขึ้น ต

๓. คณะทำงานจดั เตรยี ม ๒.๒ เพอื่ ส่งเสริมการอ่าน ำ
สื่อ อปุ กรณใ์ นการจดั ใหก้ บั ผูส้ งู อายมุ สี ขุ ภาพจติ บ
กจิ กรรม ที่ดี ล
๔. ดำเนินงานตาม ๒.๓. เพอ่ื ส่งเสรมิ การอ่าน ส
โครงการฯ สรา้ งกำใจผสู้ งอายใุ นการ ง
๕. ประเมินผลและสรุปผล ดำเนินชีวิต เ
เสนอผบู้ ริหาร และ ป
ผ้เู กย่ี วข้องทราบตอ่ ไป ล

๓. แผนการการจัดโครงการ ไตรมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4
(ต.ค-ธ.ค (ม.ค. –ม.ี ค. (เม.ย.-มิ.ย. (ก.ค. –ก.ย.
กจิ กรรมหลัก ๒๕๖๓) ๒๕๖๔) ๒๕๖๔)
๒๕๖๔)
- ประชมุ ช้แี จงการจัดโครงการ
- จดั ทำโครงการ เพ่ือขออนุมัตจิ ากผบู้ ริหาร
- ดำเนนิ งานตามโครงการท่ไี ด้รับอนุมตั ิ
- ประเมนิ ผล/สรปุ ผลโครงการ ใหผ้ ูเ้ ก่ยี วข้อง

๔. เปา้ หมายในการเขา้ ร่วมกิจกรรม ฯ

๓.๑ เชงิ ปรมิ าณ

- โรงเรยี นผสู้ ูงอายุเทศบาลนิคมห้วยผ้ึง จำนวน ๑๐๐ คน

๓.๒ เชิงคณุ ภาพ

- ประชาชนเกิดกระบวนการเรยี นรแู้ ละมีนสิ ัยรักการอ่านพร้อมทง้ั ไดร้ บั ความสนุกสนาน

เพลิดเพลินมีสุขภาพจติ ที่ดี

๕. ระยะเวลาดำเนินการ

๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓

๖. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ

- แบบประเมินความพงึ พอใจผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ ฯ

๗. กลุม่ ตวั อยา่ งท่ีสังเกตพฤติกรรม

จำนวน ๘๕ คน

๘. เคร่อื งมอื ที่ใช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

แบบสังเกตพฤติกรรมโดยการสุม่ แบบแบ่งกลุ่ม (Cluster (Area) Random Sampling)

จำแนกเป็น ๓ ตอน

ตอนท่ี ๑ ข้อมูลทัว่ ไป

ตอนที่ ๒ การประเมินความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม

สำหรบั คำถามแต่ละตอนไดใ้ ชม้ าตราประมาณคา่ (Rating Scales) โดยประเมินเปน็ ๔ ระดบั คือ

มากทส่ี ุด เทา่ กบั ๔ คะแนน

มาก เทา่ กับ ๓ คะแนน

ปานกลาง เทา่ กับ ๒ คะแนน

นอ้ ย เท่ากบั ๑ คะแนน

ตอนที่ ๓ เปน็ ขอ้ คิดเหน็ อื่นๆ ของผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการฯ เปน็ คำถามแบบปลายเปิด เพ่อื ให้
ผจู้ ดั ทำโครงการได้แสดงความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ อันอาจจะเปน็ ประโยชนต์ ่อผู้สรุปรายงานฉบับนไ้ี ด้ชดั เจนและ
สมบูรณย์ ิ่งขนึ้
๙. วเิ คราะหข์ ้อมูล

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู วเิ คราะหจ์ ากแบบสังเกตพฤติกรรมผ้เู ขา้ รว่ มโครงการฯ โดยการสุ่มแบบ
แบ่งกลุ่ม (Cluster (Area) Random Sampling) ตอนที่ ๑ – ๒ ใช้การคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ
ค่าเบี่ยงแบนมาตาฐาน ตอนที่ ๓ เป็นข้อมูลเสนอแนะจากผู้เข้าร่วมโครงการฯ ใช้การเขียนเชิงพรรณนา
เพื่อให้รายงานฉบับนี้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น ผู้รายงานจึงได้วิเคราะห์จากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
รวมทัง้ วิเคราะหจ์ ากประสบการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ จากการคำนวณ

บทท่ี ๔
ผลการดำเนินงาน

การประเมินโครงการกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านบา้ นหลังเรยี น (อา่ นก่อนปรงุ รู้ก่อนกนิ ) ครงั้ นีเ้ ปน็ การ
ประเมนิ ผลสรปุ เม่อื สิน้ สดุ โครงการโดยมีวัตถปุ ระสงค์ดังน้ี

