The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโคงการวันเด็ก Online ประจำปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศิริวรรณ เหลือศิริ, 2021-03-30 10:32:37

สรุปโคงการวันเด็ก Online ประจำปี 2564

สรุปโคงการวันเด็ก Online ประจำปี 2564

บทที่ ๑

บทนำ

๑. หลกั การและเหตผุ ล
เดก็ และเยาวชนเปน็ หัวใจสำคญั ในการพฒั นาประเทศ ถ้าหากสงั คมและครอบครวั รอบข้างไดป้ ลูกฝังสิ่งที่

ดี ส่งิ ท่ีสรา้ งสรรค์และเป็นประโยชน์ เดก็ กจ็ ะจดจำนำไปปฏิบตั ิ ซงึ่ เด็กเปรียบเสมือนผา้ ขาว ถ้าสังคมได้กระทำสิ่ง
ที่ดีงามให้เด็กได้เห็นเด็กก็จะจดจำ และนำสิ่งที่พบเห็นไปปฏิบัติและปรับปรุงให้ดีได้ในอนาคต เรียกได้ว่าเด็ก
เป็นอนาคตของชาติ ซง่ึ จะทำให้ประเทศชาติเจรญิ กว้าหน้าทัดเทียมอารยประเทศ ดงั นัน้ รัฐบาลจงึ ได้กำหนดให้วัน
เสาร์ที่สองของเดือนมกราคมของทุกปีเป็นวันเด็กแห่งชาติ เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้ร่วมกิจกรรมการแสดงออก
และไดป้ ระสบการณ์มากขึ้น

เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยกรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงาน กศน. ได้มีคำสั่งงดการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ
ประจำปี 2564 เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่บาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กศน.อำเภอห้วยผ้ึง
และห้องสมุดประชาชนอำเภอหว้ ยผ้ึง ตะหนักถึงความสำคัญของเด็กจึงได้ดำเนินการจัดโครงการส่งเสริมการอ่าน
วันเดก็ แห่งชาตปิ ระจำปี 2564 ในรปู แบบ online
๒. วัตถุประสงค์

๒.๑ เพ่อื สง่ เสรมิ การอ่านให้กบั เดก็ กจิ กรรมการแสดงออก และได้ประสบการณ์มากขึ้น
๒.๒ เพื่อสง่ เสรมิ การอา่ นสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
๓. เป้าหมาย

๓.๑ เชิงปรมิ าณ
- เดก็ และเยาวชน จำนวน ๑๐๐ คน

๓.๒ เชิงคณุ ภาพ
- นักเรียน นักศกึ ษาและประชาชนทัว่ ไปมีนิสัยรักการอ่านและรบั ความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน

ความกล้าแสดงออกด้านความคิด มีจิตนาการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองนเองในสถานการณ์การแพร่
ระบาดโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

๔. ดชั นชี วี้ ดั ความสำเรจ็ ของโครงการ
๔.๑ ตัวชวี้ ัดผลผลิต (output)
- เด็กและเยาวชน นักเรยี น นกั ศกึ ษาและประชาชนท่ัวไปในเขตพนื้ ท่ีตำบลหลกั เหลย่ี ม จำนวน ๑๐๐

คน ไดร้ ่วมกจิ กรรมงานวนั เด็ก ไดม้ สี ่วนรว่ มในการจดั กจิ กรรม มีความคดิ สรา้ งสรรค์ และมคี วามสนุกสนานกล้า
แสดงออก เพลดิ เพลินในกจิ กรรมดา้ นต่าง ๆ ทีจ่ ดั ขึน้ อยา่ งท่ัวถงึ รอ้ ยละ ๘o

๔.๒ ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ (outcome)
- ร้อยละ ๘o ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสามารถเข้าเรยี นรจู้ ากส่ือ/กจิ กรรมได้
- ร้อยละ ๘o ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ท่ีไดไ้ ปใชป้ ระโยชนก์ บั ตนเองไดม้ ากที่สุด

๕. ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
๕.๑ กลุ่มเป้าหมายไดต้ ระหนักถึงความสำคญั ของการอ่าน ได้รับความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรอื่ งการอา่ น
๕.๒ ทำใหก้ ลมุ่ เป้าหมายมสี มาธิในการอา่ นหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มมากยิง่ ขึน้

๖. การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจผเู้ ข้าร่วมโครงการ ฯ

บทท่ี ๒

แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและผลงานท่ีเกยี่ วข้อง

เปน็ การศึกษาเอกสารและผลการทเ่ี กย่ี วกับการส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็กร่วมท้ังการจัดกิจกรรมสำหรับ
โครงการวันเด็กแหล่งชาติ ออนไลน์ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี ๒๕๔ เป็นการปลูกฝังให้
เด็กมีนิสัยรักการอ่านดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยกรมควบคมุ
โรคกระทรวงสาธารณสขุ

แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและผลงานทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

