The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565 (AnnualReport 2022)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cpd.mahasarakham, 2023-04-27 03:54:42

รายงานประจำปี 2565 (AnnualReport 2022)

รายงานประจำปี 2565 (AnnualReport 2022)

กิจกรรมย่อย 1 : การประกวดแข่งขันสุดยอดเมนูเด็ดจากปลาส้มโกสัมพี กิจกรรมย่อย 2 : การออกบูธแสดงสินค้า ขนม Nougat Takkasira รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 41


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : 1) เพื่อบริการให้ค าปรึกษา แนะน า และแก้ไขปัญหาด้านการสหกรณ์แก่ผู้รับบริการ 2) เพื่อกระตุ้นให้ผู้รับบริการมีความสนใจในการรวมกลุ่มตามวิธีสหกรณ์ 2. ผลการดําเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดงานคลีนิคเกษตรเคลื่อนที่ ปีงบประมาณ 2565 ดังนี้ 1. ครั้งที่ 1 ไตมาสที่ 1 วันที่ 17 ธันวาคม 2564 อ าเภอยางสีสุราช จ านวน 360 ราย 2. ครั้งที่ 2 ไตมาสที่ 2 วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2565 อ าเภอพยัคฆภูมิสัย จ านวน 360 ราย 3. ครั้งที่ 3 ไตมาสที่ 3 วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 อ าเภอเมือง จ านวน 360 ราย 4. ครั้งที่ 4 ไตมาสที่ 4 วันที่ 29 กรกฎาคม 2565 อ าเภอวาปีปทุม จ านวน 360 ราย 3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดงานคลีนิคเกษตรเคลื่อนที่ ปีงบประมาณ 2565 จ านวน 4 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ ผู้รับบริการได้รับค าปรึกษา แนะน า และแก้ไขปัญหาด้านการสหกรณ์ 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 15 พลังทางสังคม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 42


สํานักงานสหกรณ์จังหวัดจัดงานคลีนิคเกษตรเคลื่อนที่ ปีงบประมาณ 2565 จํานวน 4 ครั้ง รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 43


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรมีการน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการบริหาร จัดการองค์กร และสมาชิก ท าให้สถาบันเกษตรกรนั้นเกิดความเข้มแข็ง และสามารถแก้ปัญหาความเดือดร้อนของ สมาชิกได้ สหกรณ์ที่ร่วมโครงการ 5 แห่ง ดังนี้ 1.สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุม จ ากัด 2.สหกรณ์การเกษตรเชียงยืน จ ากัด 3.สหกรณ์การเกษตรแกด า จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรพยัคฆภูมิพิสัย จ ากัด 2. ผลการดําเนินงาน : กิจกรรมที่ 1 คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เข้าร่วมโครงการ จ านวน 5 แห่ง กิจกรรมที่ 2 แนะน า ส่งเสริม สนับสนุนสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้น าแนวทางปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ทั้งในระดับองค์กรและสมาชิก และให้ ด าเนินกิจกรรมตามแผนการด าเนินกิจกรรมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมที่ 3 แนะน า ส่งเสริมและติดตามสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการขยายผลการน าหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ให้น าหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง กิจกรรมที่ 4 คัดเลือกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่ได้น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปประยุกต์ใช้และสามารถเป็นแบบอย่างได้ ตามแนวทางโครงการขับเคลื่อน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ที่กอง ประสานงานโครงการพระราชด าริก าหนด กิจกรรมที่ 5 รายงานผลการด าเนินงานตามแบบรายงานที่กองประสานงานโครงการ พระราชด าริก าหนด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ สมาชิกเข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ในการจัดท าบัญชี และการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจ พอเพียง จ านวน 50 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. สหกรณ์ 2 แห่ง คือ สหกรณ์การเกษตรแกด า จ ากัด และสหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด ที่ได้รับ คัดเลือกระดับจังหวัดมีสมาชิกมีการออมเพิ่มขึ้น สมาชิกที่เข้าร่วมโครงการมีการจดรายการรับ-จ่าย ของตนเอง ในแต่ละเดือน รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 44


2. สหกรณ์ 2 แห่ง มีโครงการที่สหกรณ์ได้ด าเนินการเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อช่วยเหลือทางด้าน เศรษฐกิจและสังคมแก่สมาชิก 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข สมาชิกไม่มีการจดรายรับ-รายจ่ายของตนเองอย่างต่อเนื่อง แนวทางแก้ไขได้เข้าไปแนะน าส่งเสริมการบันทึกบัญชีครัวเรือน กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ร่วมกับกลุ่มส่งเสริม สหกรณ์2 เข้าแนะนําการประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงให้กับสหกรณ์และสมาชิก สมาชิกสหกรณ์ฝึกปฏิบัติทําบัญชีครัวเรือน ลงรายรับ และรายจ่าย เพื่อให้รู้สถานภาพทางการเงินของตนเอง สมาชิกแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันในการ นําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจําวัน แนะนําสมาชิกในการจัดทําบัญชีครัวเรือน สมาชิกให้ความสนใจดีมาก รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 45


วัตถุประสงค์ 1. เพื่อลดภาระดอกเบี้ยและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร 2. เพื่อให้สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพการเกษตรมีโอกาสน าเงินส่วนที่ได้รับการ ช่วยเหลือไปฟื้นฟูประกอบอาชีพ ตลอดจนมีเงินทุนไว ผลงานตามตัวชี้วัด 1. สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรที่มีหนี้เงินกู้เพื่อการเกษตรได้รับการลดภาระดอกเบี้ย 5,392 ราย 2. จ านวนสมาชิกและกลุ่มเกษตรกรที่มีอัตราส่วนเงินออมของสมาชิกต่อหนี้สินของสมาชิกร้อยละ 62.00 กิจกรรมที่ดําเนินการ : 1. ตรวจสอบคุณสมบัติของสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรเปูาหมายให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ของ โครงการก่อนเบิกจ่ายเงินอุดหนุนให้แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร - จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์โครงการ 16 แห่ง - จ านวนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ 5,392 ราย 2. เบิกจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้แก่สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร เปูาหมายที่ผ่านการตรวจสอบ แล้ว - จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับเงินอุดหนุนเพื่อชดเชยดอกเบี้ยให้สมาชิก 16 แห่ง - จ านวนสมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับการลดภาระดอกเบี้ยจากเงินชดเชยแล้ว 5,392 ราย ผลลัพธ์ : จ านวนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่จ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ยให้กับสมาชิกและเป็นไปตาม วัตถุประสงค์ 16แห่ง 5,392 ราย รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 46


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อสนับสนุนให้ผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อสร้างรายได้ ได้เข้าถึงองค์ ความรู้ ปัจจัยการผลิต รวมถึงการสร้างอาชีพการเกษตรอย่างยั่งยืน ให้เกิดความมั่นคงในการประกอบอาชีพ การเกษตร 1.2 เพื่อให้สหกรณ์เป็นศูนย์กลางในสร้างอาชีพทางการเกษตรที่มั่นคงมีการสร้างงาน สร้างอาชีพเพิ่ม รายได้ให้แก่ชุมชน รวมทั้งสามารถยกระดับสหกรณ์อย่างแท้จริง เป าหมาย เกษตรกรในโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพการเกษตร จ านวน 39 ราย วิธีการดําเนินงาน คัดเลือกเกษตรกรในโครงการน าลูกหลานกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ปี 2565 เพื่อเข้ารับการ อบรมเพื่อพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพสร้างรายได้ 2. ผลการดําเนินงาน : 2.1 จัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการประกอบอาชีพตามความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ให้ความรู้ ค าแนะน า ในการประกอบอาชีพและการเข้าถึงช่องทางการตลาดใน วันที่ 17 - 18 มีนาคม 2565 2.2 ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสาขาที่สอดคล้องกับความจ าเป็นในการด าเนิน กิจกรรมด้านการเกษตรกับกลุ่มเปูาหมายโดยประสานการตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าการเกษตรจากศูนย์วิจัยและ พัฒนาการเกษตรมหาสารคาม 2.3 ติดตามเยี่ยมชมรวมทั้งแนะน าการด าเนินงานด้านการวางแผนการผลิตและการตลาดรายบุคคล จ านวน 9 คน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมีแผนการผลิตและแผนการตลาดจ านวน 9 ราย และมี รายได้จากการเกษตรเพิ่มขึ้น ภายหลังเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 60 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรตามโครงการสมัครเข้าเป็นสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จ านวน 13 ราย และสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อใช้ในการผลิต 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - โรคระบาดโควิด – 19 - คู่แข่งทางการตลาด แนวทางแก้ไข - จัดโปรโมชั่นสินค้า เพื่อดึงดูดลูกค้า - ประชาสัมพันธ์ รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 47


การจัดอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างทักษะในการประกอบอาชีพ ตามความต้องการของกลุ่มเป าหมาย รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 48


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : 1) เพื่อส่งเสริมการรวมกลุ่มประชาชนภายในพื้นเปูาหมายการจัดที่ดินท ากินให้ชุมชนในรูปแบบ สหกรณ์ 2) ส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดในรูปแบบเศรษฐกิจชุมชน ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้การใช้ระบบอนุรักษ์ดินและน้ าอย่างยั่งยืน 3) พัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความกินดี อยู่ดี มีสันติสุข และสร้างความเข้มแข็งในชุมชน 2. ผลการดําเนินงาน : ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมคณะท างานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินระดับจังหวัด (คทช. จังหวัด) เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็นเวทีในการติดตามผลการด าเนิน ก าหนดให้ด าเนินการจ านวน 4 ครั้ง ( ไตรมาสละ 1 ครั้ง) 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดจัดประชุมคณะท างานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้ คณะอนุกรรมการนโยบายที่ดินระดับจังหวัด (คทช. จังหวัด) เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็นเวทีในการติดตามผลการด าเนิน ก าหนดให้ด าเนินการจ านวน 4 ครั้ง ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ เกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่ท ากินของโครงการได้รับการส่งเสริมอาชีพ ท าให้มีความกินดีอยู่ดี มีความสุข มากขึ้น 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านที่ 4 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ประเด็นแผนแม่บท 16 เศรษฐกิจฐานราก รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 49


ประชุมคณะทํางานด้านการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและการตลาดภายใต้คณะอนุกรรมการ นโยบายที่ดินระดับจังหวัด (คทช. จังหวัด) เพื่อร่วมกันวางแผนการส่งเสริมพัฒนาอาชีพและ การตลาด ตามกรอบภารกิจ 6 ด้าน รวมทั้งเป็นเวทีในการติดตามผลการดําเนิน กําหนดให้ดําเนินการจํานวน 4 ครั้ง รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 50


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการตลาดสินค้าเกษตร เชื่อมโยงเครือข่ายสินค้า คลัสเตอร์ของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร เป าหมาย การประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ได้แก่ 1. สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด 2. สหกรณ์การเกษตรแกด า จ ากัด 3. สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด 4. สหกรณ์การเกษตรบรบือ จ ากัด 5. สหกรณ์การเกษตรนาดูน จ ากัด 6. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด 7. กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกยางกันทรวิชัย การประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ได้แก่ 1. ผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับการคัดเลือกจากการประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบ การบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 จ านวน 3 แห่ง 2. ผู้ที่คาดว่าจะเป็นคู่ค้า พื้นที่ดําเนินงานโครงการ จัดอบรม ณ ห้องประชุมส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม 2. ผลการดําเนินงาน : 2.1 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตการเกษตรระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 มีผล การด าเนินงาน ดังนี้ 1) จัดท าแผนบริหารจัดการสินค้าเกษตร (OPP) สถาบันละ 1 แผน รวมทั้งสิ้น 7 แผน 2) จัดท า catalog สินค้า จ านวน 11 catalog 3) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตร รวมถึง คัดเลือกสินค้าหลักที่มีศักยภาพพร้อมจ าหน่าย จ านวน 3 แห่ง (เพื่อเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 น าเสนอ สินค้าและผู้คาดว่าจะเป็นคู่ค้า แลกเปลี่ยนความต้องการสินค้าพร้อมเจรจาตกลงซื้อขายเบื้องต้นและร่วมวางแผน ขับเคลื่อนความร่วมมือในระยะเวลาต่อไป ให้ได้คู่ค้าอย่างน้อยแห่งละ 1 คู่ ) มีผลการคัดเลือก ดังนี้ - สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด ผลผลิตหลัก น้ านมโค - สหกรณ์การเกษตรบรบือ จ ากัด ผลผลิตหลัก ข้าว - สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ผลผลิตหลัก ข้าว รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 51


4) คัดเลือกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ระดับจังหวัด เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงเครือข่าย ด้านการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรคุณภาพ (ระดับประเทศ) โดยที่ประชุมได้คัดเลือก ผู้แทนจากสหกรณ์ ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด เป็นผู้แทนสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร จังหวัดมหาสารคาม เข้าร่วมประชุม 2.2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อให้สหกรณ์ 3 แห่ง น าเสนอสินค้าและผู้คาดว่าจะเป็นคู่ค้าแลกเปลี่ยนความต้องการสินค้า ซึ่งต้องคู่ ค้าอย่างน้อยแห่งละ 1 คู่ มีผลการด าเนินงาน ดังนี้ สหกรณ์ได้คู่ค้า จ านวน 8 คู่ ดังนี้ 1) สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ บริษัท คูโบต้า มหาสารคาม จ ากัด 2) สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด 3) สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุม จ ากัด 4) สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธกส. มหาสารคาม จ ากัด 5) สหกรณ์การเกษตรบรบือ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ บริษัท คูโบต้า มหาสารคาม จ ากัด 6) สหกรณ์การเกษตรบรบือ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธกส. มหาสารคาม จ ากัด 7) สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด เป็นคู่ค้ากับ บริษัท คูโบต้า มหาสารคาม จ ากัด 8) สหกรณ์การเกษตรบรบือ จ ากัดคู่ เป็นคู่ค้ากับ สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด ลูกค้า ธกส. มหาสารคาม จ ากัด 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาการบริการจัดการ ด้านการตลาด การเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ จ านวน 3 แห่ง - มีมูลค่าสินค้าเกษตรที่ซื้อขายผ่านช่องทางการตลาด 23.35 ล้านบาท ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเป็นองค์กรหลักในการบริหารจัดการสินค้าเกษตร - สมาชิกสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และเกษตรกรมีตลาดรองรับสินค้าเกษตร 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 52


การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวางระบบการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ระดับจังหวัด ครั้งที่ 2 รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 53


ผลการดําเนินงาน/โครงการตามนโยบายสําคัญ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ เพื่อช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรมีช่องทางในการจ าหน่ายผลผลิต เพื่อไม่ให้ผลไม้ราคา ตกต่ า และสามารถขายผลผลิตได้ในราคาเป็นธรรม สร้างเสถียรภาพด้านราคา เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ กระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรผู้ผลิตที่ได้รับความเดือดร้อนจากผลกระทบโรคไวรัสโควิด-19 สู่ ผู้บริโภค ได้แก่ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ส่วนราชการ และผู้บริโภคทั่วไปในจังหวัดมหาสารคาม 2. ผลการดําเนินงาน : ได้กระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรที่ได้รับความเดือดร้อนจากผลกระทบโรคไวรัสโควิด-19 จ านวน 3 ครั้ง รวมทั้งสิ้น 8.2 ตัน ดังนี้ 1. ส้มสายน้ าผึ้ง จากเกษตรกรอ าเภอบ้านฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 3 ตัน 2. เงาะ จากสหกรณ์การเกษตรบ่อไร่ จ ากัด จังหวัดตราด จ านวน 2.6 ตัน 3. มังคุด จากสหกรณ์การเกษตรบ่อไร่ จ ากัด จังหวัดตราด จ านวน 2.6 ตัน 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กระจายผลไม้ของสถาบันเกษตรกรผู้ผลิตที่ได้รับความเดือดร้อนจากผลกระทบโรคไวรัสโควิด-19 สู่ผู้บริโภค ได้แก่ สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร ส่วนราชการ และผู้บริโภคทั่วไปในจังหวัดมหาสารคาม รวมทั้งสิ้น 8.2 ตัน โดยแบ่งเป็น ส้มสายน้ าผึ้ง จ านวน 3 ตัน เงาะ จ านวน 2.6 ตัน และมังคุด จ านวน 2.6 ตัน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนให้กับเกษตรกรมีช่องทางในการจ าหน่ายผลผลิตลดปัญหาผลผลิตกระจุกตัว ในช่วงที่ออกมาพร้อมกัน และมีช่องทางในการระบายผลผลิตออกสู่ตลาดและถึงผู้บริโภคได้อย่างรวดเร็ว - สร้างเสถียรภาพด้านราคา ไม่ให้ผลไม้ราคาตกต่ า และเกษตรกรสามารถขายผลผลิตได้ในราคาเป็น ธรรม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 54


4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี - กระจายส้มสายน้ําผึ้ง จากเกษตรกรอําเภอบ้านฝาง จังหวัดเชียงใหม่ จํานวน 3 ตัน กระจายเงาะ จากสหกรณ์การเกษตรบ่อไร่ จํากัด จังหวัดตราด จํานวน 2.6 ตัน กระจายมังคุด จากสหกรณ์การเกษตรบ่อไร่ จํากัด จังหวัดตราด จํานวน 2.6 ตัน รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 55