๑ เพื่อสง่ เสรมิ สนบั สนุนการอ่าน/การเรยี นรู้และปลูกฝังนสิ ยั รกั การอ่านให้กบั เด็กและประชาชนในชมุ ชน
๒ เพอื่ เสรมิ การพัฒนาการ ทักษะการฟัง การพูด ความกล้าแสดงออก ความคดิ และจติ นาการ
๓. เพือ่ ให้เดก็ และประชาชนเกดิ ความสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ และผ่อนคลายอารมณ์
วิธีการเกบ็ รวมขอ้ มูล/ แหลง่ ขอ้ มลู

แบบสังเกตพฤติกรรมแบบโดยวิธีการท่ีใช้ในการสังเกตการศึกษาแบบธรรมชาติ เครือ่ งมือท่ีใช้ในการ
สังเกต แบบตรวจสอบรายการแล้วจึงนำมาวางแผนจัดการเรียนรู้ให้เปน็ ลำดับขั้น เหมาะสมกับพัฒนาการเดก็
จำแนกเป็น ๓ ตอน พร้อมวิเคราะห์จากแบบสังเกตพฤติกรรมผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม
(Cluster (Area) Random Sampling) ตอนที่ ๑-๒ ใช้การคำนวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงแบน
มาตาฐาน ตอนท่ี ๓ เปน็ ข้อมูลเสนอแนะของผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ ใช้การเขียนเชิงพรรณนา
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ท่ัวไป จำนวนผู้สงั เกตพฤตกิ รรม ๘๕ คน

ขอ้ มูลทั่วไป จำนวน ร้อยละ หมายเหตุ
๑ ๑.๑๘
๑. เพศ ๘๔ ๙๘.๘๒

ชาย ๘๕ ๑๐๐

หญงิ

๒. ชว่ งอายุ
ต่ำกวา่ ๑๕
๑๕-๒๕ ปี
๒๕-๓๕ ปี
๓๕ ปีข้นึ ไป

สรปุ ผลจากตารางตอนที่ ๑ ขอ้ มลู ทัว่ ไป
ผจู้ ัดกิจกรรมพบวา่ ผู้เข้าร่วม เพศ หญงิ จำนวน ๘๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๙๘.๘๒ เพศชาย จำนวน

๑ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑.๑๘ ชว่ งอายุ ๓๕ ปขี ึ้นไป จำนวน ๘๕ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐๐

ตอนท่ี ๒ ความพงึ พอใจของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม

ระดบั ความพึงพอใจ

ประเด็น มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย

จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

๑. การจดั กจิ กรรมในครงั้ นีม้ กี จิ กรรม 62 72.94 18 21.17 5 5.89

ประโยชน์
๒.ท่านไดม้ สี ่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม 72 84.71 13 15.29

๓. ทา่ นไดร้ บั ความรู้/ประโยชนจ์ าก 79 92.94 6 7.06

การเข้ารว่ มกจิ กรรมเพ่อื ไปปรับใชไ้ ด้

๔. รูปแบบ/หัวข้อ ในการจัดกิจกรรม 81 95.29 4 4.71

มคี วามเหมาะสม

๕.ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมมี 64 75.29 12 14.11 9 10.60

ความเหมาะสม 52 61.17 14 16.47 12 14.12 7 8.24
๖.การประชาสัมพนั ธก์ าจดั กิจกรรม 68 80.00 3 3.53 14 16.47
๗.สถานทจี่ ัดกจิ กรรมมีความ

เหมาะสม 79 92.94 6 7.06
๘.เจา้ หน้าท่ีสามารถให้ขอ้ มูลหรือ 76 89.41 9 10.59
ตอบข้อซกั ถามไดเ้ ป็นอยา่ งดี
๙.เจา้ หนา้ ที่มีความสุภาพ เปน็ มติ ร
และเป็นกันเอง

๑๐.ภาพรวมความพึงพอใจในการจัด 83 97.65 2 2.35
กิจกรรมคร้งั นี้

สรุปจากตารางสังเกตพฤตกิ รรมผูเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมกจิ กรรม

ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม แบ่งออกเป็น ๑๐ หัวข้อ พบว่ากลุ่มที่มีความพึงพอใจของ

ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมในการเข้าร่วมกจิ กรรม มากสุดไปน้อยท่สี ุด

พฤติกรรมผู้เข้าร่วมโครงการ

๑. การจดั กจิ กรรมในครั้งน้ีมีกิจกรรมประโยชน์
มากทส่ี ุด จำนวน 62 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 72.94

มาก จำนวน 18 คน คิดเปน็ ร้อยละ 21.17
ปานกลาง จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 5.89