๑. ความหมายของกจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน
บบุ ผา เรืองรอง (๒๕๕๕ : ถามคร.ู com) กิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น (Activity for Reading Skill) หมายถงึ
การกระทำต่างๆ เพื่อให้เด็กเกิดความสนใจที่จะอ่าน เห็นความสำคัญของการอ่าน เกิดความเพลิดเพลินที่จะอ่าน
เกิดความมุ่งมั่นที่จะอ่าน และอ่านจนเป็นนิสัยทั้งน้ีการอ่านหนังสือเป็นทักษะสำคัญทักษะหนึ่งในชีวิตประจำวัน
เพราะการอ่านหนงั สอื จะพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของคนเราไดเ้ ป็นอยา่ งดีย่ิงเม่ือคนเราอา่ นหนังสอื จะเกิดความสามารถ
สร้างความรู้อารมณ์จินตนาการและ ความเพลิดเพลินการที่เด็กจะเกิดทักษะการอ่านหนังสือได้นั้นจำเป็นจะต้อง
อาศยั ความร่วมมือจากบุคคลหลายฝ่าย ท้งั ครอบครัว โรงเรียนและชมุ ชน ในการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านให้แก่
เด็ก
๒. ความสำคัญของวนั เดก็
สรพงษ์ มีมิตรภาพ ( ๒๕๕๑ : https://www.gotoknow.org/posts/173882 ) วันเด็กคนทุกคนมี
หน้าที่ต้องทำแม้เป็นเด็กก็มีหน้าที่อย่างเด็ก คือศึกษาเล่าเรียน หมายความว่า จะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหัดทำการ
งานต่างๆ ให้เป็น อบรมขัดเกลาความประพฤติและความคิดจิตใจให้ประณีต ให้สุจริต แจ่มใส และเฉลียวฉลาดมี
เหตุผล เพือ่ จักได้เติบโตขึน้ เปน็ คนที่มีความรคู้ วามสามารถและประโยชนต์ อ่ ชาติบ้านเมือง
วันเด็กแห่งชาติในเมืองไทยครั้งแรกนั้น จัดขึ้นในวันจันทร์แรกของเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๘ และได้จัด
ต่อกันมาเป็นประจำทุกปีจนถึง พ.ศ. ๒๔๐๖ จึงมีความคิดว่าควรจะเปลี่ยนไปจัดงานวันเด็กในวันเสาร์ที่ ๒ ของ
เดือนมกราคม เน่อื งจากเห็นว่าเป็นช่วงท่ีพน้ จากฤดูฝนมาแลว้ และเป็นวันหยุดราชการทำใหเ้ กดิ ความสะดวก
เด็กคือทรัพยากรที่สำคัญยิ่งของประเทศชาติซึ่งจะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติบ้านเมืองให้
เจริญรุ่งเรืองก้าวหน้าและมั่นคง อีกทั้งเป็นผู้ที่จะต้องเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้าเพื่อทำหน้าที่ดูแลสังคม
ตลอดจนเศรษฐกจิ วฒั นธรรมความเปล่ยี นแปลง
ดง้ั นนั้ ทกุ สังคมจงึ ให้ความสำคัญแก่เด็ก และจัดให้มีวนั เด็กขึน้ ทุกปี เพอื่ ให้เด็กร้ถู ึงความสำคัญของตนเอง
จะได้ประพฤติปฏิบัติตนให้สมกับเป็นผู้ที่มีความสำคัญของประเทศชาติด้วยการตั้งใจใฝ่ศึกษาเรียนรู้ประพฤติ
ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัย รู้จักการใช้เวลา ความคิด มีความขยันหมั่นเพียร มีความรับผิดชอบและมีความ
ซอ่ื สัตย์สุจริต ฯลฯ
กิจกรรมตา่ งๆ ทค่ี วรปฏิบัตใิ นวนั เด็กแหง่ ชาติ

๑. จัดนิทรรศการเผยแผ่ประวัติความเป็นมาของวันเด็ก จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้เด็กได้ตระหนัก
ถงึ คณุ ค่า บทบาท และความสำคัญของตนเอง

๒. เขา้ รว่ มกจิ กรรมตา่ งๆท่ีจดั ขึ้น ในโรงเรยี น หมู่บ้าน หรอื หนว่ ยงานต่างๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชน
๓. ผลกระทบทางสังคมของการระบาดโรคโควดิ -๑๙ ระลอกใหมแ่ ละมาตรการทค่ี วรมี

การระบาดระลอกใหม่ของโควิด-๑๙ ที่เริ่มมาตั้งแต่เดือนธันวาคมปีที่แล้ว ก่อให้เกิดความกังวลกับ
ประชาชนไทยอกี คร้ังหนง่ึ ท้ังความกังวลจากการติดโรคและความกงั วลจากผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสงั คมท่ีจะ
ตามมา อย่างไรก็ตาม การระบาดระลอกใหม่มีความต่างในหลายด้านจากระลอกแรก เริ่มจากจำนวนผู้ติดเชื้อมี
จำนวนมากกว่า กระจายไปหลายจังหวัดกว่า แตด่ า้ นมาตรการจำกัดการระบาดกลบั มีความเข้มงวดน้อยกว่าท้ังใน
แงจ่ ำนวนมาตรการและขนาดของพ้นื ที่ควบคุม และคาดวา่ อาจจะผ่อนคลายเร็วกวา่

อีกทั้งประชาชนน่าจะเริ่มคุ้นเคยกับการใช้ชีวิตอยู่กับการระบาดที่มีผู้ติดเชื้ออยู่ระดับหน่ึง ไม่จำเป็นต้อง
เป็นศูนย์เลยเหมือนเช่นการควบคุมในระลอกแรก ซึ่งคาดจะเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยากอยู่ แล้วเพราะการระบาด
ระลอกใหมม่ ีแหลง่ ที่มาจากแรงงานต่างชาติท่ที ำงานอยู่ในประเทศไทยและมกี ารเดนิ ทางไปมาระหวา่ งประเทศไทย
และประเทศตนเองเช่นพม่า และนำเชื้อเข้ามาประเทศไทย และมีความยากลำบากในการตรวจสอบและคุมเข้ม
เพราะไม่สามารถป้องกันด่านชายแดนธรรมชาติได้ทั้งหมด (จะเห็นได้ว่าจนถึงปัจจุบัน ก็ยังมีการระบาดในกลุ่ม
แรงงานต่างชาติ) อกี ทง้ั พวกเขามีจำนวนมากและอยู่กันอย่างแออัด เพ่ิมโอกาสแพร่เชื้อระหว่างกันเองและไปสู่คน
ไทย

ทำให้คาดว่าการระบาดระลอกสองคงไม่หมดไปอย่างรวดเร็วเหมือนรอบแรกผลจากการระบาดท่ี
น่าจะลากยาวนี้จะทำให้ยังต้องมีมาตรการควบคุมต่อเนื่อง แต่จะไม่คุมเข้มอย่างรอบที่แล้วและส่งผลให้
ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมเบาบางกว่า (เห็นได้จากมาตรการเยียวยาของรัฐบาล มีขนาดเล็กกว่า
ระลอกแรกพอควร) อีกทั้งเศรษฐกิจภายนอกประเทศก็มีแนวโน้มปรบั ตัวดีข้ึนแสดงให้เห็นในตัวเลขการส่งออกที่
ค่อนข้างดีตั้งแต่เดือนธันวาคมที่ผ่านมา ดังนั้นผลกระทบต่อเศรษฐกิจมหภาคจึงน่าจะน้อยกว่าระลอกแรก
ค่อนข้างมาก

