The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aurai_2525, 2022-03-22 21:30:24

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

1

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การจำแนกความสัมพันธ์
ระหวา่ ง สิ่งมีชีวติ กับสง่ิ มีชีวติ โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E)
ของนักเรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนธดิ าแม่พระ อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ผกาพันธ์ุ ใจสมบูรณ์
พรพรรณ รัตนนพุ งษ์

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรียนธดิ าแม่พระ อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

2

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง การจำแนกความสัมพันธ์
ระหวา่ ง สิ่งมีชีวติ กับสง่ิ มีชีวติ โดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E)
ของนักเรยี นชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564
โรงเรียนธดิ าแม่พระ อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ผกาพนั ธ์ุ ใจสมบูรณ์
พรพรรณ รัตนนพุ งษ์

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรียนธดิ าแม่พระ อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี

3

กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานการการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีสำเร็จ
ลุล่วงได้ด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียนโรงเรียนธิดาแม่พระ คณะครูและนักเรียน โรงเรียนธิดาแม่พระ
อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ผู้รายงานขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง

ขอขอบคณุ คณะครู นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง
จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี ทใ่ี ห้ความร่วมมอื ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ในการพฒั นาการจดั การเรียนรใู้ นครัง้ นี้

คุณค่าและประโยชน์ของรายงานฉบับนี้ ผู้รายงานขอมอบเป็นเครื่องแสดงความ
กตัญญูต่อบิดา มารดา ที่ให้การศึกษา อบรมสั่งสอน ให้มีสติปัญญาและคุณธรรมทั้งหลาย อันเป็น
เครื่องมอื นำไปสู่ความสำเรจ็ ในชีวติ ของผ้รู ายงาน

ผู้วจิ ยั

4

ชือ่ เรอ่ื ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์
ชอื่ ผู้วิจยั ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนกั เรียน
ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัด
สุราษฎรธ์ านี

นางผกาพันธ์ุ ใจสมบรู ณ์ และ นางสาวพรพรรณ รัตนนุพงษ์

ปที วี่ จิ ัย 2564

บทคัดยอ่
การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) เพื่อกำหนดแบบ

ฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ เรอื่ ง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปที ี่ 5 ทีใ่ ช้ในการจัดการเรียนการสอนตามรปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 2)
เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ
สงิ่ มชี ีวิต ของนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ด้วยการจัดการเรียนรโู้ ดยใชก้ ระบวนการสบื เสาะหาความรู้
(5E) เสริมด้วยแบบฝึกทักษะการเรียนรู้ จำนวน 28 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1)
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีจัดการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) ว 15101
วิทยาศาสตร์ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
จำนวน 5 แผนการเรียนรู้ เวลา 10 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนวิทยาศาสตร์ชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5 เรื่องการจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ใช้แบบทดสอบปรนัย
ชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ 3) แบบวัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์แบบ Check list
จำนวน 8 รายการ ใช้แบบแผนการทดลองที่ประกอบด้วยกลุ่มทดลองกลุ่มเดียว มกี ารทดสอบกอ่ น การ
ทดลองและหลังการทดลอง วเิ คราะห์ข้อมูลโดยการหาคา่ เฉลี่ย ( X ) ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และ
ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test ผลการวจิ ัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้(5E) เร่ือง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 และสูงกวา่ เกณฑ์คะแนนเฉล่ียร้อยละ 70 2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลัง
จัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกบั สงิ่ มีชวี ติ มีการพฒั นาสงู ขนึ้

สารบญั 5

เรือ่ ง หน้า
บทท่ี 1 บทนำ
1
ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 3
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 3
สมมุตฐิ านในการวิจยั 3
ขอบเขตของการวจิ ยั 4
สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวิจัย 4
ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 4
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
6
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกย่ี วข้อง 15
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 19
เทคนคิ การสืบเสาะหาความรู้
งานวจิ ยั ท่เี กีย่ วข้อง 20
20
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนินการวจิ ยั 21
ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 23
เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการวิจัย 24
วิธกี ารสร้างและตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ 24
วธิ ีดำเนนิ การทดลอง
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 25
สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 25

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 27
สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู 28
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 28

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
สรปุ ผลการวจิ ัย
อภิปรายผล
ขอ้ เสนอแนะ