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อสนับสนุนให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มท าการผลิต มีการรวมกลุ่มในการบริหารจัดการกลุ่มการ ผลิต การจ าหน่ายโดยมีตลาดรองรับที่แน่นอน 1.2 เพื่อให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนในการผลิต มีผลตอบแทนต่อหน่วยเพิ่มขึ้นและมีคุณภาพ ภายใต้การบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ - แปลงใหญ่ จ านวน 70 แปลง - ในระหว่างปีมีการขอยกเลิกแปลงใหญ่ ได้แก่ แปลงใหญ่อ้อยโรงงาน หมู่ที่ 4 , 5 , 9 บ้านโนนสูง , โนนสวรรค์ , โนนศรีสวัสดิ์ ต าบลเสือเฒ่า อ าเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ขอยกเลิกแปลง เนื่องจากการ ด าเนินงานของกลุ่มแปลงใหญ่ไม่ต่อเนื่องและไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงท าให้ขาดคุณสมบัติใน การด าเนินงานในระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ และทางส านักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ได้ ด าเนินการยกเลิกแปลงดังกล่าวออกจากระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จังหวัดมหาสารคาม เรียบร้อยแล้ว คงเหลือแปลงใหญ่ที่ต้องด าเนินงาน จ านวน 69 แปลง ดังนี้ 1. แปลงใหญ่ ปี 2562 จํานวน 4 แปลง ได้แก่ - แปลงใหญ่ข้าว จ านวน 4 แปลง 2. แปลงใหญ่ ปี 2563 จํานวน 65 แปลง ได้แก่ - แปลงใหญ่ข้าว จ านวน 51 แปลง - แปลงใหญ่ผัก / สมุนไพร จ านวน 8 แปลง - แปลงใหญ่มันส าปะหลัง จ านวน 3 แปลง - แปลงใหญ่อ้อย จ านวน 1 แปลง - แปลงใหญ่ข้าวโพด จ านวน 1 แปลง - แปลงใหญ่กล้วย จ านวน 1 แปลง 2. ผลการดําเนินงาน : ด าเนินการส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่จ านวน 69 แปลง โดยแยกเป็น 1. แปลงใหญ่ ปี 2562 จ านวน 4 แปลง 2. แปลงใหญ่ ปี 2563 จ านวน 65 แปลง ภารกิจที่ได้รับมอบหมาย (ในส่วนของกรมส่งเสริมสหกรณ์) 1. วิเคราะห์ ก าหนดเปูาหมาย ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อวางแผนปฏิบัติงาน ด้านการตลาดแปลงใหญ่ 2. สื่อสารท าความเข้าใจแผนปฏิบัติงานด้านการตลาดแปลงใหญ่ 3. ด าเนินการตามแผนปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 56


4. ร่วมอบรมถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกรแปลงใหญ่ ในด้านการสร้างเครือข่ายการผลิตสินค้า และเชื่อมโยงการตลาดสินค้าแปลงใหญ่ 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ - ด าเนินการจัดประชุมแนะน าการส่งเสริม แปลงใหญ่ จ านวน 69 แปลง ให้มีการบริหารจัดการการผลิต โดย ใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตและการเชื่อมโยงตลาด ผลผลิตการเกษตรแปลงใหญ่ ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ - คณะกรรมการและผู้น ากลุ่มแปลงใหญ่สามารถน าเอาความรู้ไปปรับใช้ในการบริหารจัดการกลุ่มได้เพิ่มมาก ขึ้น เกษตรกรแปลงใหญ่มีการบริหารจัดการการผลิต โดยใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตรสมัยใหม่ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิต และมีตลาดรองรับผลผลิตอย่างชัดเจนและสามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตจากกลุ่ม เกษตรแปลงใหญ่ 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- ร่วมประชุมสัมมนาเชื่อมโยงการด าเนินงานคณะกรรมการเครือข่าย ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต สินค้าเกษตร (ศพก.) และคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ ระดับจังหวัด ฯ ครั้งที่ 2/2565 ณ แปลงใหญ่พืชผัก หมู่ที่ 5 บ้านจอมศรี ตําบลชื่นชม อําเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 57


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ : วัตถุประสงค์ 1. สนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพาะที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมส่งเสริมสหกรณ์เพื่อให้มี เงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี ขยายเวลาออกไปอีก 3 ปี(30 เมษายน 2565- 31 มีนาคม 2568) 2. เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สามารถจัดหาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพ และราคายุติธรรม เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร 3. สร้างโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและสร้างความยั่งยืนใน การเพิ่มทุนภายใน เพื่อให้การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพและความเข้มแข็งต่อไป เป าหมาย สนับสนุนเงินทุนเป็นเงินกู้ยืมปลอดดอกเบี้ยให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ได้มาตรฐาน ที่มีความต้องการกู้เงินใช้ เป็นทุนหมุนเวียนของกลุ่มเกษตรกร จ านวน 21 กลุ่มเกษตรกร พื้นที่ดําเนินงานโครงการ ด าเนินงานในเขตท้องที่จังหวัดมหาสารคาม ทั้ง 13 อ าเภอ 2. ผลการดําเนินงาน : 1. ประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัดเพื่อก าหนดเปูาหมายและให้ความเห็นชอบ กรอบวงเงินให้กู้ 1 ครั้ง 2. เข้าร่วมประชุมกับกลุ่มเกษตรกร ในครั้งที่มีมติขอกู้เงิน รวบรวมเอกสารยื่นขอกู้เงินของกลุ่มเกษตรกร จ านวน 21 แห่ง 3. ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ระดับจังหวัด จ านวน 1 ครั้ง 4. เบิกจ่ายเงินกู้ให้กลุ่มเกษตรกร จ านวน 21แห่ง ต้นเงิน 7,870,000 บาท 5. ติดตามตรวจสอบการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 21 แห่ง ๆ ละ 2 ครั้ง 6. เร่งรัดหนี้เงินกู้ที่ครบก าหนดช าระจ านวน 2 แห่ง ต้นเงินกู้คงเหลือ 315,124.51 บาท ประกอบด้วย ลําดับที่ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ในการกู้ จํานวนเงินกู้ ที่เบิก หมายเหตุ 1 กลุ่มเกษตรกรท านาส าโรง ผลิตข้าวเปลือก 181,874.41 ฟูองด าเนินคดีมีค า พิพากษา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2565 2 กลุ่มเกษตรกรท านาบ้านน้ า เที่ยงพัฒนาก้าวหน้า ผลิตข้าวเปลือก 133,124.51 รวมทั้งสิ้น 315,124.51 รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 58


3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนปลอดดอกเบี้ยเพื่อให้บริการสมาชิก จ านวน 21 กลุ่มเกษตรกร วงเงิน 7,870,000 บาท ดังนี้ ลําดับที่ กลุ่มเกษตรกร วัตถุประสงค์ในการกู้ จํานวนเงินกู้ ที่เบิก 1 กลุ่มเกษตรกรท านาต าบลตลาด ผลิตข้าวเปลือก 120,000 2 กลุ่มเกษตรกรท านาแกด า ผลิตข้าวเปลือก 300,000 3 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองมะแปบ ผลิตข้าวเปลือก 200,000 4 กลุ่มเกษตรกรเลี้ยงสัตว์บ้านหัวงัว ผลิตข้าวเปลือก 200,000 5 กลุ่มเกษตรกรท านานาสีนวน ผลิตข้าวเปลือก 350,000 6 กลุ่มเกษตรกรท านากุดปลาดุก ผลิตข้าวเปลือก 400,000 7 กลุ่มเกษตรกรท านาสมศรี-หนองโก ผลิตข้าวเปลือก 400,000 8 กลุ่มเกษตรกรท านากู่ทอง ผลิตข้าวเปลือก 100,000 9 กลุ่มเกษตรกรท าไร่หนองเหล็ก ผลิตข้าวเปลือก 500,000 10 กลุ่มเกษตรกรท านาเสือโก้ก ผลิตข้าวเปลือก 400,000 11 กลุ่มเกษตรกรท านาขามปูอม ผลิตข้าวเปลือก 500,000 12 กลุ่มเกษตรกรท านายาง ผลิตข้าวเปลือก 500,000 13 กลุ่มเกษตรกรท านาโนนแดง ผลิตข้าวเปลือก 400,000 14 กลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์เกษตรผสมผสาน ต าบลหนองม่วง ผลิตข้าวเปลือก 400,000 15 กลุ่มเกษตรท านาหัวดง ผลิตข้าวเปลือก 300,000 16 กลุ่มเกษตรกรท านาแวงดง ผลิตข้าวเปลือก 300,000 17 กลุ่มเกษตรกรท านาเม็กด า ผลิตข้าวเปลือก 300,000 18 กลุ่มเกษตรกรท านาปอพาน ผลิตข้าวเปลือก 400,000 19 กลุ่มเกษตรกรท านาสันปุาตอง ผลิตข้าวเปลือก 500,000 20 กลุ่มเกษตรกรท านาหนองแดง ผลิตข้าวเปลือก 500,000 21 กลุ่มเกษตรกรท านาขามเรียน ผลิตข้าวเปลือก 500,000 รวมทั้งสิ้น 7,870,000 รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 59


ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนดอกเบี้ยต่ าในการประกอบอาชีพ (ผลิตข้าวเปลือก) ซึ่ง สามารถลดต้นทุนการผลิตและมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มี 1. วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในการด าเนินธุรกิจให้สมาชิกกู้ยืมในการประกอบอาชีพ หรือจัดหาสินค้ามาจ าหน่าย ให้สมาชิกสหกรณ์ หรือรวบรวมผลผลิตจากสมาชิกสหกรณ์ 2. เป าหมาย 1) สหกรณ์ทุกประเภท 2) มีทุนเรือนหุ้นไม่ต่ ากว่า 50,000 บาท 3) สหกรณ์ต้องมีวินัยทางการเงิน และไม่มีหนี้ค้างช าระต่อกรมส่งเสริมสหกรณ์ทุกเงินทุน 4) ไม่มีการทุจริต และไม่มีข้อบกพร่องทางการเงินและทางบัญชี ในกรณีที่สหกรณ์มีข้อบกพร่องหรือทุจริต ต้องได้รับการแก้ไขแล้ว 5) สหกรณ์ตั้งใหม่ไม่เกิน 1 ปี ให้กู้ได้ไม่เกิน 500,000 บาท 3. พื้นที่ดําเนินงานโครงการ สหกรณ์ทุกประเภทในจังหวัดมหาสารคาม ที่มีความสนใจและมีคุณสมบัติที่จะกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 4. ผลการดําเนินงาน : 4.1 จัดโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2564 ณ ห้องประชุม สํานักงานสหกรณ์สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ที่กู้ เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ทั้งสหกรณ์ที่กู้เงินรายเดิม และสหกรณ์ที่กู้เงินรายใหม่ 2. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. การจัดท าแผนธุรกิจสหกรณ การ จัดท าแผนงานหรือโครงการประกอบค าขอกู้เงิน กพส. การจัดท าเอกสารประกอบการขอกู้เงิน กพส. ตาม วัตถุประสงค์ของการขอกู้เงินและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการด าเนินงานของสหกรณ์ 3. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ เป าหมาย จ านวน 60 คน ประกอบด้วย 1. ประธานสหกรณ์ กรรมการสหกรณ์ ผู้จัดการสหกรณ์ เจ้าหน้าที่สหกรณ์ ภายในจังหวัดมหาสารคาม 2. ข้าราชการ พนักงานราชการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ สังกัดส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 60


พื้นที่ดําเนินงานโครงการ จังหวัดมหาสารคาม ผลลัพธ์เชิงปริมาณ มีผู้เข้าร่วมโครงการรวมทั้งสิ้น 60 คน โดยแยกเป็น ผู้แทนจากสหกรณ์ จ านวน 46 คน ข้าราชการ พนักงานราชการ เจ้าหน้าที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม จ านวน 14 คน ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1. จ านวนผู้เข้าร่วมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” คิดเป็นร้อยละ 100 2. บุคลากรของสหกรณ์มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนา สหกรณ์ หลักเกณฑ์การให้เงินกู้ กพส. สามารถจัดท าแผนธุรกิจสหกรณ์ แผนงาน/โครงการประกอบค าขอกู้ กพส. ท าเอกสารประกอบการขอกู้เงิน กพส. ในปี 2565 ได้ถูกต้อง ครบถ้วนมากขึ้น เพื่อน าเสนอ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ระดับกรม เป็นการเพิ่มโอกาสให้สหกรณ์ เข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มมากขึ้น รวมถึงส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามสามารถน าข้อเสนอแนะ ข้อคิดเห็นปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ จากสหกรณ์มาปรับปรุงการบริหารจัดการเงิน กพส. ให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น 5. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี- โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุน และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์” รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 61


4.2 การจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดมหาสารคาม ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ด าเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ระดับจังหวัด ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จ านวน 7 ครั้ง เพื่อพิจารณาค าขอกู้ตามวงเงินที่ได้รับจัดสรร จ านวน 46 สัญญา ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สามารถด าเนินการจัดประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุน พัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดมหาสารคามได้ตามแผนปฏิบัติงานที่ก าหนด ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ไม่มีปัญหาในการด าเนิน ภาพประกอบ การประชุมคณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัดมหาสารคาม 4.3 การเบิกจ่ายเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ต้นปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดมหาสารคามได้รับวงเงินจัดสรร จ านวน 56,100,000 บาท ขอเพิ่มวงเงินกู้ระหว่างปี 73,640,000 บาท และคืนวงเงิน 3,150,000 รวมเบิกจ่ายเงินกู้ทั้งปีรวมทั้งสิ้น 126,590,000 บาท โดยแยกเป็น โครงการปกติ วงเงินกู้จัดสรรต้นปี จ านวน 33,000,000 บาท จัดสรรเพิ่มระหว่างปี 19,050,000 บาท คืนวงเงิน 600,000 บาท รวมเบิกจ่ายเงินกู้ จ านวน 18 สัญญา รวมจ านวน 51,450,000 บาท รายละเอียดดังนี้ รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 62


ลําดับ สหกรณ์ที่ได้รับอนุมัติเงินกู้ กพส. วัตถุประสงค์ ต้นเงินกู้ 1 สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคาม จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 2 สหกรณ์การเกษตรแกด า จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 3 สหกรณ์การเกษตรนาเชือก จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 4 สหกรณ์การเกษตรศุภนิมิตมหาสารคาม จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 5 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต าบลนาข่า จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 1,500,000 7 สหกรณ์การเกษตรหนองเหล็ก จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 500,000 8 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าสถานีสูบน้ าด้วยไฟฟูาบ้านท่าเดื่อ-โชคชัย จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 300,000 9 สหกรณ์ผู้ใช้น้ าอ่างเก็บน้ าห้วยคะคาง จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 400,000 10 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด รวบรวมน้ านมดิบ 3,000,000 11 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมมหาสารคาม จ ากัด รวบรวมน้ านมดิบ 5,000,000 12 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 5,000,000 13 สหกรณ์การเกษตรพัฒนาอาชีพเวียงสะอาด จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,100,000 14 สหกรณ์การเกษตรแห่ใต้ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 350,000 15 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคกระบือต าบลหัวขวาง จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 500,000 16 สหกรณ์การเกษตรนาเชือก จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 5,000,000 17 สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุม จ ากัด ลงทุน 800,000 18 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 3,000,000 โครงการพิเศษ วงเงินกู้จัดสรรต้นปี จ านวน 23,100,000 บาท จัดสรรเพิ่มระหว่างปี 54,590,000 บาท คืนวงเงิน 2,550,000 บาท รวมเบิกจ่ายเงินกู้ จ านวน 11 โครงการ 28 สัญญา รวม จ านวน 75,140,000 บาท รายละเอียดดังนี้ ลําดับ สหกรณ์ที่ได้รับอนุมัติเงินกู้ กพส. วัตถุประสงค์ ต้นเงินกู้ 1.โครงการสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ ASPL สหกรณ์การเกษตรพยัคฆภูมิพิสัย จ ากัด รวบรวมผลผลิต 3,000,000 2.โครงการพัฒนาการผลิตน้ านมโคที่มีคุณภาพลดต้นทุนการผลิต สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด จัดหาโคสาวท้องทดแทน 4,400,000 3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพสมาชิกสหกรณ์นอกภาคการเกษตร 1 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต าบลนาข่า จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 300,000 2 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,500,000 4.โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อการพัฒนาอาชีพสมาชิก ปีที่ 3 1 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 63