แม้ภาพรวมเศรษฐกจิ มหภาคจะดูดีกว่า แต่หากเจาะจงไปที่บางภาคเศรษฐกิจและบางกลุ่มประชากร
ยังน่าเปน็ ห่วงว่าอาจได้รับผลกระทบท่ีรนุ แรงข้นึ ตัวอย่างเช่นภาคเศรษฐกิจท่ีไม่เคยฟ้ืนตัวเลยเช่นการท่องเที่ยว
จากต่างประเทศ ซ่ึงทผ่ี า่ นมาไดร้ ับประโยชนจ์ ากการสง่ เสรมิ การท่องเท่ยี วในประเทศอยู่บ้างแตก่ ็เปน็ ไปอย่างจำกัด
ง่อนแง่น และไม่มั่นคง เมื่อถูกกระทบอีกระลอกก็อาจทำให้ไม่สามารถรักษากิจการได้อีกต่อไป เป็นความเสี่ยง
ต่อเนื่องไปถึงคนที่ทำงานในภาคนี้ และแม้ในภาคอื่นที่สภาพการณ์ดีกว่าแต่ก็มีกิจการขนาดเล็กจำนวนไม่น้อยท่ี
สายป่านสั้น และเคยมีความหวังจะได้กลับมาทำธุรกิจหลังการระบาดระลอกแรกสงบลง ก็อาจเริ่มถอดใจและปิด
กิจการในที่สุด ผลกระทบน่าจะเปน็ ลูกโซไ่ ปสู่คนทำงานและธุรกิจท่ีเกี่ยวข้องอีกเชน่ กนั ธนาคารแห่งประเทศไทย
ได้ประมาณการณ์ว่าการระบาดระลอกสองจะกระทบแรงงานจำนวน 4.7 ล้านคน โดยในจำนวนนี้ 1.1 ล้าน
คนมคี วามเสย่ี งท่ีจะตกงาน และอกี 3.6 ลา้ นคนมคี วามเส่ยี งท่รี ายได้จะลดลงอยา่ งมาก นอกจากนีย้ งั พบว่า เงิน
ออมโดยรวมที่เคยเพิ่มขึ้นหลังการระบาดระลอกแรก (ส่วนหนึ่งอาจมาจากการได้รับเงินช่วยเหลือจากภาครัฐ) มี

แนวโน้มลดลงท่ามกลางการระบาดระลอกใหม่ ซึ่งอาจแสดงถึงความสามารถในการรองรับผลกระทบน้อยลง
สำหรับประชาชนบางกลุ่ม

ผลทางเศรษฐกิจทล่ี ากยาวและรนุ แรงสำหรบั คนบางกลุ่ม จะสง่ ผลกระทบดา้ นสังคมที่จะตามมาอกี
หลากหลาย โดยเฉพาะในประชาชนกลุ่มเปราะบาง การศึกษาก่อนหน้า[1] พบว่า กลุ่มเปราะบางได้รับ
ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และสังคมมากกวา่ กลุ่มอื่นตั้งแต่ระลอกแรก โดยสว่ นหนึง่ เป็นเพราะผู้หารายได้หลักใน
ครอบครัวกลุ่มเปราะบางมักทำงานนอกระบบ ขาดความม่นั คงของการทำงานและรายไดเ้ ป็นปกติอยู่แลว้ ก่อนเกดิ
การระบาด จึงมกั เป็นกล่มุ แรก ๆ ทถ่ี กู กระทบแรงในแง่การสญู เสียรายได้ ส่วนด้านสงั คมก็ถูกกระทบแรงกวา่ กลุ่ม
อน่ื เช่นเด็กในครอบครัวยากจนมีความสามารถในการเรียนรอู้ อนไลน์น้อยกว่าเด็กฐานะดี ผู้ปกครองกม็ ีความ
พรอ้ มและความสามารถในการเรียนรว่ มกับลูกน้อยกว่า คนแกท่ ี่มโี รคประจำตัวในครอบครัวเปราะบางกเ็ ข้าถึง
บริการทางการแพทยล์ ดลงมากกว่า เปน็ ตน้
ขอ้ พิจารณาขา้ งต้นนำไปสขู่ ้อเสนอแนะเชิงนโยบายหลายประการ ประกอบด้วย

ประการทห่ี นง่ึ ควรเร่งศึกษาผลกระทบทางสงั คมต่อกล่มุ เปราะบางเพ่มิ ขึ้นในช่วงการระบาดระลอกสอง ท้งั
ความสามารถในการรบั มือกับผลกระทบ ทางเลอื กของเขาเหลา่ น้นั ในการปรบั ตวั ว่ามีมากนอ้ ยเพยี งใด มาตรการ
ของภาครฐั อะไรบ้างท่ชี ว่ ยเขาได้ มาตรการอะไรทอ่ี าจช่วยเขาไดแ้ ต่เขาไม่ได้หรือยงั ไม่ได้ และเพราะเหตใุ ดจงึ ไม่ได้
หรอื ได้ช้า เป็นต้น