บรรณานกุ รม
ภาคผนวก

1

บทที่ 1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือ
ว่าผู้เรียนเป็นผู้มีความสำคัญท่ีสุดกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 24 กำหนดให้ครูจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับ
ความสนใจและความถนดั ของผเู้ รยี น โดยคำนงึ ถงึ ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน โดยการบรู ณา
การผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลและมีการฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ
จัดการ การเผชิญสถานการณ์ การฝึกปฏิบัติ ลงมือทำ และการประยุกต์ความรไู้ ปใช้และประสานความ
รว่ มมือกับผปู้ กครองและชมุ ชน เพอ่ื ร่วมกันพัฒนาผู้เรยี นตามศักยภาพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจ วางแผนการเรียนและประเมินผลการเรียนของตน แสดงออกอย่างอิสระเพ่ือ
สร้างสรรค์ผลงานท่ีมีคุณภาพ เรียนรู้จากสภาพจริง จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวและมีประสบการณ์ตรงท่ี
สัมพันธ์กับสังคม ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ท างานเป็นหมู่คณะเพื่อการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์
สามารถทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุขและสร้างสรรค์ ในการจัดการกิจกรรมการเรียนรู้โดยการใช้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้พัฒนาให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย ซ่ึงได้กำหนดให้การจัดการศึกษาตามหลักสูตรต้องเป็นไปเพ่ือพัฒนาคนไทย ให้เป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรมมีจริยธรรมและวัฒนธรรมแห่งความ
เป็นไทยในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พ.ศ. 2551 เป็นหลักสูตรท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดีมีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดความสามารถในการคิด เป็นหน่ึงในจุดมุ่งหมายเพ่ือให้เกิด
กับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คือมีความรู้ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
การใชเ้ ทคโนโลยีและมีทักษะชวี ิตและหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2551 ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ได้กำหนดคุณลักษณะของผู้เรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้กรอบความคิดในเรื่อง การ
พัฒนาการศึกษา เพื่อเตรียมคนในสังคมแห่งความรแู้ ละสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ
พ.ศ.2542 คือ ผู้เรียนควรสามารถนำความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้า
หาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผลคิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์และมี
จิตวิทยาศาสตร์ (กระทรวงศึกษาธิการ.2551) ประชาชนต้องได้รับการศึกษาด้านความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตรใ์ นโรงเรยี นเป็นอย่างดี รวมท้ังได้มโี อกาสศึกษาหาความรเู้ พิ่มเติมจากแหล่งการเรยี นรตู้ ่างๆ
นอกห้องเรียน ในปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ไม่ว่าจะเป็นระดับใดก็ตาม ครูผู้สอน
ยังคงให้ความสำคัญกับเนื้อหามากกว่ากระบวนการให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ ฝึกการคิดเป็น ทำเป็น
และแก้ปัญหาเป็น เน่ืองจากต้องเตรยี มนักเรียนให้มีความพร้อมทางด้านเน้ือหา เพื่อรองรับการประเมิน
มาตรฐานการเรียนรู้จากหน่วยงานต่างๆ ทำให้นักเรียนไม่สามารถนาความรู้ท่ีได้จากการเรียนไปใช้ใน
การประยุกต์แกป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจำวันของตนเองได้ ส่งผลให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตำ่ และ
ไม่เกิดความคงทนในการเรียนรู้ อีกทั้งการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในปัจจุบันครูไม่สามารถจัดการ

2

เรียนรู้ให้กับผู้เรียนได้ครบทุกมิติ อาจเน่ืองมาจากมีเน้ือหาท่ีหลักสูตร กำหนดให้สอนจำนวนมากใน
ขณะทม่ี ีปัจจัยจำกัดหลายอย่าง จึงอาจส่งผลให้นักเรียนทเ่ี รียนรู้ไดช้ ้าไม่เขา้ ใจและไม่เกิดการเรียนรใู้ นส่ิง
ท่คี รูจดั กิจกรรมการเรียนขึน้