๒. ท่านไดม้ สี ่วนร่วมในการจดั กจิ กรรม
มากที่สุด จำนวน 72 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 75.29
มาก จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.29
๓. ทา่ นไดร้ ับความร/ู้ ประโยชนจ์ ากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมเพื่อไปปรบั ใช้ได้
มากทสี่ ดุ จำนวน 79 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.94
มาก จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.06
๔. รูปแบบ/หวั ขอ้ ในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม
มากท่ีสดุ จำนวน 81 คน คดิ เป็นร้อยละ 95.29
มาก จำนวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.71
๕. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม
มากทีส่ ดุ จำนวน 64 คน คิดเป็นร้อยละ 95.29
มาก จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.11
ปานกลาง จำนวน 9 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.60
๖. การประชาสัมพนั ธ์กาจัดกิจกรรม
มากที่สดุ จำนวน 52 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 61.17
มาก จำนวน 14 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 16.47
ปานกลาง จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 14.12
น้อย จำนวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 8.24
๗. สถานทีจ่ ัดกิจกรรมมีความเหมาะสม
มากทส่ี ุด จำนวน 68 คน คดิ เป็นร้อยละ 80.00
มาก จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.53
ปานกลาง จำนวน 14 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.47
๘. เจ้าหน้าท่สี ามารถใหข้ ้อมลู หรอื ตอบข้อซักถามไดเ้ ป็นอย่างดี
มากที่สดุ จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 92.94
มาก จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 7.06
๙. เจ้าหน้าทม่ี ีความสุภาพ เป็นมิตร และเปน็ กันเอง
มากทส่ี ดุ จำนวน 76 คน คดิ เป็นร้อยละ 89.41
มาก จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.59

๑๐. ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกจิ กรรมคร้งั นี้
มากท่ีสดุ จำนวน 83 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 97.65
มาก จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.35
ตอนที่ ๓ ขอ้ คดิ เห็น
-เป็นกิจกรรมทด่ี ี มีความเพลดิ เพลนิ ขอบคณุ อาจารยผ์ ูส้ อนค่ะ
-เหน็ ดมี ากที่สุดที่ใหค้ วามรูท้ างดา้ นดี คนแก่ชอบและจะเชญิ ชวนไปช่วยกจิ กรรมทางโรงเรียนดว้ ยนะคะ่

บทท่ี ๕

สรุปผลและข้อเสนอแนะ

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจ
ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลท่วั ไป

ผูจ้ ดั กิจกรรมพบว่าผูเ้ ขา้ ร่วม เพศ หญงิ จำนวน ๘๔ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๙๘.๘๒ เพศชาย จำนวน
๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑.๑๘ ชว่ งอายุ ๓๕ ปีขนึ้ ไป จำนวน ๘๕ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐
ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม แบ่งออกเป็น ๑๐ หัวข้อ พบว่ากลุ่มที่มีความพึงพอใจของ
ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม มากสดุ ไปน้อยทส่ี ดุ

พฤติกรรมผู้เขา้ ร่วมโครงการ
๑. การจดั กจิ กรรมในครงั้ น้มี ีกิจกรรมประโยชน์
มากทสี่ ุด จำนวน 62 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 72.94
มาก จำนวน 18 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 21.17
ปานกลาง จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.89
๒. ท่านไดม้ สี ว่ นร่วมในการจดั กจิ กรรม
มากที่สดุ จำนวน 72 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.29
มาก จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 15.29
๓. ท่านได้รับความร/ู้ ประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมกิจกรรมเพื่อไปปรบั ใช้ได้
มากทสี่ ุด จำนวน 79 คน คดิ เป็นร้อยละ 92.94
มาก จำนวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 7.06
๔. รูปแบบ/หวั ข้อ ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม
มากที่สดุ จำนวน 81 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.29
มาก จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 4.71
๕. ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม
มากที่สดุ จำนวน 64 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 95.29
มาก จำนวน 12 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 14.11
ปานกลาง จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.60

๖. การประชาสัมพันธ์กาจดั กิจกรรม
มากที่สุด จำนวน 52 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 61.17
มาก จำนวน 14 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.47
ปานกลาง จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.12
น้อย จำนวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 8.24
๗. สถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม
มากทีส่ ดุ จำนวน 68 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 80.00
มาก จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 3.53
ปานกลาง จำนวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.47
๘. เจา้ หน้าท่ีสามารถให้ข้อมูลหรือตอบขอ้ ซักถามได้เปน็ อย่างดี
มากทส่ี ุด จำนวน 79 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.94
มาก จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.06
๙. เจ้าหนา้ ทม่ี ีความสุภาพ เป็นมิตร และเปน็ กนั เอง
มากทส่ี ุด จำนวน 76 คน คดิ เป็นร้อยละ 89.41
มาก จำนวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 10.59
๑๐. ภาพรวมความพงึ พอใจในการจดั กจิ กรรมครัง้ นี้
มากที่สดุ จำนวน 83 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 97.65
มาก จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.35
ตอนที่ ๓ ข้อคิดเห็น
-เป็นกจิ กรรมที่ดี มีความเพลิดเพลิน ขอบคุณอาจารยผ์ ู้สอนค่ะ
-เหน็ ดมี ากทส่ี ดุ ทีใ่ ห้ความรู้ทางดา้ นดี คนแกช่ อบและจะเชิญชวนไปช่วยกจิ กรรมทางโรงเรยี นด้วยนะคะ่

ภาคผนวก

ภาพการจัดกจิ กรรม

ภาพการจัดกจิ กรรม

ภาพการจัดกจิ กรรม

ภาพการจัดกจิ กรรม


Click to View FlipBook Version