ประการทส่ี อง รัฐบาล ‘ตอ้ ง’ มีมาตรการเยียวยาเปน็ พิเศษสำหรบั กลุม่ เปราะบางและกลุ่มทเ่ี ส่ยี งจะเกิดแผลเป็น
โดยควรเป็นมาตรการที่หลากหลาย เพ่มิ เติมจากการให้เป็นเงิน เชน่ การดูแลให้เข้าถงึ บริการภาครฐั ด้านตา่ ง ๆ เชน่
การจา้ งงาน การดูแลสขุ ภาพ การช่วยดแู ลบตุ รหลานใหเ้ รียนรอู้ อนไลนไ์ ด้มากขน้ึ การเข้าถึงบรกิ ารเหล่าน้ตี ้อง
เป็นไปโดยไมต่ กหลน่ หรือควรเขา้ ถงึ มากขนึ้ กวา่ ในภาวะปกติด้วยซำ้ การป้องกนั การตกหล่นอาจใช้ทงั้ กลไก
ภาครฐั บาลกลาง รัฐบาลท้องถนิ่ ชมุ ชน ภาคเอกชน หรอื แมก้ ระทัง่ ประชาชนท่ัวไปในการแจ้งให้ภาครฐั ทราบกรณี
พบเห็นกลุม่ เปราะบางทตี่ กหลน่ จากการไดร้ ับการชว่ ยเหลอื และเยียวยา

ประการที่สาม ควรมมี าตรการเฝา้ ระวัง (monitoring) การเกดิ แผลเปน็ ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยแผลเป็น
หมายถงึ กิจการหรอื ประชาชนทไี่ ด้รบั ผลกระทบจากโควดิ -19 แบบต่อเนื่องยาวนาน และไม่มโี อกาสฟนื้ ตัวแม้การ
ระบาดจะหายไป[2] ตวั อย่างเช่นเจา้ ของกิจการขนาดเล็กท่ีสน้ิ เน้ือประดาตัว ไม่มเี งนิ ทนุ จะเริ่มกิจการใหม่ แรงงาน
ทีถ่ ูกเลิกจา้ งถาวรและไม่มโี อกาสไดร้ ับการจ้างงานใหม่ เปน็ ตน้ คาดวา่ กลมุ่ เหล่านจ้ี ะทับซ้อนกบั กลุ่มเปราะบางที่
กลา่ วถึง และเมือ่ พบแผลเปน็ เหล่าน้ีแลว้ กต็ อ้ งเร่งออกมาตรการในการบรรเทาความทุกข์รอ้ นและประคับประคอง
ใหเ้ ขาสามารถกลับเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและฟนื้ ฟทู างสงั คมควบคู่กันไป

ประการทีส่ ี่ รฐั อาจควรพิจารณาใหว้ ัคซีนกับกลุ่มเปราะบางเร็วกว่ากลุ่มอื่น ด้วยเหตุผลวา่ เปน็ กลมุ่ ที่ไมส่ ามารถ
รองรบั ความเสีย่ งจากการขาดรายไดไ้ ด้มากนัก การได้รบั วัคซนี ก่อนจะมผี ลทำให้ความเส่ียงน้ีลดน้อยลง

๔. พัฒนาการของเดก็ วัยเรยี น ๖ – ๑๒ ปี
เบญจรัตน์ นุชนาฏ์ และคณะ (๒๔๔๓ : https://www.gotoknow.org/posts/305008 ) เด็กวัย

เรียนนี้เป็นวัยแห่งการเตรียมพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ถ้าเด็กได้รับสิ่งแวดล้อมที่ช่วย
ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุก ๆ ด้าน เด็กก็จะสามารถปรับตัวให้เข้ากับประสบการณ์ใหม่หรือสิ่งแวดล้อมใหม่ได้
อย่างราบรื่น เด็กในวัยนี้จะมีการเรียนรู้เพิ่มขึ้น เนื่องจากเป็นวัยที่เข้าโรงเรียน เด็กจะเริ่มเรียนรู้ในสิ่งที่อยู่ใกล้ตวั
กอ่ นแล้วจึงค่อยเป็นประสบการณ์ไปหาสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ไกลตวั ออกไป สำหรับเดก็ ทีเ่ รม่ิ เขา้ เรียน จะสามารถเรียนรู้
ได้ดี ถ้าทางโรงเรียนได้จัดสิ่งแวดล้อมโดยปล่อยให้เด็กได้มีการเคลื่อนไหว และเข้าร่วมในกิจกรรมต่าง ๆอยู่เสมอ
ซึ่งจะเป็นการเพิ่มหรือเสริมพัฒนาการทางปัญญาของเด็กเป็นอย่างมาก เนื่องจากสิ่งต่าง ๆ จะเป็นสิ่งที่ช่วยหรือ
ก่อให้เกิดความอยากรู้อยากเห็น อยากทดลอง ค้นคว้าสิ่งเหล่านี้ของเด็ก ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ ภาพการ์ตูน
สิ่งดังกล่าวนี้มี อิทธิพลอย่างมากต่อการพัฒนาการของเด็กในด้านอารมณ์ ภาษาและสติปัญญา เด็กวัยเรียนนี้วุฒิ
ภาวะทุกด้านกำลังงอกงามเกือบเต็มที่ ทำให้เด็กมีความสามารถเพิ่มขึ้นอีกหลายด้าน เป็นเพราะเด็กได้เรียนรู้
กวา้ งขวางขึ้นในช่วงน้ี ทำให้เดก็ สามารถท่จี ะคดิ และแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ด้วยตวั ของตัวเอง