ทั้งนี้เม่ือพิจารณ าระดับคะแนนจากผลสัมฤทธิ์ในวิชาวิทยาศาสตร์ในประเด็นของ
เน้ือหาสาระที่เกี่ยวกับเรื่องใกล้ตัวนักเรียน โรงเรียนธิดาแม่พระ พบว่ายังคงมีนักเรียนบางส่วนที่ยังไม่
เข้าใจเนื้อหาทางวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง ซ่ึงในความเป็นจริงแล้วเป็นเร่ืองท่ีใกล้ตัวและสัมผัสได้ใน
ชีวิตประจำวัน สะท้อนให้เห็นได้ถึงปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ท่ีผ่านมาซึ่ง
สอดคล้องกับ สุนีย์ เหมะประสิทธิ์ (2544) กล่าวว่าวิธีการสอนหรือกระบวนการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ในประเทศไทยยังมีปัญหาและยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควรจึงต้องมีการปรับเปลี่ยน
กระบวนการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ ประกอบกบั กระบวนการเรียนการสอนแบบเดิมไม่ไดเ้ น้นวธิ ีการ
เรียนรู้ของนักเรียน ครูส่วนใหญ่ยังสอนให้นักเรียนอ่านจากตำราจึงทำให้นักเรียนไม่สามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ดว้ ยตนเอง โดยยังสอดคล้องกับ ทรงวฒุ ิ สธุ าอรรถ (2544) กล่าวว่าครอู าจารย์รอ้ ยละ 47.2 มี
ความรู้และความเข้าใจเก่ียวกับกระบวนการเรียนการสอนท่ียึดผู้เรีย นเป็นศูนย์กลางในระดับต่ำถึงต่ำ
มากร้อยละ 46.1 ยังใช้วธิ ีสอนแบบเดิมคือเนน้ การสอนแบบบรรยาย เน้นการอ่าน ครเู ป็นศูนยก์ ลางและ
ให้นักเรียนท่องจำ ไม่ได้ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การคิดขั้นสูงวิธีการสอบวัดผลก็ไม่สอดคล้องกับ
วิธีการวัดผลตามสภาพจริง กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ปัจจุบันมีวิธีการที่หลากหลายเพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนสู่สมรรถนะสำคัญ ท้ังน้ีกระบวนการจัดการเรียนร้แู บบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry cycle)
หรือ 5E เป็นวธิ ีการจัดการเรยี นการสอนหน่งึ ท่ีเน้นผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางเพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนไดส้ ร้างองคค์ วามรู้
ด้วยตนเองผ่านการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เน้นการแก้ปัญหาเป็นโดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ที่คอย
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดและคิดหาคำตอบตลอดเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่
ผู้เรียน ผู้เรียนได้เรียนร่วมกันและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตัวของผู้เรียนเอง โดยอาจใช้ชุดกิจกรรม
แบบฝึกทักษะ หรือเกม ประกอบการจัดการเรียนรู้ ซ่ึงมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้เรียนเข้าใจเน้ือหาบทเรียน
มากขึ้นและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ จากการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการดังกล่าวส่งผลให้
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนดีข้ึนดังในงานศึกษาของ สุดารัตน์ ดวงเงิน และนิวัฒน์ ศรีสวัสดิ์
(2554) ผลการศึกษาพบว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปฏิบัติการทดลองวิทยาศาสตร์สืบเสาะแบบเปิด
สนับสนุนให้นักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องสมบัติและปฏิกิริยาของสารละลายกรดเบส
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นปีที่ 1 สูงข้ึน เช่นเดียวกับการศึกษาของ ธัชวุฒิ กงประโคน
และ จิรดาวรรณ หันตุลา (2558) ได้นำใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ที่เน้นบ่งช้ีธรรมชาติของ
วิทยาศาสตร์และประวัติวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 พบว่าหลังจากผ่านการจัด
กิจกรรม นักเรียนทุกคนมีความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ทั้ง 9 ด้าน ตามกรอบของ McComas
(2004) และมีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 5 ด้านอยู่ในระดับมาก จากเนื้อหาข้างต้น ผู้วิจัยมีความตระหนัก
ถึงความสำคัญและมีความสนใจที่จะประยุกต์ใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E)
กับวิชาวทิ ยาศาสตร์

โดยในการศึกษาครั้งนี้ได้นำวิธีการดังกล่าวมาใช้จัดการเรียนการสอนกับนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ืองการจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยคาดหวังว่าผลจาก
การดำเนนิ การทำวิจยั ครั้งน้ีสามารถนำไปเป็นแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรียนรเู้ พือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนให้แก่ผู้ที่สนใจและสามารถนำไปพัฒนาประยุกต์กับกลุ่มสาระอ่ืนๆ เพ่ือการปรับปรุง

3

พัฒนาการบริหารงานวิชาการ ให้เอื้ออำนวยต่อการจัดการเรียนการสอน อันจะเป็นประโยชน์ในการ
จดั การเรยี นการสอนใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากยง่ิ ข้ึนตอ่ ไป

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1. เพ่ือกำหนดแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ
ส่ิงมีชีวิต ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 ที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการ
สอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E)
2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง
ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เสริมด้วยแบบฝึกทักษะการเรยี นรู้

สมมตุ ิฐานการวิจยั
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ

สิ่งมีชีวิต ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหา
ความรู้ (5E) ผา่ นแบบฝกึ ทกั ษะการเรียนรสู้ งู กวา่ ก่อนไดร้ บั การจัดการเรยี นร้หู รือไม่