2 สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคาม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 3 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคนมมหาสารคาม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 4 สหกรณ์การเกษตรกันทรวิชัย จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 5 สหกรณ์การเกษตรเชียงยืน จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 6 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,000,000 7 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,800,000 5.โครงการสนับสนุนเงินทุนสหกรณ์โครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน สานต่ออาชีพเกษตรกร ปี 2565 1 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 150,000 2 สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 100,000 6.โครงการสนับสนุนเงินกู้แก่สหกรณ์ที่ประสบสาธารณภัยอื่นๆ 1 สหกรณ์การเกษตรเชียงยืน จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 4,790,000 2 สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 20,000,000 7.โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมอาชีพในยุค New Normal ปี 2565 1 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,700,000 2 สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 3,000,000 3 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต าบลนาข่า จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 800,000 4 สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 2,800,000 8.โครงการจัดหาและปรับปรุงแหล่งน้ าของสมาชิกสหกรณ์ ปี 2565 1 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,550,000 2 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมมหาสารคาม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,500,000 3 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 1,500,000 4 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 3,450,000 5 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 3,500,000 9.โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ ปีที่ 2 สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 300,000 10.โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อส่งเสริมการจัดหาปุ๋ยบริการสมาชิกเพื่อลดต้นทุนการผลิต 1 สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัย จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3,000,000 2 สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย 3,000,000 11.โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อส่งเสริมการท าการเกษตรอัจฉริยะของสมาชิกสหกรณ์ สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคาม จ ากัด ให้สมาชิกกู้ 3,000,000 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ โครงการปกติ แผนการเบิกจ่าย จ านวน 33,000,000 บาท เบิกจ่ายเงินกู้จริง จ านวน 51,450,000 บาท สามารถเบิกจ่ายได้เกิน 100% เมื่อเทียบกับแผนการเบิกจ่าย รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 64


โครงการพิเศษ แผนการเบิกจ่าย จ านวน 23,100,000 บาท เบิกจ่ายเงินกู้จริง จ านวน 75,140,000 บาท สามารถเบิกจ่ายได้เกิน 100% เมื่อเทียบกับแผนการเบิกจ่าย ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี 4.4 การบริหารหนี้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ (ติดตามเร่งรัดหนี้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์) ผลลัพธ์เชิงปริมาณ / ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ 1) ติดตามเร่งรัดช าระหนี้ลูกหนี้สัญญาปกติ ยกมาจากปี 2564 เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 56,350,000.00 บาท ได้รับช าระหนี้รวมทั้งสิ้น จ านวน 56,350,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 2) ติดตามเร่งรัดช าระหนี้ลูกหนี้สัญญาปกติ ยกมาจากปี 2562 เป็นจ านวนเงินทั้งสิ้น 23,830,000.00 บาท ได้รับช าระหนี้รวมทั้งสิ้น จ านวน 23,830,000.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 100 3) ติดตามเร่งรัดหนี้ลูกหนี้ค้างช าระ/ ด าเนินคดี/ ลูกหนี้ตามค าพิพากษา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดมหาสารคาม มีลูกหนี้ด าเนินคดีและลูกหนี้ตามค า พิพากษา ของเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ยกมาจากปีก่อน จ านวน 4 สัญญา รวมเป็นเงินจ านวนทั้งสิ้น 4,925,846.05 บาท รับช าระหนี้ต้นเงินระหว่างปีรวม จ านวน 35,466.51 บาท ดอกเบี้ย 104,533.49 บาท คงเหลือต้นเงินยกไป 4,890,379.54 บาท ได้รับช าระหนี้ตามค าพิพากษาคิดเป็นร้อยละ 0.72 ของต้นทุนทรัพย์ ฟูองด าเนินคดี ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข ในขั้นตอนบังคับคดีและมีการสืบทรัพย์ลูกหนี้ตามค าพิพากษา ปรากฏว่าลูกหนี้ไม่มีทรัพย์ แนวทางแก้ไข ด าเนินการเจรจาไกล่เกลี่ยและประนีประนอมหนี้ ให้ลูกหนี้น าเงินมาช าระหนี้ ทั้งนี้ อาจจะเสนอเงื่อนไขให้ลูกหนี้ เช่น ช าระต้นเงินทั้งหมดโดยลดค่าปรับ ดอกเบี้ย แล้วแต่กรณี เป็นต้น 4.5 การติดตามผลการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ตามวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์เชิงปริมาณ ติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ รวม ทั้งสิ้นจ านวน 27 สัญญา แยกเป็น 1. วัตถุประสงค์ให้สมาชิกกู้ จ านวน 16 สัญญา 2. วัตถุประสงค์จัดหาสินค้ามาจ าหน่าย จ านวน 8 สัญญา 3. วัตถุประสงค์รวบรวมผลผลิต จ านวน 3 สัญญา ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ จากการด าเนินการตรวจติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 โดย ติดตามสัญญาเงินกู้ในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ปรากฏผลการติดตามโดยมีรายละเอียดดังนี้ วัตถุประสงค์ให้สมาชิกกู้จากการลงพื้นที่ตรวจติดตามการใช้เงินกู้ของสหกรณ์ที่กู้เงินในวัตถุประสงค์ ให้สมาชิกกู้ปี 2564 นั้น สหกรณ์น าเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ไปใช้ในแผนธุรกิจสินเชื่อเพื่อให้สมาชิกกู้ประกอบ อาชีพทางการเกษตรในอัตราดอกเบี้ยต่ าและอัตราดอกเบี้ยตามที่กองทุนพัฒนาสหกรณ์ก าหนดตามโครงการพิเศษ ดอกเบี้ยไม่เกินร้อยละ 3 เป็นการช่วยเหลือสมาชิกให้สามารถลดต้นทุนการผลิต สร้างรายได้ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 65


และช่วยแก้ปัญหาหนี้ค้างให้สมาชิกสหกรณ์ที่เป็นหนี้กับสหกรณ์โดยการให้เงินกู้ดอกเบี้ยต่ าเพื่อไปน าไปประกอบ อาชีพให้มีรายได้มาช าระหนี้สหกรณ์ โดยสมาชิกต้องเข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหาหนี้กับสหกรณ์เพื่อหาแนวทางใน การแก้ไขร่วมกัน มีการวางแผน และติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามได้สรุปภาพรวม ผลการด าเนินการจากการประกอบอาชีพของสมาชิกที่กู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ได้ดังนี้ สมาชิกที่น าเงินกู้ไปประกอบอาชีพท านา จ านวน 100 ราย พื้นที่ท าการเกษตรรวม 1,084 ไร่ มี ต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 1,195 บาท/ไร่ หลังจากเก็บเกี่ยวได้ผลผลิตเฉลี่ย 450 กิโลกรัม/ไร่ ราคาขายเฉลี่ย 10.50 บาท/กิโลกรัม สามารถจ าหน่ายได้มูลค่ารวม 5,202,000 บาท สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยจากการประกอบอาชีพท านา 4,799 บาท/ไร่ สมาชิกที่น าเงินกู้ไปประกอบอาชีพปลูกอ้อย จ านวน 35 ราย พื้นที่เพาะปลูกอ้อย 536 ไร่ ต้นทุน การผลิตเฉลี่ย 7,000 บาท/ไร่ หลังจากเก็บเกี่ยวได้ผลผลิตเฉลี่ย 10,000 กิโลกรัม/ไร่ (10 ตัน/ไร่) ราคาขายเฉลี่ย 850 บาท/ตัน สามารถจ าหน่ายได้มูลค่ารวม 4,556,000 บาท สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยจากการประกอบอาชีพปลูกอ้อย 8,500 บาท/ไร่ สมาชิกที่น าเงินกู้ไปประกอบอาชีพปลูกพืชระยสั้นหลายชนิด จ านวน 169 ราย พื้นที่เพาะปลูก รวม 1,165 ไร่ มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 6,782 บาท/ไร่ หลังจากเก็บเกี่ยวได้ผลผลิตเฉลี่ย 3,970 กิโลกรัม/ไร่ สามารถ จ าหน่ายได้มูลค่ารวม 19,057,700 บาท สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยจากการประกอบอาชีพท านา 16,358 บาท/ไร่ สมาชิกที่น าเงินกู้ไปประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ รวมจ านวน 102 ราย โคขุนจ านวน 192 ตัว มี ต้นทุนการเลี้ยงเฉลี่ย 34,153 บาท/ตัว ราคาขายเฉลี่ย 50,596 บาท/ตัว รวมมูลค่าจ าหน่าย 11,536,000 บาท สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยจากการประกอบอาชีพเลี้ยงโคขุน 113,098 บาท/ราย วัตถุประสงค์จัดหาสินค้ามาจําหน่าย จากการลงพื้นที่ตรวจติดตามการใช้เงินกู้ของสหกรณ์ที่กู้ เงินในวัตถุประสงค์จัดหาสินค้ามาจ าหน่ายนั้น สหกรณ์น าเงินกู้ไปใช้ในแผนธุรกิจเพื่อบริการสมาชิกและ บุคคลภายนอก โดยมีการจัดหา พันธุ์ข้าว รวมปริมาณ 195 ตัน มูลค่ารวม 2,140,000 บาท , จัดหาปุ๋ย รวม ปริมาณ 220 ตัน มูลค่ารวม 2,860,000 บาท โดยมีการจ าหน่ายให้สมาชิกคิดเป็นมูลค่ารวม 5,155,000 บาท, จัดหา น้ ามันเชื้อเพลิงรวมปริมาณ 480,000 ลิตร มูลค่ารวม 13,066,498.70 บาท , จัดหาฟางอัดก้อน มันเส้น รวมปริมาณ 350 ตัน มูลค่ารวม 5,000,000 บาท จ าหน่ายให้สมาชิกมูลค่ารวม 5,680,000 บาท, จัดหาโคขุนรวมปริมาณ 93 ตัว มูลค่ารวม 3,229,370 บาท จ าหน่ายให้สมาชิกรวม 3,370,500 บาท, จัดหาโคนมสาวท้องทดแทนรวมปริมาณ 76 ตัว มูลค่ารวม 4,400,000 บาท จ าหน่ายให้สมาชิกรวม 4,600,000 บาท วัตถุประสงค์รวบรวมผลผลิต จากการลงพื้นที่ตรวจติดตามการใช้เงินกู้ของสหกรณ์ที่กู้เงินใน วัตถุประสงค์รวบรวมผลผลิตนั้น สหกรณ์น าเงินกู้ไปใช้ในแผนธุรกิจเพื่อบริการสมาชิกและบุคคลภายนอก โดยมีการ รวบรวมมันส าปะหลัง ไม้ยูคาลิปตัส รวมปริมาณ 300 ตัน มูลค่ารวม 3,000,000 บาท, รวบรวมน้ านมดิบจาก สมาชิกสหกรณ์ รวมปริมาณ 575 ตัน มูลค่า 10,490,000 บาท ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงาน และแนวทางแก้ไข - ไม่มี รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 66