เด็กในวัยนี้จะเริ่มเรียนรู้โลกกว้างมากขึ้น ชอบความตื่นเต้น พึงพอใจในสิ่งแปลกใหม่ จะหันเหไปสู่
การเรียนรู้สิ่งต่างๆ จากสิ่งแวดล้อมนอกบ้าน เช่น เรียนรู้เกี่ยวกับเพื่อน ครู การเรียน การเล่นกับเพื่อน (Freud :
Psychoanalytic Theory , Latency stage) เด็กจะใฝ่เรียนรู้และพยายามกระทำสิ่งต่างๆเพื่อให้เห็นว่าเขา
สามารถทำไดห้ รือประสบความสำเร็จ อยากให้ผู้อื่นยอมรับในความสามารถของตนเอง (Erikson : ทฤษฎีจิตสังคม
ขนั้ ท่ี ๔) ดงั น้ัน พอ่ แมค่ วรช่วยใหเ้ ดก็ ไดเ้ กดิ ความรูส้ ึกว่าเขามีดี มีความสามารถ โดยการสนับสนุนให้เดก็ ไดท้ ำในสิ่ง
ที่เขาชอบอย่างสุดความสามารถ หาจุดดี-จุดเด่นของตัวเด็กเพื่อชมเชย เป็นการบ่มเพาะความรู้สึกขยันหมัน่ เพียร
ให้เกิดขึ้น เพราะความสามารถจริงของเด็กที่ปฏิบัติได้นั้น ยังต้องได้รับการส่งเสริมและช่วยเหลือจากผู้ใหญ่และ
สังคมในการช่วยให้เด็กมีศักยภาพสูงสุดที่เป็นไปได้ (Vygotsky : Cultural-Historical Theory , Zone of
Proximal Development) แต่ถา้ ไม่ไดร้ ับการสง่ เสริม หรอื ได้รบั การส่งเสริมที่มากเกินความสามารถของเด็ก เด็ก
จะรู้สึกว่าตัวเองด้อยค่า ไม่มีความสามารถพ่อแม่ควรทำความเข้าใจว่าเด็กในวัยนี้มีความรู้ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ
รอบตัวมากขึ้นสามารถคิดหาเหตุผล แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และสามารถเข้าใจกฎเกณฑ์ต่างๆได้ก็จริง แต่ก็มี
ข้อจำกัดว่าความรู้ความเข้าใจเหล่านี้ก็จะต้องอยู่ในรูปธรรม เช่น การสอนให้เด็กทำความดี (นามธรรม) พ่อแม่
จะต้องยกตัวอย่างให้อยู่ในรูปของพฤติกรรมที่เด็กสามารถปฏิบัติได้ เช่น การตั้งใจเรียน เชื่อฟังคำสั่งสอนของ
ผใู้ หญ่ เป็นการทำความดี (Piaget : Constructivist Theory ,Concrete operational stage)

ทักษะการเรียนรูข้ องเด็กวัยนีจ้ ะเป็นลักษณะการใช้กล้ามเน้ือมัดเล็ก คือ การประสานกันระหว่างมอื
กับสายตา เช่น การต่อบล็อก การเขียนหนังสือ จะเห็นได้ว่าเด็กวัยนี้เป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมจาก
บ้านสู่โรงเรียนดังนั้น ทักษะการเข้าสังคมในกลุ่มเพื่อนและทักษะทางภาษาเป็นเรื่องที่สำคัญเป็นอย่างย่ิง
กระบวนการพฒั นาต่างๆจะเป็นในลกั ษณะของกระบวนการทางสังคมเข้ามาหล่อหลอมในตัวเดก็ เพราะวัยเด็กตอน
ปลายไม่ต้องการเล่นตามลำพังที่บ้านหรือทำสิ่งต่างๆร่วมกับสมาชิกของครอบครัวอีกต่อไป เพื่อนจึงเป็นบุคคล
อันดับแรกๆที่เด็กจะเลือกปฏิบัติตาม ทั้งด้านการแต่งกาย ความคิด และพฤติกรรม เมื่อเกิดความขัดแย้งข้ึน

ระหว่างพ่อแม่กับเพื่อนเด็กมักจะทำตามและให้ความสำคัญกับกลุ่มเพื่อนมากกว่า ซึ่งทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ทักษะการเขา้ สังคมหลายอย่างที่เปน็ ประโยชน์ เชน่ เดก็ จะเรียนรู้ถึงการยอมรับและมีความรับผดิ ชอบ การมีน้ำใจ
นกั กฬี า และการมีพฤติกรรมทีส่ งั คมยอมรับ เพือ่ เปน็ รากฐานในการเป็นสมาชิกที่ดขี องสงั คมต่อไป

จากท่กี ลา่ วมาขา้ งต้น จะสามารถเห็นได้ว่า ช่วงอายุของเด็กในวยั เรียน ๖ - ๑๒ ปีนัน้ ถือเป็นชว่ งสำคัญของเด็กใน
การเรียนรู้ทักษะชีวิต และพัฒนาการต่างๆทางด้านสติปัญญา (higher cognitive functions) เป็นช่วงที่การ
ทำงานของสมองมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและเต็มที่ ดังนั้นธรรมชาติและพฤติกรรมการเรียนรู้ของเด็กในช่วงวัย
เรียนจึงมีการเปลีย่ นแปลงและแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตที่ค่อนข้างเด่นชัดในแตล่ ะขวบปี ซึ่งสามารถสรุปได้
ดังต่อไปนี้

อายุ ๖ ปี เด็กวัยนี้สามารถมองเห็นความแตกตา่ งระหว่างส่ิงของได้ เช่น ความแตกต่างของลวดลายต่าง
ๆ เข้าใจความหมายของหน้า-หลังและบน-ล่างของตัวเด็ก แต่ไม่เข้าใจระยะใกล้หรือไกลของสถานที่ เด็กวัยนี้ยัง
คิดถึงแต่เรื่องปัจจุบัน คิดถึงแต่เรื่องที่ตนเองพัวพันอยู่ด้วย มีสมาธิจดจ่อกับกิจกรรมค่อนข้างส้ัน สนใจการกระทำ
กิจกรรมต่าง ๆ แต่จะไม่สนใจความสำเรจ็ ของกจิ กรรมน้ัน ๆ เดก็ จะกระตือรือร้นทำงานท่ตี นเองสนใจ แต่เมื่อหมด
ความสนใจจะเลิกทำทันที โดยไมส่ นใจวา่ งานนน้ั จะสำเรจ็ หรือไม่

อายุ ๗ ปี เด็กวัยนี้จะมีความอยากรู้อยากเห็น สามารถจำเหตุการณ์ที่ผ่านมาได้ มีความสนใจที่จะทำส่ิง
ต่าง ๆ และจะพยายามทำให้สำเร็จ รู้จักชอบหรือไม่ชอบสิ่งนั้นสิ่งนี้ มีสมาธิจดจ่อกับกิจกรรมยังค่อนข้างสั้น จะ
สนใจสิง่ ตา่ งๆทีละอย่าง ดงั น้ัน ถา้ มีงานหลายอยา่ งใหเ้ ด็กทำ ควรจะแบง่ หรือกำหนดให้เป็นส่วน ๆ ไม่ควรให้พร้อม
กันทีเดยี ว เพราะจะทำให้เด็กเบ่ือ