ขอบเขตการวจิ ัย
ประชากร
ประชากร ที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอ

เมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาคเรยี นที่ 1-2 ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 182 คน

กล่มุ ตัวอยา่ ง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนธิดาแม่พระ
อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ภาคเรียนท่ี 1-2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 28 คน การศกึ ษาคร้ังนใ้ี ช้
วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (ClusterRandomSampling) ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

เนอ้ื หาทีใ่ ช้ในการวจิ ัย
เน้ือหาการเรียนการสอนที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีเป็นเนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 (ว15101) วิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ
สงิ่ มีชวี ิต

4

สถิติทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล
การหาค่าเฉลย่ี (Mean) (ดาวเรอื ง รอดเกตุ .2554)
สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
การหาคา่ เฉลย่ี (Mean)

สตู ร

เมอ่ื คอื คา่ เฉล่ยี ของคะแนน
n
คอื ผลรวมของคะแนนทง้ั หมด
คอื จำนวนนักเรียนทงั้ หมด

การหาผลต่างของคะแนนในการสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

สูตร คอื ผลรวมของผลต่างของคะแนนในการสอบก่อนเรียน
เม่ือ
และหลงั เรยี น
คอื จำนวนค่ขู องคะแนน
n

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ
1. ได้แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ท่ีใช้รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5 E) ที่
เหมาะสม
2. ไดแ้ นวทางการจัดการเรียนการสอนทีส่ ามารถพัฒนาความสามารถและผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
ของนักเรยี นของนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 5
3. เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในการช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ผ่านการ
จดั การเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั
4. เป็นประโยชน์ต่อผู้สอนสำหรับการเป็นทางเลือกในการจัดการกระบวนการเรียนรู้วิชา
วิทยาศาสตร์

นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หมายถึง คะแนนท่ีได้จากการตอบแบบทดสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้เร่ืองการจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนโดยคลอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระการ
เรียนรู้และจุดประสงค์การเรยี นรู้และครอบคลุมพฤติกรรมความร้คู วามคิด กระบวนการเรียนรู้
เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์
2. แบบฝึกทักษะ หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนที่สร้างขึ้นเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง
จนเกิดความรู้ความเข้าใจเพิม่ ข้ึน โดยท่ีกจิ กรรมทไ่ี ด้ปฏบิ ัติในแบบฝึกนั้น จะครอบคลมุ เน้อื หาท่ี

5

ได้เรียนไปแล้ว จะทำให้นักเรียนมีความรู้ และมีทักษะมากขึ้น เพราะมีรูปแบบที่หลากหลาย
แบบฝึกทักษะมีความจำเป็นต่อการเรียนอย่างยิ่ง ซ่ึงครูผู้สอนสามารถผลิตขึ้นมาใช้เอง นับว่า
แบบฝึกเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญอย่างยิ่งในการเรยี นการสอน เพื่อฝึกทักษะหลังจากได้เรยี นเน้ือหา
จากแบบเรียนที่เรียนไปแล้ว ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนมีความแม่นยำและเกิดความชำนาญเพิ่มมาก
ข้ึน ทำให้ผู้เรยี นทราบข้อบกพร่องของตนเอง และนำมาปรับปรุงแกไ้ ขนักเรียนให้ได้ความรู้และ
ทกั ษะมากข้นึ
3. การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) หมายถึง กิจกรรมการเรียนรู้ท่ี
ผู้เรียนได้พัฒนาหรือจัดโครงสร้างทางความคิดขึ้นจากสิ่งที่ได้พบเห็นจากสถานการณ์หรือจาก
ปัญหาและสามารถเชื่อมโยงกับความรู้ความเข้าใจเดิมที่มีอยู่แล้วมาสร้างเป็นความรู้ใหม่ด้วย
ตนเองโดยทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายผ่านการเรียนรู้จากกิจกรรมการเรียนรู้ 5
ข้ันตอนคือ

1. ขั้นสร้างความสนใจ
2. ขน้ั สำรวจและค้นหา
3. ข้ันอธิบายและลงข้อสรปุ
4. ขั้นขยายความรู้
5. ขนั้ ประเมนิ ผล
4. นกั เรียน หมายถึง นักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 5 โรงเรยี นธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี ในภาคเรียนที่ 1-2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 28 คน

6

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ ง

ในการดำเนินการวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ครั้งนี้
ผวู้ ิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วขอ้ งดงั นี้

1. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวิทยาศาสตร์
2. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
3. เทคนิคการสบื เสาะหาความรู้ (5E)
4. งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง

ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
การจัดการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรอ์ ย่างมีประสทิ ธิภาพน้ันจำเป็นตอ้ งจัดให้เปน็ ระบบ โดยมี

การจัดองค์ประกอบของการเรียนรู้ให้มีความสัมพันธ์กัน เพื่อสะดวกต่อการนำไปสู่จุดมุ่งหมาย ของการ
เรียนรู้ท่ีกำหนดไว้เรียกว่า ระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีลักษณะทั่วไปเช่นเดียวกับระบบ การ
ทำงานอ่ืนๆ คือมีองค์ประกอบท่ีสำคัญ 5 ประการดงั นี้ (ภพ เลาหไพบูลย์, 2535)

1. ตัวป้อน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบ ได้แก่ ข้อมูลเก่ียวกับครู นักเรียน หลักสูตร กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เนื้อหาความรู้วิทยาศาสตร์ หนังสือเรียน คู่มือครู วัสดุอุปกรณ์ ส่ือ การ
สอน แหลง่ วชิ าการและสงิ่ อำนวยความสะดวกต่างๆ

2. กระบวนการ หมายถึง กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ได้แก่ การปฏิบัติ กิจกรรม
การเรียนของนักเรียน บทบาทและกจิ กรรมของครู

3. การควบคุม หมายถึง สิ่งท่ีช่วยประสิทธิภาพทางการเรียนได้แก่ การใช้คำถามชนิด ต่างๆ
การสร้างเสรมิ กำลังใจ การตรวจสอบความรู้ของนักเรียนในขณะท่กี าลงั เรยี น การประเมินผล ก่อนท่ีจะ
สน้ิ สุดการสอน

4. ผลผลิต หมายถึง ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ทกั ษะและเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรยี นอนั เปน็ ผลมาจากกระบวนการเรยี นการสอน

5. ขอ้ มูลป้อนกลับ หมายถึง การวิเคราะห์ข้อมูลหลังจากสอนไปแล้ว เพื่อตรวจสอบ พฤติกรรม
ด้านต่างๆ ของนักเรียนว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ ถ้าหากว่าไม่เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ก็ต้อง
ย้อนกลับไปพิจารณาปรับปรุงองค์ประกอบและข้ันตอนของระบบการเรียนการ สอนวิทยาศาสตร์ให้มี
ประสทิ ธิภาพมากยงิ่ ข้ึน

7

จากองค์ประกอบดังกล่าวนี้สามารถนำมาจัดระบบการเรียนการสอนอย่างเป็นข้ันตอน เพื่อให้
นักเรียนสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ได้หลายรูปแบบ ท้ังนี้ได้มี นัก
การศึกษาหลายทา่ นได้เสนอองคป์ ระกอบสำคญั ของรปู แบบการสอนไว้ ซง่ึ สรุปไดด้ ังนี้