1. วัตถุประสงค์/เป าหมาย/พื้นที่ดําเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างโอกาสในการท าเกษตรกรรม และลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนน้ า 2. เพื่อส่งเสริมการจัดระบบไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ าในฟาร์มของตนเองลด การพึ่งพาน้ าจากระบบชลประทานและแหล่งน้ าธรรมชาติ 3. เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงจากระบบการท าเกษตรกรรมแบบพึ่งธรรมชาติ เป็นการเกษตรแบบ บริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากการขาดน้ า เป าหมาย 1. สมาชิกไม่น้อยกว่า 10,000 ราย สมัครใจเข้าร่วมโครงการ เป็นสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 350 แห่ง จ านวน 51 จังหวัด 2. ระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกกลุ่มเปูาหมาย มีน้ าใช้ในการท าการเกษตร และระบบน้ าสามารถมี น้ าใช้ได้ในระบบไร่นาจริง 3. สมาชิกในกลุ่มเปูาหมาย สามารถลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติในกรณีการขาดแคลนน้ าใช้เพื่อ การเกษตร หรือมีระบบน้ าใช้เพื่อเกษตรกรรม พื้นที่ดําเนินงานโครงการ ด าเนินงานเขตท้องที่จังหวัดมหาสารคาม 3 อ าเภอ ดังนี้ 1. สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จ ากัด ที่ตั้ง อ าเภอเมืองมหาสารคาม มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จ านวน 16 ราย พื้นที่ 80 ไร่ 2. สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคาม จ ากัด ที่ตั้ง อ าเภอเมืองมหาสารคาม มีสมาชิกเข้าร่วม โครงการ จ านวน 30 ราย พื้นที่ 361 ไร่ 3. สหกรณ์การเกษตรศรึชื่นชม จ ากัด ที่ตั้งอ าเภอ ชื่นชม มหาสารคาม มีสมาชิกเข้าร่วมโครงการ จ านวน 54 ราย พื้นที่ 653 ไร่ 2. ผลการดําเนินงาน : 1. เสนอโครงการ/ได้รับอนุมัติวงเงิน ครม. 2. เบิกจ่ายเงินจากกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร 3. ประชุมคณะกรรมการ ระดับกรม/จัดท าคู่มือ โอนเงินให้จังหวัด/ประชุมทางไกลชี้แจงจังหวัด 4. จังหวัดจัดประชุมชี้แจงโครงการ 5. ส ารวจพื้นที่ของสมาชิกที่เข้าร่วมโครงการ 6. จัดท าค าสั่งและเอกสารต่างๆ /ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้ ระดับจังหวัด 7. จังหวัดท าสัญญากู้ยืมเงินกับสหกรณ์/กลุ่ม สมาชิกเบิกจ่ายเงินจากสหกรณ์/กลุ่ม เพื่อน าไป ด าเนินการขุดสระ/เจาะบ่อบาดาลพร้อมอุปกรณ์ รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 67


8. จังหวัดติดตามการใช้เงินกู้ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ 9. สมาชิกใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ ามีรายได้เพิ่มจากอาชีพหลัก/สร้างรายได้เพิ่มจากอาชีพเสริม 10. จังหวัดเร่งรัดติดตามการส่งช าระหนี้คืน 11. การท าจุดพิกัด เจาะบาดาลหรือขุดสระของสมาชิกที่ด าเนินการเสร็จสิ้นแล้ว 3. ผลลัพธ์ : ผลลัพธ์เชิงปริมาณ กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนปลอดดอกเบี้ยเพื่อให้บริการสมาชิก จ านวน 3 สหกรณ์ วงเงิน 5,000,000.00 บาท รายละเอียด ดังนี้ ชื่อสหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกร วัตถุประสงค์ ในการกู้เงิน สัญญากู้ ลงวันที่ สัญญากู้ สิ้นสุดวันที่ ต้นเงินกู้ จํานวนเงิน กู้คงเหลือ 1. สหกรณ์ผู้เลี้ยงโค นมโคกก่อ จ ากัด ขุดสระและเจาะ น้ าบาดาล 12 ก.ย. 63 28 ก.พ.68 800,000 600,000 2. สหกรณ์การเกษตร เมืองมหาสารคาม จ ากัด ขุดสระและเจาะ น้ าบาดาล 12 ก.ย. 63 28 ก.พ.68 1,500,000 1,125,000 3. สหกรณ์ การเกษตรศรีชื่นชม จ ากัด ขุดสระและเจาะ น้ าบาดาล 19 ส.ค. 63 28 ก.พ.68 2,700,000 2,025,000 รวม 3,750,000 ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ สมาชิกมีแหล่งน้ าเสริมจากระบบน้ าในแปลงไร่ใช้และลดภาระหนี้สินที่เกิดความเสี่ยงจากการท าการเกษตร ตามระบบธรรมชาติ เป็นการเกษตรมีระบบจัดการน้ าจากระบบชลประทาน และแหล่งน้ าตามธรรมชาติและมี แหล่งน้ าเสริมจากระบบน้ าในแปลงไร่นาสมาชิกกลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนดอกเบี้ยต่ าในการประกอบอาชีพ สามารถลดต้นทุนการผลิตและมีรายได้เพิ่มขึ้น 4. ป ญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงานและแนวทางแก้ไข - รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 68


ประชุมพิจารณาเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ติดตามการใช้เงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ติดตามหนี้ค้างเงินกองทุนสงเคราะห์เกษตรกร รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 69


การติดตามการใช้เงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ของสหกรณ์ที่ขอกู้เงินในปี 2565 สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จํากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคาม จํากัด สหกรณ์การเกษตรศรีชื่นชม จํากัด ติดตามความก้าวหน้า ติดตั้งระบบน้ําในไร่นาของสมาชิกสาบันเกษตรกร ระยะที่ 2 รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 70


รางวัลที่หน่วยงานได้รับจากหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ภาคนอก ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามด าเนินการประเมินตนเองตามหลักเกณฑ์การประเมินชุมชน องค์กร อ าเภอคุณธรรม จังหวัดมหาสารคาม ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ภายใต้แผนแม่บทส่งเสริม คุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559 – 2565) เพื่อเป็นกระบวนการส าคัญที่น าไปสู่การส่งเสริม พัฒนา และ ยกระดับชุมชน องค์กร อ าเภอ และจังหวัดให้ดีขึ้น โดยได้รับการยกย่องให้เป็นชุมชน องค์กร อ าเภอ ระดับ ส่งเสริมคุณธรรม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 71