อายุ ๘ ปี เด็กวัยนี้จะมีความอยากรู้อยากเห็น สนใจซักถามมากขึ้น ชอบทำสิ่งใหม่ ๆ ที่ตนไม่เคยทำมา
ก่อน มีสมาธิจดจ่อกับกิจกรรมนานขึ้น มีความสนใจที่จะทำงานให้สำเร็จ มีความพิถีพิถันและรับฟังคำแนะนำใน
การทำงานมากขึ้น สามารถเข้าใจคำชี้แจงง่าย ๆ มีความสนใจในการเล่นต่าง ๆ สามารถแสดงละครง่าย ๆ ได้
สนใจการวาดภาพ ดูภาพยนตร์ โทรทัศน์ การต์ นู ฟงั วทิ ยุ และชอบนทิ าน สนใจในการสะสมสิง่ ของ

อายุ ๙ ปี เด็กวัยนี้เป็นวัยท่ีรู้จักใช้เหตุผล สามารถตอบคำถามอย่างมีเหตผุ ล มีความรู้ในด้านภาษา และ
ความรู้รอบตัวกว้างขึ้น ชอบอ่านหนังสือท่ีกล่าวถึงข้อเท็จจริง สามารถแก้ปัญหาและรู้จักหาเหตุผลโดยอาศัยการ
สังเกต ในวยั น้ตี ้องการอสิ รภาพเพิม่ ขน้ึ สนใจที่จะสะสมสิง่ ของ และจะเลยี นแบบการกระทำตา่ ง ๆ ของคนอน่ื

อายุ ๑๐ ปี วัยนี้เป็นวัยที่สมองกำลังพัฒนาเต็มที่ การเรียน การหาเหตุผล ความคิดและการแก้ปัญหาดี
ขึ้น สามารถตัดสินใจด้วยตนเอง และมีการไตร่ตรองก่อนตัดสินใจ ไม่ทำอย่างหุนหันพลันแล่น มีความคิดริเริ่ม
เด็กชายชอบเรียนดาราศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เด็กหญิงจะสนใจเกี่ยวกับการเรือน การสร้างมโนภาพเกี่ยวกับเวลา
แม่นยำและกวา้ งขวางข้นึ ทำใหส้ ามารถศกึ ษาประวัติศาสตร์สำคัญ วนั เดือนปี ได้ สามารถเข้าใจส่งิ ตา่ ง ๆได้อย่าง
รวดเรว็

อายุ ๑๑ – ๑๒ ปี เด็กวัยนี้จะมีเพื่อนวัยเดียวกัน มีการเล่นเป็นกลุ่ม บางคนจะเริ่มแสดงความสนใจใน
เพศตรงข้าม สนใจกีฬาท่เี ล่นเปน็ ทมี กจิ กรรมกลางแจ้ง สัตวเ์ ล้ยี ง งานอดเิ รก หนงั สือ การ์ตูน จะมลี ักษณะเป็นคน

ทเี่ ปลีย่ นแปลงได้ง่าย ๆ อาจกลายเปน็ คนเจ้าอารมณ์ และชอบการวพิ ากษว์ ิจารณ์ จะเหน็ ว่าความคิดเห็นของกลุ่ม
เพื่อนมีความสำคัญมากกว่าความคดิ เห็นของผู้ใหญ่และจะมีความกังวล เริ่มเอาใจใส่การเปลี่ยนแปลงของรา่ งกาย
ตอ้ งการใหผ้ อู้ ่นื เขา้ ใจและยอมรบั ในการเปลี่ยนแปลงของตนดว้ ย

ผลกระทบของสื่อตอ่ เดก็ ในวัยเรยี น
ในยุคปัจจุบนั การเรียนรู้ของเด็กได้มีการเปิดกวา้ งข้นึ และเข้าถงึ ได้งา่ ยกว่าเมื่อก่อน เนื่องจากวิวัฒนาการ
ทางด้านเทคโนโลยีและสารสนเทศ รวมไปถึงชนิดของสื่อ เครื่องมือและอุปกรณ์ multimedia ต่างๆมีการพัฒนา
รูปแบบใหม่ๆออกมา เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้และใช้ประโยชน์ อย่างไรก็ตามสื่อนับว่าเป็นเพียงช่องทางหรือ
เครื่องมือในการสื่อสารเท่านั้น ส่วนที่สำคัญคือเนื้อหาและการนำเสนอของสื่อสาระที่เป็นตัวชี้วัดความเหมาะใน
การรบั ส่อื
เนื่องจากเด็กในวัยนี้ยังไม่มีวุฒิภาวะและการไตร่ตรองที่รอบคอบเพียงพอต่อการเลือกรับหรือเสพ
สื่อ ดังนั้นผลกระทบของสื่อจึงเป็นเหมือนดาสองคมซึ่งสามารถส่งให้เกิดทั้งผลดีที่เป็นประโยชน์และผลเสียท่ี
ก่อใหเ้ กิดโทษตอ่ เด็กในวยั เรยี นได้เชน่ กัน
ผลกระทบของสื่อต่อพัฒนาการด้านมติ ิสมั พันธ์
รูปแบบของอุปกรณ์ multimedia ต่างๆในปัจจุบันถูกออกแบบให้มีการประสาทสัมผัสต่างๆพร้อมกันไม่
วา่ จะเปน็ คอมพวิ เตอร์ วีดีโอเกมสใ์ หม่ๆที่ช่วยฝึกทักษะการเช่ืองโยงของการใชป้ ระสาทสัมผัส และ การเคลื่อนไหว
ใหก้ ับเดก็ ได้ เชน่ เกมส์เต้น เกมสเ์ ครือ่ งดนตรใี นแบบต่างๆ (กลอง กีต้าร์ คียบ์ อร์ด) ซง่ึ การเลน่ เกมส์ ประเภทนเี้ อื้อ
ใหเ้ กิดพฒั นาการดา้ นมิติสัมพันธ์ และถอื ว่าเปน็ กจิ กรรมท่ใี ช้เพื่อความบนั เทงิ ผ่อนคลายสำหรับเดก็ ได้
ผลกระทบของสอ่ื ต่อพฒั นาการดา้ นสงั คมและปฏิสัมพันธ์
ในปัจจุบันการสื่อสารติดต่อ หรือ ทำความรู้จักผ่าน social networking ต่างๆ สามารถช่วยพัฒนาการ
ด้านสังคม และปฏิสัมพันธ์ได้ในระดับหนึ่งถ้ามีการใช้อย่างเหมาะสม ด้วยสังคมในโลก cyber ที่เปิดกว้างและ
ค่อนข้างไร้ข้อจำกัดสามารถเป็นประโยชน์ในการเรียนรู้สังคมต่างวัฒนธรรมได้ รวมไปถึง community ต่างๆที่มี
การทำกิจกรรมสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ต่อการใช้เวลาว่างเช่น web ๒.๐ ที่เป็น interactive website
สามารถเปน็ ชอ่ งทางหนึ่งในการสรา้ งแรงจูงใจใหเ้ ดก็ ไดแ้ สดงออกด้านความนึกคดิ และความสามารถ
ผลกระทบของส่ือตอ่ การเรยี นรดู้ ้านภาษา
ส่ือ multimedia ในรูปแบบต่างๆสามารถเอื้อตอ่ พัฒนาการทางดา้ นภาษาให้กบั เด็กในวัยเรียนได้
หลากหลายวิธี