1. เนอ้ื หาและจุดประสงค์การเรยี นการสอน
2. ประเมนิ พฤติกรรมนักเรียนก่อนการเรียน
3. จัดกระบวนการเรยี นรู้
4. การวัดและประเมนิ ผลการศึกษา
5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลปอ้ นกลบั
การจัดระบบการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สามารถจัดได้หลายรูปแบบเช่นกัน โดยทุกรูปแบบจะ มี
จุดมุ่งหมายร่วมกันคือ มุ่งหวังให้มีการเตรียมการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังน้ีเนื่องจากการ
จั ด ระบ บ กา รเรี ย น การส อน วิ ท ย าศา ส ต ร์ จ ะช่ วย ให้ ค รูมี ค ว าม เข้าใจ คว าม เกี่ย วเน่ื อ งสั ม พั น ธ์ ขอ ง
องค์ประกอบการเรียนการสอนโดยตลอด จึงทำให้รวู้ ิธกี ารจดั ประสบการณ์การเรยี นรใู้ ห้กับ นักเรยี น ได้
อย่างเหมาะสมตามความสามารถในลักษณะต่างๆ จึงส่งผลให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง
สามารถชว่ ยเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนกั เรียนได้งา่ ยขึน้ โดยเฉพาะด้าน ผลสัมฤทธ์ิ ทางการ
เรียนจากการเรียนท่ีเป็นระบบจะส่งเสริมให้นักเรียนเข้าใจในวัตถุประสงค์และขอบเขต เน้ือหาของการ
เรียน ได้รับรู้พัฒนาการของการเรียนรู้ของตนเอง จึงทำให้กระตือรือร้นท่ีปรับปรุง ตนเองตลอดเวลา
นักเรียนจึงมีความสนใจในการเรียนมากข้ึนส่งผลต่อการพัฒนาการเรียนของนักเรียน ช่วยให้นักเรียนมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขน้ึ ซึง่ นักการศึกษาได้ใหค้ วามหมายของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนไว้ดงั นี้
บุญชม ศรีสะอาด (2543) คือ ความรู้ ความสามารถของบุคคลในด้านวิชาการซึ่งเป็นผล จาก
การเรยี นรู้ในเนอ้ื หาสาระตามจดุ ประสงค์ของวชิ า
ภพ เลาหไพบรู ย์ (2537) คือ พฤติกรรมทแ่ี สดงออกถงึ ความสามารถในการกระทำส่ิง หน่งึ สง่ิ ใด
ได้จากที่ไม่เคยกระทำได้หรือกระทำได้น้อยก่อนท่ีจะมีการเรียนการสอนซ่ึงเป็นพฤติกรรมที่ สามารถวัด
ได้
แครอล (Carol, 1963 อ้างถึงใน ภพ เลาหไพบูลย์, 2537) คือความสำเร็จในการเรียนรู้ อัน
เนื่องมาจากความถนัดทางการเรียนความสามารถส่วนตัวที่จะเข้าใจการสอนของครูความพยายาม ใน
การเรียนและเวลาท่ใี ช้ในการเรยี นของนกั เรียน
โดยสรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสำเร็จที่ได้จาก กระบวนการ
เรียนและเปล่ียนพฤติกรรมท้ังด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัยและด้านทักษะพิสัย ส่วนประเภทของ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์นั้นนักการศึกษาได้จำแนกไว้ตามลักษณะของ วัตถุประสงค์การ
เรยี นรทู้ แ่ี ตกต่างกันไปดงั น้ี
บลูม (Bloom, 1965 อ้างถึงใน ภพ เลาหไพบูลย์, 2537) ได้จำแนกวัตถุประสงค์ทางการ เรียน
เพ่ือใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 3 ด้านคือ

8

1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ มุ่งพัฒนาการเรียนรู้เกี่ยวกับความสามารถ ทาง
สมองหรือสติปัญญา ดา้ นความรู้ ความเข้าใจการนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะหแ์ ละ การประเมิน
คา่

2. ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) คือ มุ่งพัฒนาคุณลักษณะด้านจิตใจหรือความรู้สึก
เก่ียวกับความสนใจ เจตคติและการปรบั ตวั

3. ดา้ นทักษะพสิ ัย (Psychomotor Domain) คือ มงุ่ พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่าง ร่างกายและ
สมองท่ีมคี วามสามารถในการปฏบิ ตั ิจนมีทักษะ มคี วามชำนาญในการดำเนนิ งานตา่ งๆ

ในการจัดการเรียนรู้มีการกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการ
เรียนท้ังด้านพุทธพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย ดังน้ันในการท่ีจะตรวจสอบว่า นักเรียนมี
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนมากน้อยเพยี งใดจึงจ าเป็นต้องมกี ารวัดผลสมั ฤทธ์ิซึ่งในแต่ละด้านจะ มีวธิ กี ารวัด
ที่แตกตา่ งกนั ไป

การวิจัยคร้ังผู้วิจัยนี้ได้มุ่งเน้นเฉพาะการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ด้าน ความรู้
ความคิด กระบวนการเรียนรู้และเจตคติทางวิทยาศาสตร์หรือเรียกว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
วิทยาศาสตร์ด้านวชิ าการซึ่งมรี ายละเอียดดังน้ี

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ด้านวิชาการในการวัดผลสัมฤทธ์ิด้านนี้มุ่งวัด พฤติกรรมที่
เกิดจากความสามารถทางสมองหรือด้านสติปัญญาของนักเรียน เมื่อผ่านประบวนการ เรียนรู้แล้ว ตาม
หลักของคลอฟเฟอร์ (Klopfer, n.d. อ้างถึงใน ภพ เลาหไพบูลย์, 2537) มุ่งเน้นการ วัดพฤติกรรม 4
ด้านคือ

1. พฤติกรรมด้านความรู้ หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงว่านักเรียนมีความจำเป็นเรื่องต่างๆ ท่ี
ได้รับจากการค้นคว้าดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ จากการอ่านหนงั สอื และการฟงั คำบรรยาย เป็น
ตน้ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์แบ่งเป็น 9 ประเภทคอื

1.1 ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจรงิ เป็นความจริง เป็นความจริงเฉพาะท่ีเล็กที่สุดของ ความรู้ซ่ึง
มีอยแู่ ล้วในธรรมชาติ สามารถสังเกตเหน็ ไดโ้ ดยตรงและทดสอบซ้ำแล้วได้ผลเหมอื นเดิมทุกครง้ั