ส่วนที่ 3 รูปภาพกิจกรรม


วันที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคามร่วมกับหน่วยงานราชการและ ประชาชนในพื้นที่อ าเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม เข้าร่วมโครงการจิตอาสาพระราชทาน กิจกรรม “เราท า ความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” กิจกรรมก าจัดผักตบชวาวัชพืชในแหล่งน้ าสาธารณะ ณ ล าห้วยทราย บ้าน ส าโรงราษฎร์ หมู่ที่ 13 ต าบลส าโรง อ าเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 17 พฤศจิกายน 2564 นายทวีภัทร เหล่าบรรเทา สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม เข้าร่วมกิจกรรม ตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน จังหวัดมหาสารคาม โดยมีนายวิวัฒน์ อินทร์ไทยวงศ์ รองผู้ว่าราชการ จังหวัดมหาสารคาม ผู้อ านวยศูนย์อ านวยการจิตอาสาพระราชทาน จังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธีเปิด กิจกรรมจิตอาสา ประจ าเดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2564 “กิจกรรมท าความสะอาดรอบหนองสาธารณะหนอง หว้า และปลูกต้นไม้” หมู่ที่ 9 ต าบลชื่นชม อ าเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม และหัวหน้าส่วนราชการ ระดับ จังหวัดมหาสารคาม อ าเภอชื่นชม จิตอาสาพระราชทาน นักเรียน นักศึกษา ประชาชน เข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการจิตอาสาพระราชทาน จังหวัดมหาสารคาม กิจกรรมจิตอาสา รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 73


วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 สหกรณ์จังหวัดมหาสารคามพร้อมทีมงานกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 ร่วมกับหน่วยงานราชการและประชาชนในพื้นที่ อ าเภอยางสีสุราช เข้าร่วมโครงการจิตอาสาพระราชทาน กิจกรรมจิตอาสา “เราท าความดีเพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์” กิจกรรมก าจัดวัชพืชในแหล่งน้ าสาธารณะร่วมกับ หน่วยงานราชการและประชาชนในพื้นที่อ าเภอยางสีสุราช ณ หนองบัวชุม บ้านเหล่ามากค า หมู่ที่ 2 ต าบลนาภู อ าเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 74


วันที่ 17 มีนาคม 2565 สหกรณ์จังหวัดมหาสารคามพร้อมทีมงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 เข้าร่วมกิจกรรม จิตอาสาก าจัดวัชพืชและท าความสะอาด ณ บริเวณหนองน้ าสาธารณะหลังองค์การบริหารส่วนต าบลแก้งแก อ าเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม โดยมี นายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็น ประธานในพิธีเปิด รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 75


วันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 ร่วมกับหน่วยงานราชการและประชาชนในพื้นที่ อ าเภออพยัคฆภูมิพิสัย เข้าร่วมกิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ า เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา 70 ปี พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ หนองสะแก ต าบลปะหลาน อ าเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 เวลา 10:30 น. นายทวีภัทร เหล่าบรรเทา สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม มอบหมายให้กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาพัฒนา เนื่องในวันเฉลิมพระชนพรรษา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันเฉลิม พระชนมพรรษา 70 พรรษา โดยมีกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาศาสนสถาน ณ วัดราษฎร์สังคม ต าบลหนองซอน อ าเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 76


วันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2565 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 5 ร่วมกับหน่วยงานราชการและประชาชนในพื้นที่ อ าเภอนาเชือก เข้าร่วมกิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ าและปลูกต้นไม้ เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง ณ บริเวณหนองสิม ต าบลปอพาน อ าเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม วันที่ 17 สิงหาคม 2565 นายทวีภัทร เหล่าบรรเทา สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม พร้อมด้วยนางสาว กาญจนา ใหม่หล้า ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 และเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 ร่วมกิจกรรมจิต อาสา “เราท าความดีเพื่อ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์” กิจกรรมก าจัดวัชพืช ตามโครงการจิตอาสาพระราชทาน ประจ าเดือนสิงหาคม 2565 ณ สวนสาธารณะหนองบัว ต าบลโคกพระ อ าเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 77


วันที่ 14 กันยายน 2565 เวลา 09.00 น. นายทวีภัทร เหล่าบรรเทา สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม พร้อมด้วยนางสุพรรษา ดวงเพียราช ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 และเจ้าหน้าที่กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 เข้าร่วมโครงการจิตอาสาพระราชทาน จังหวัดมหาสารคาม ประจ าเดือนกันยายน 2565 กิจกรรม “เราท า ความดีเพื่อ ชาติ ศาสน์ กษัตริย์” เพื่อก าจัดวัชพืชและท าความสะอาดสันฝายแก่งเลิงจาน โดยมีนายเกียรติศักดิ์ ตรงศิริ ผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี ณ แก่งเลิงจาน ต าบลแก่งเลิงจาน อ าเภอมืองมหา สารคาม จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 78


วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 นายธัญญวัฒน์ชาญพินิจ รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม เป็น ประธานวางพานพุ่มถวายสักการะพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ พระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย เพื่อน้อมร าลึกถึงพระปรีชาสามารถ ที่ทรงมีคุณูปการต่อระบบสหกรณ์ ในประเทศไทย เนื่องในวันสหกรณ์ แห่งชาติ ประจ าปี 2565 กิจกรรมภายในงานส านักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมตั้งแต่ ช่วงเช้า ด้วยการท าบุญตักบาตร ข้าวสาร อาหารแห้ง พระสงฆ์จ านวน 26 รูป และมีพิธีมอบเกียรติบัตรให้แก่ สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีผลงานดีเด่น 9 ประเภท จ านวน 21 รางวัล 29 แห่ง ประกอบด้วย สหกรณ์ดีเด่น ระดับจังหวัด ประจ าปี 2564 มีจ านวน 2 แห่ง ได้แก่ 1. สหกรณ์ออมทรัพย์ครูมหาสารคามจ ากัด 2. สหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขมหาสารคามจ ากัด มีสหกรณ์ผ่านการประกวดโครงการผลงานการขับเคลื่อนปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัดประจ าปี 2564 คือ สหกรณ์การเกษตรกันทรวิชัย จ ากัด สหกรณ์ที่มีผลการกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์กรมส่งเสริมสหกรณ์ปี 2564 ดีเด่น ท าให้สหกรณ์เข้าถึง แหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ า เกิดประโยชน์ต่อสหกรณ์และสมาชิกสหกรณ์จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ผู้เลี้ยงโค นมโคกก่อจ ากัด และสหกรณ์ผู้เลี้ยง โคนมมหาสารคามจ ากัด สหกรณ์ที่มีผลการเบิกจ่ายเงินชดเชยดอกเบี้ย ให้แก่สมาชิกสหกรณ์ดีเด่น ตามโครงการช่วยเหลือด้านหนี้สินสมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรปีงบประมาณ 2565 จ านวน 3 แห่ง ได้แก่สหกรณ์การเกษตรกันทรวิชัยจ ากัด สหกรณ์การเกษตรโกสุมพิสัยจ ากัด สหกรณ์ การเกษตรนาเชือกจ ากัด รางวัลสมาชิกสหกรณ์ ที่มีรายได้สุทธิเฉลี่ยต่อราย โครงการสนับสนุนเงินทุนเพื่อสร้าง ระบบน้ าในไร่นาของสมาชิกสถาบันเกษตรกรระยะที่ 2 จ านวน 3 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อจ ากัด สหกรณ์การเกษตรสีที่ชมจ ากัด สหกรณ์การเกษตรเมืองมหาสารคามจ ากัด มีสหกรณ์เข้าร่วมโครงการสนับสนุน เงินทุนเพื่อแก้ปัญหาหนี้และฟื้นฟูอาชีพสมาชิกสหกรณ์ปี 2564 ท าให้สมาชิกที่เป็นหนี้ค้างสามารถเข้าถึงแหล่ง เงินทุนดอกเบี้ยต่ า เพื่อประกอบอาชีพจ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรเชียงยืนจ ากัด สหกรณ์ การเกษตรโกสุมพิสัยจ ากัด ส าหรับสหกรณ์การเกษตรที่มีการส่งเสริมอาชีพและการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิก ดีเด่นจ านวน 4 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์การเกษตรวาปีปทุมจ ากัดสหกรณ์การเกษตรเชียงยืนจ ากัดสหกรณ์ การเกษตรนาเชือกจ ากัด สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อจ ากัด ด้านสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนที่มีการส่งเสริมอาชีพ และการจัดสวัสดิการให้แก่สมาชิกดีเด่น จ านวน 2 แห่ง ได้แก่ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนหนองบัวแปะจ ากัด และ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนต าบลหวายจ ากัด นายทวีภัทร เหล่าบรรเทา สหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ได้อ่านสารของพลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีเนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ ประจ าปี 2565 ว่า “สหกรณ์เป็นกลไกส าคัญในการพัฒนาภาค การเกษตร และช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศให้เติบโตอย่างยั่งยืน ด้วยการสร้างความ เข้มแข็งระดับฐานราก ซึ่งเกิดจากการรวมกลุ่มของสมาชิกและเกษตรกร เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สามารถ สร้างอ านาจการต่อรอง น าไปสู่การขยายโอกาสทางเศรษฐกิจให้กับพี่น้องสมาชิกสหกรณ์ นอกจากนี้ ยังเป็น เครื่องมือส าคัญของรัฐบาลในการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาปัญหาให้แก่เกษตรกรและประชาชนได้รับ ผลกระทบจากสภาวะวิกฤตต่าง ๆ อีกด้วย รัฐบาลได้ให้ความส าคัญกับบทบาทของสหกรณ์ และส่งเสริม การ รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 78