• การดหู นงั soundtrack ทสี่ ามารถเลอื ก subtitle ภาษาต่างๆได้ สามารถช่วยฝึกทักษะด้านการ
อ่าน และความรดู้ า้ นคำศัพท์ การสนทนา

• การฟังเพลงภาษาตา่ งชาติ สามารถชว่ ยการเรยี นดา้ นประสาทการฟงั และสร้างความคนุ้ เคยใน
การออกเสยี ง

• การเลน่ เกมสภ์ าษา สามารถฝึกทกั ษะความเขา้ ใจในการส่ือสารผา่ นการสังเกต และการ
ตอบสนองของตัวคาแรกเตอร์ในเกมส์ โดยบางครงั้ อาจเริ่มจากการไมร่ ู้ภาษานนั้ ๆเลยก็ได้

ผลกระทบของส่ือตอ่ การเรยี นรเู้ ชงิ พฤติกรรม
สื่อ นับว่าเป็นการนำเสนอของโลกเสมือนจริง (Virtual Reality) เนื่องจากเด็กในวัยเรียนมีความอยากรู้
อยากเห็น และยังมีวุฒิภาวะในการเลือกรับ และไตร่ตรองไม่เพียงพออาจส่งผลกระทบให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่
เหมาะสมได้ โดยการเรยี นรู้พฤตกิ รรมสำคัญต่าง ๆ ทั้งที่เสริมสร้างสังคม (Prosocial Behavior) และพฤติกรรมที่
เป็นภัยต่อสังคม (Antisocial Behavior) ได้เน้นความสำคัญของการเรียนรู้แบบการสังเกตหรือเลียนแบบจากตัว
แบบ ซง่ึ อาจจะเป็นไดท้ งั้ ตัวบคุ คลจริง ๆ เชน่ ครู เพือ่ น หรือจากภาพยนตรโ์ ทรทศั น์ การต์ ูน หรือจากการอ่านจาก
หนังสือได้การเรียนรู้โดยการสังเกตประกอบด้วย ๒ ขั้น คือ ขั้นการรับมาซึ่งการเรียนรู้เป็นกระบวนการทางพุทธิ
ปัญญา และขั้นการกระทำ ตัวแบบที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลมีทั้งตัวแบบในชีวิตจริงและตัวแบบที่ เป็น
สัญญาลักษณ์ เพราะฉะนั้นพฤติกรรมของผู้ใหญ่ในครอบครัว โรงเรียน สถาบันการศึกษา และผู้นำในสังคม
ประเทศชาติและศิลปิน ดารา บุคคลสาธารณะ ยิ่งต้องตระหนักในการแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ เพราะย่อมมีผลต่อ
พฤติกรรมของเยาวชนในสงั คมนนั้ ๆ

บทท่ี ๓

วธิ ีดำเนนิ งาน

วตั ถปุ ระสงค์ของการประเมิน

๑ เพ่ือส่งเสรมิ การอา่ นให้กบั เด็ก กิจกรรมการแสดงออก และไดป้ ระสบการณม์ ากขึ้น

๒ เพอ่ื ส่งเสริมการอ่านสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

วธิ ีการดำเนนิ การโครงการฯ

กจิ กรรมหลกั วตั ถุประสงค์ กลมุ่ งบ
เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นทดี่ ำเนินการ ประมา



๑. เสนอโครงการเพ่ือขอ ๑ เพ่อื ส่งเสริมการอ่านใหก้ ับ เดก็ และ จำนวน หอ้ งสมุด ๒,๕๐๐-
อนุมตั จิ ากผูบ้ ริหาร เด็ก กิจกรรมการแสดงออก เยาวชน ๑๐๐ คน ประชาชนอำเภอ
๒. ประสานงานกับครู กศน. และได้ประสบการณม์ ากขึน้
ตำบล และหน่วยราชการใน ๒ เพื่อสง่ เสรมิ การอา่ น ต ห้วยผ้ึง
พน้ื ที่อำเภอนามน สถานการณ์การแพร่ระบาด ำ
๓. คณะทำงานจดั เตรยี มส่ือ โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา บ
อปุ กรณ์ในการจดั กิจกรรม 2019 (COVID-19 ล
๔. ดำเนนิ งานตามโครงการฯ ส
๕. ประเมนิ ผลและสรปุ ผล ง
เสนอผู้บริหาร และผู้เกย่ี วขอ้ ง เ
ทราบตอ่ ไป ป