1.2 ความรู้เก่ียวกับคำศัพท์ทางวิทยาศาสตร์ ที่เป็นศัพท์เฉพาะทางวิทยาศาสตร์ คำนาม
ศพั ท์และการใช้คำศัพท์ทีถ่ ูกตอ้ ง

1.3 ความรู้เกี่ยวกับมโนมติทางวิทยาศาสตร์ หรือความคิดรวบยอด คือการนำความจริง
เฉพาะหลายข้อที่มคี วามเก่ยี วขอ้ งกนั มาผสมผสานกันเป็นรูปใหม่

1.4 ความรู้เก่ียวกับข้อตกลง หมายถึง ข้อตกลงร่วมกันของนักวิทยาศาสตร์ในการใช้ อักษร
ยอ่ สญั ลักษณ์ และเครอื่ งหมายตา่ งๆ แทนคำพดู เฉพาะ

1.5 ความรู้เก่ียวกับแนวโน้มและลำดับขั้นตอน ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่างมีการ
หมุนเวียนเป็นวัฏจักร เป็นวงจรชีวิต ซ่ึงทำให้สามารถบอกลำดับข้ันตอนของปรากฏการณ์ต่างๆ ได้
ถกู ตอ้ งหรอื ในการทำการทดลองวทิ ยาศาสตร์ก็จะลำดบั ขน้ั ตอนเช่นกัน

9

1.6 ความรู้เกีย่ วกับการจำแนกประเภท จัดประเภทและเกณฑ์ในการแบ่งส่ิงต่างๆ ออกเป็น
ประเภทนั้นต้องมีเกณฑ์เป็นมาตรฐานในการแบ่ง ผู้เรียนต้องบอกหมวดหมู่ของส่ิงของหรือ
ปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ตามท่ีนักวิทยาศาสตร์กำหนดไว้และสามารถจำลักษณะหรือคุณสมบัติซ่ึงใช้เป็น
เกณฑ์ได้

1.7 ความรเู้ กี่ยวกับเทคนิคและกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร์ เน้นเฉพาะความสามารถ ท่ีผู้เรียน
ได้เรียนรู้เท่าน้ัน เป็นความรู้ท่ีได้รับมาจากการบอกเล่าของครูหรือจากการอ่านหนังสือไม่ใช่ ความรู้ท่ี
ไดม้ าจากกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้

1.8 ความรู้เก่ียวกับหลักการและกฎวิทยาศาสตร์ หลักการ เป็นความจริงท่ีใช้เป็นหลัก
อา้ งองิ ไดจ้ ากการนำมโนมตหิ ลายอันท่ีมีความเกี่ยวข้องกันมาผสมผสานกันเป็นรูปใหมเ่ ป็นหลักการ ทาง
วทิ ยาศาสตร์ สว่ นกฎวิทยาศาสตร์ คอื หลกั การทเี่ นน้ ในเร่ืองความสมั พันธ์ระหว่างเหตผุ ลกับผล ซึ่งนบั ว่า
เป็นขอ้ สรุปทไ่ี มซ่ ับซ้อนมากนัก

1.9 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ข้อความที่ใช้อธิบายและ พยากรณ์
การณ์ต่างๆ เป็นแนวคดิ หลกั ทใ่ี ช้อธิบายไดอ้ ย่างกวา้ งขวางในวิชาน้ันๆ

2. พฤติกรรมด้านความเข้าใจ หมายถึง พฤติกรรมที่นักเรียนใช้ความคิดที่สูงกว่าความรู้
ความจำ ซ่ึงแบ่งเป็น 2 ประเภทดงั นี้

2.1 ความเข้าใจข้อเท็จจริง วิธีการ กฎเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่างๆ คือ สามารถ
บรรยายในรปู แบบใหม่ที่แตกต่างจากรปู แบบท่ีเคยเรียนมา

2.2 การแปลความหมายของความรู้ในรูปของสัญลักษณ์หนึ่งไปเป็นรูปของอีก สัญลักษณ์
หน่ึง มีความเข้าใจเกี่ยวกับแปลความหมายของข้อเท็จจริง ค าศัพท์ มโนมติ หลักการ และทฤษฎี ท่ีอยู่
ในรปู ของสัญลักษณห์ นึง่ ไปเปน็ รูปของสัญลักษณ์อนื่ ได้

3. พฤติกรรมด้านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง พฤติกรรมท่ีนักเรียนแสวงหา
ความรู้และแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงการดำเนินการต้องอาศัยวิธีการทาง
วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science Process skill) และ
เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude) (ปรชี า วงศช์ ศู รี, 2526)