ขับเคลื่อนการด าเนินการของสหกรณ์ให้มีความทันสมัยและสอดคล้องกับมาตรฐานสากลเสมอมา ด้วยการ พัฒนาโครงสร้างสหกรณ์ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง สนับสนุนการน าเทคโนโลยีดิจิทัล และนวัตกรรมมา ใช้ในการบริหารจัดการและการบริการ และพัฒนาทักษะบุคลากรให้มีความรอบรู้ ทั้งด้านการผลิต การตลาด และการบริหารธุรกิจ เพื่อยกระดับขีดความสามารถในการด าเนินงานของสหกรณ์ รวมทั้งส่งเสริมการสร้างผู้น า สหกรณ์รุ่นใหม่ให้มีบทบาทในการพัฒนาสหกรณ์ โดยสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และบูรณา การระหว่างเครือข่ายสหกรณ์ เพื่อให้สหกรณ์ด าเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พี่น้องเกษตรกรและสมาชิกมี ความมั่นคงในชีวิตและการประกอบอาชีพ มีความกินดีอยู่ดี และมีความสุขอย่างยั่งยืน รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 79


ร่วมประชุมหารือการขับเคลื่อนนโยบายพัฒนาสุขภาพคนชาวจังหวัดมหาสารคาม ณ สหกรณ์ผู้เลี้ยงโคนมโคกก่อ จํากัด อําเภอเมือง จังหวัด ร่วมประชุมในฐานะคณะทํางานขับเคลื่อนงานทางด้านการเกษตรระดับอําเภอ (Operation Team) ณ ห้องประชุมสํานักงานเกษตร อําเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 80


ร่วมประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนงานด้านการเกษตรระดับจังหวัดมหาสารคาม ครั้งที่1/2564 ณ ห้อง ประชุมพิรุณ1 สํานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ร่วมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระบรมราชานุเคราะห์ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ สนามกีฬาโรงเรียนบ้านหนองรูแข้ ตําบลหนองบัวสันตุ อําเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม ร่วมประชุมโครงการพัฒนาข้าวชาวนามหาสารคามเพื่อชาวมหาสารคาม ปี 2565 เพื่อหารือแนวทางพัฒนาเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ดี จําหน่ายให้แก่สมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่และ เกษตรผู้ปลูกข้าวให้สามารถผลิตข้าวที่มีคุณภาพออกสู่ท้องตลาดต่อไป ณ ห้องประชุมชั้น 2 สํานักงานใหญ่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 81


จัดประชุมคณะอนุกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่ม โดยสถาบันเกษตรกรระดับจังหวัด ปีการผลิต 2564 ณ ห้องประชุมพระพิรุณ 205 ชั้น 2 สํานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด จังหวัดมหาสารคาม ครั้งที่ 3/2565 ณ ห้องประชุมสํานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมประชุมคณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระดับจังหวัด (อ.พ.ก.) จังหวัดมหาสารคาม ครั้งที่ 1/2565 ณ ห้องประชุม 409 ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 82


ร่วมกิจกรรมวันหมอดินอาสา กรมพัฒนาที่ดิน ณ สํานักงานสถานีพัฒนาที่ดินจังหวัดมหาสารคาม ร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายและพัฒนาบุคลากรศูนย์ดํารงธรรมจังหวัดมหาสารคาม ณ ห้องประชุม โรงแรมสยามธาราพาเลส อําเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภา เดินทางศึกษาดูงานและเพื่อรับฟ งข้อมูลเกี่ยวกับ การขับเคลื่อนพื้นที่เกษตรแปลงใหญ่ผลิตข้าวอินทรีย์และแปลงใหญ่ปศุสัตว์แม่พันธุ์โคขุน ณ ศูนย์การเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 83


ร่วมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร และจัดนิทรรศการ ณ โรงเรียนเวียงสะอาดพิทยาคม ตําบลเวียงสะอาด อําเภอพยัคฆภูมิพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ร่วมประชุมการตรวจราชการและขับเคลื่อนแบบบูรณาการในระดับพื้นที่ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบที่ 1 (1 ตุลาคม - 31 มีนาคม 2565) ในเขตตรวจราชการที่ 12 (จังหวัดขอนแก่น กาฬสินธุ์ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด) ผ่านระบบออนไลน์สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ห้องประชุมพระพิรุณ 205 ชั้น 2 ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ร่วมโครงการวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ปี 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร หมู่ที่3 บ้านหนองเผือก ตําบลหนองทุ่ม อําเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 84


ร่วมพิธี “วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า” วางพานพุ่มดอกไม้ ถวายราชสักการะเนื่องใน ณ หอประชุมจังหวัดมหาสารคาม ร่วมประชุมคณะกรรมการนโยบายที่ดินจังหวัด (คทช.จังหวัด) ครั้งที่ 1 /2565 ณ ห้องประชุมดาดูน 4 ศาลากลางจังหวัดมหาสารคาม ร่วมประดิษฐ์ผีเสื้อเพื่อนําไปประดับในนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 ณ บริเวณลานโดมอเนกประสงค์วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 85


ร่วมประชุมคณะกรรมการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับจังหวัด ประจําปี 2565 ณ ห้องประชุมพิรุณ 1 สํานักงานเกษตรจังหวัดมหาสารคาม ร่วมกิจกรรมวันต้นไม้ประจําปีของชาติ พ.ศ. 2565 ณ ที่ทําเลเลี้ยงสัตว์โคกหนองสระพัง บ้านสองคอน ตําบลแพง อําเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม ร่วมโครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ ในพระราชานุเคราะห์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยาม มกุฎราชกุมาร ไตรมาสที่ 3 ปี 2565 ณ องค์การบริหารส่วนตําบลเขวา ตําบลเขวา อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 86


สํานักงานสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกับสหกรณ์การเกษตรเชียงยืน จํากัด เข้าร่วมโครงการปลูก ต้นไม้และปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก "รวมใจไทย ปลูก ต้นไม้ เพื่อแผ่นดิน" สืบสานสู่ 100 ล้านต้น ณ ศูนย์การตลาดสินค้าเกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สหกรณ์การเกษตรเชียงยืน จํากัด ตําบลเสือเฒ่า อําเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม ร่วมโครงการปกป องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และหน่วยบําบัดทุกข์บํารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม (จังหวัดเคลื่อนที่) และร่วมจัดนิทรรศการ ประจําเดือนมิถุนายน ณ โรงเรียนดอนสวรรค์หนองกงใต้วิทยา ตําบลกุดปลาดุก อําเภอชื่นชม จงหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 87


ร่วมงานเปิดเรือนจําสู่สังคม เรือนจําจังหวัดมหาสารคาม หลังสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 เป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมเข้าสู่การประกาศให้โรคโควิด-19 เป็นโรคประจําถิ่น ร่วมโครงการปกป องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และหน่วยบําบัดทุกข์บํารุงสุข สร้างรอยยิ้มให้ ประชาชนจังหวัดมหาสารคาม (จังหวัดเคลื่อนที่) ประจําเดือนกรกฎาคม 2565 ณ โรงเรียนกู่สันตรัตน์ ตําบลกู่สันตรัตน์ อําเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนพัฒนาสหกรณ์ระดับจังหวัด ครั้งที่ 6/2565 โดยพิจารณาคําขอกู้เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ 3 สัญญา จํานวนเงิน 9,000,000 บาท ณ ห้องประชุมสหกรณ์จังหวัดมหาสารคาม ตําบลตลาด อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 88


ร่วมโครงการมหาสารคามร้อยดวงใจปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระ บรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 90 พรรษา 12 สิงหาคม 2565 และเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 28 กรกฎาคม 2565 ณ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ร่วมพิธีถวายเครื่องราชสักการะ วางพานพุ่ม และพิธีจุดเทียนถวายพระพรชัยมงคล กิจกรรมเฉลิมพระ เกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2565 ณ หอประชุมจังหวัดมหาสารคาม อําเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม ร่วมกิจกรรมทดสอบตลาดโครงการส่งเสริมกระบวนการเครือข่ายองค์ความรู้kbo ระหว่างวันที่ 9-10 สิงหาคม 2565 ณ ศูนย์การค้าเสริมไทยคอมเพล็กซ์จังหวัดมหาสารคาม รายงานประจําปี (Annual Report) พ.ศ. 2565 | 89


Click to View FlipBook Version