รูปแบบกจิ กรรม

1 กิจกรรมตอบคำถามออนไลนร์ บั รางวัล

2 กิจกรรมส่งเสรมิ การอา่ นประกวดวาดภาพออนไลน์

เป้าหมายเข้าร่วมโครงการฯ

๓.๑ เชงิ ปรมิ าณ
- เดก็ และเยาวชน จำนวน ๑๐๐ คน

๓.๒ เชงิ คุณภาพ
- นักเรียน นกั ศึกษาและประชาชนท่ัวไปมนี สิ ัยรักการอา่ นและรับความสนุกสนาน เพลดิ เพลิน

ความกล้าแสดงออกดา้ นความคดิ มจี ติ นาการ เกิดกระบวนการเรยี นรดู้ ้วยตนเองนเองในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรค
ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
ระยะเวลาดำเนินการ

วนั ท่ี ๙ มกราคม ๒๕๖๔

บทที่ ๔

ผลการดำเนนิ งาน

๑.วตั ถุประสงค์ของการประเมนิ
๑.๑ เพื่อสง่ เสริมการอา่ นให้กบั เดก็ กิจกรรมการแสดงออก และไดป้ ระสบการณม์ ากข้ึน
๑.๒ เพ่ือส่งเสริมการอ่านสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

๒.ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๒.๑ กลุ่มเป้าหมายไดต้ ระหนักถงึ ความสำคญั ของการอ่าน ได้รับความรู้ ความเขา้ ใจ ในเรอื่ งการอา่ น

๒.๒ ทำให้กลมุ่ เป้าหมายมีสมาธใิ นการอ่านหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพมิ่ มากย่ิงข้ึน

กลมุ่ เป้าหมาย

๓.๑ เชงิ ปรมิ าณ

- เดก็ และเยาวชน จำนวน ๑๐๐ คน

๓.๒ เชงิ คุณภาพ

- นกั เรียน นกั ศกึ ษาและประชาชนท่ัวไปมนี ิสยั รักการอา่ นและรบั ความสนุกสนาน

เพลดิ เพลิน ความกล้าแสดงออกด้านความคิด มีจติ นาการ เกดิ กระบวนการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองนเองในสถานการณ์

การแพร่ระบาดโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

1. สรปุ ผลการดำเนนิ ตามวตั ถุประสงค์

ท่ี วตั ถปุ ระสงค์ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนินงาน
โครงการ/กจิ กรรม บรรลุ ไมบ่ รรลุ

1 เพือ่ สง่ เสริมการอา่ นให้กับเด็ก ✓ ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมทางแฟนเพจ ห้องสมุดประชาชนอำเภอ

กจิ กรรมการแสดงออก และได้ หว้ ยผ้ึงไดป้ ระสบการณ์ใหม่

ประสบการณ์มากขน้ึ

2 เพอ่ื สง่ เสรมิ การอา่ น ✓ ผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม มนี ิสยั รกั การอา่ นและรับความสนกุ สนาน
เพลดิ เพลนิ ความกลา้ แสดงออกด้านความคิด มจี ติ นาการ
สถานการณ์การแพร่ระบาด เกดิ กระบวนการเรียนรู้ดว้ ยตนเองนเองในสถานการณก์ าร
แพร่ระบาดโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา

2019 (COVID-19)

๒. สรปุ ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั

ที่ ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนนิ งาน
โครงการ/กจิ กรรม บรรลุ ไมบ่ รรลุ

1 กลมุ่ เป้าหมายไดต้ ระหนกั ถงึ ✓ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมผา่ นแฟนเพจ หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอ

ความสำคญั ของการอา่ น ห้วยผ้ึง ไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจ ผา่ นกจิ กรรม

ได้รบั ความรู้ ความเข้าใจ

ในเรอื่ งการอ่าน

2 ทำใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายมีสมาธิ ✓ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม มีนิสัยรักการอา่ นและรับความสนกุ สนาน
เพลิดเพลนิ มสี มาธิ ในการอ่านหรอื กิจกรรมตา่ ง ๆ เพม่ิ มาก
ในการอ่านหรือกจิ กรรมตา่ ง ๆ ยิ่งขนึ้

เพิม่ มากยิ่งขึน้

บทท่ี ๕
สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

๑. สรุปผลการดำเนนิ ตามวัตถปุ ระสงค์
๑.๑ เพ่อื ส่งเสริมการอ่านให้กับเด็ก กิจกรรมการแสดงออก และไดป้ ระสบการณ์มากข้ึน พบว่า ผู้เข้าร่วม

กจิ กรรมทางแฟนเพจ ห้องสมุดประชาชนอำเภอห้วยผ้งึ ไดป้ ระสบการณ์ใหม่
๑.๒ เพื่อส่งเสรมิ การอ่านสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบกว่า

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีนิสัยรักการอ่านและรับความสนุกสนาน เพลิดเพลิน ความกล้าแสดงออกด้านความคิด มีจิต
นาการ เกิดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองนเองในสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)

๒. สรุปผลทีค่ าดวา่ จะได้รับ
๒.๑ กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการอ่าน ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องการอ่าน

พบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมผ่านแฟนเพจ ห้องสมุดประชาชนอำเภอห้วยผงึ้ ไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจ ผา่ นกิจกรรม
๒.๒ ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีสมาธิในการอ่านหรือกิจกรรมต่าง ๆ เพิ่มมากยิ่งขึ้น พบว่า ผู้เข้าร่วมกจิ กรรม

มนี สิ ัยรักการอ่านและรับความสนกุ สนาน เพลิดเพลนิ มสี มาธิ ในการอา่ นหรือกจิ กรรมต่าง ๆ เพ่มิ มากยิง่ ข้ึน

ขอ้ เสนอแนะ
ควรจัดกิจกรรมท่ีมีความหมายหลายและมีการประชาสมั พันธ์เพม่ิ มากย่งิ ขนึ้

ภาคผนวก

ภาพการจัดกจิ กรรม

ภาพการจัดกจิ กรรม

ภาพการจัดกจิ กรรม


Click to View FlipBook Version