3.1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เปรียบเสมือนเคร่ืองมือที่จำเป็นในการใช้
แสวงหาความรแู้ ละปัญหา แบ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ๆ (สวุ ัฒน์ นยิ มค้า, 2531) ดังนี้

3.1.1 ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ข้ันพ้ืนฐาน ประกอบด้วยทักษะสำคัญ
8 ทกั ษะคอื

3.1.1.1 ทักษะการสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาท
สัมผัส อย่างใดอย่างหน่ึงหลายอย่างรวมกัน เข้าสัมผัสโดยตรงกับวัตถุประสงค์หรือปรากฏการณ์โดยมี
จุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซ่ึงเป็นรายละเอียดของส่ิงนั้นๆ ท้ังนี้โดยไม่ใช้ประสบการณ์และความคิดของ ผู้
สงั เกตในการเสนอข้อมลู

10

3.1.1.2 ทักษะการวัด หมายถึง ความสามารถในการใช้เครื่องมือวัด
ปริมาณของสิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยก ากับเสมอ และรวมไปถึงการเลือกใช้เครื่องมือวัดได้
อย่างถกู ต้องเหมาะสมต่อส่ิงทตี่ ้องการวดั ดว้ ย

3.1.1.3 ทักษะในการใช้เลขจำนวน หมายถึง ความสามารถในการ
บวกเลข คูณและหารตัวเลขท่ีแสดงว่าปริมาณของส่ิงใดส่ิงหน่ึงซ่ึงได้จากการสังเกต การวัด การทดลอง
โดยตรง หรือจากแหล่งอื่นๆ อีกทอดหน่ึง ทั้งนี้ตัวเลขที่นำมาบวก ลบ คูณ และหารนั้นจะต้องแสดงค่า
ปริมาณ ในหน่วยเดียวกันตัวเลขใหม่ที่ได้จากการคำนวณจะช่วยให้สามารถสื่อความหมายได้ตรงตาม
ต้องการ และชัดเจนยิง่ ขึน้

3.1.1.4 ทักษะการจำแนกประเภท หมายถึง ความสามารถในการ
จัดแบ่ง หรือเรียงลำดับวัตถุประสงค์หรือส่ิงที่อยู่ในปรากฏการณ์ต่างๆ ออกเป็นพวกๆ โดยมีเกณฑ์ใน
การจัดแบ่งเกณฑ์ดังกล่าวอาจจะใช้ความเหมือน ความแตกต่าง หรือความสัมพันธ์อย่างใดอย่างหนึ่งก็
ได้

3.1.1.5 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปส
กับ เวลา หมายถึง ความสารถในการหาความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิตกิ ับ 2 มิติ ระหว่างตำแหนง่ ท่อี ยขู่ อง
วัตถุหนึ่งกับอีกวัตถุหน่ึง ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ซ่ึงได้แก่ความสัมพันธ์ระหว่างการเปล่ียนแปลง
ตำแหนง่ ทอ่ี ยขู่ องวตั ถุกับเวลาหรือระหวา่ งสเปสของวัตถุทเ่ี ปล่ยี นไปกับเวลา

3.1.1.6 ทักษะการลงความเห็นจากขอ้ มูล หมายถงึ ความสามารถใน
การ นำข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตวัตถุหรือปรากฏการณ์ไปสัมพันธ์กับความรู้หรอื ประสบการณ์เดิม เพ่ือ
ลงข้อสรุปหรืออธิบายปรากฏการณ์หรือวัตถุน้ัน การลงความเห็นจากข้อมูลอาจจำแนกออกเป็น 2
ประเภทคือ การลงความเห็นท่ีเป็นข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ แต่ละอย่างที่เป็นการอธิบายความสัมพันธ์
ของสงิ่ ต่างๆ ในปรากฏการณ์

3.1.1.7 ทักษะการจัดกระทำและส่ือความหมายข้อมูล หมายถึง
ความสามารถในการนำข้อมูลดิบท่ีได้จากการสังเกต การทดลอง หรือจากแหล่งอ่นื ที่มีข้อมลู ดิบอยู่ แล้ว
มาจัดกระทำเสียใหม่ โดยอาศัยวิธีการต่างๆ เชน่ การจดั เรียงลำดบั การจดั แยกประเภท การหา คา่ เฉลี่ย
เป็นตน้ แลว้ นำขอ้ มูลที่จัดกระทำแล้วนั้นมาเสนอหรือแสดงให้บุคคลอ่ืนเข้าใจความหมายของ ข้อมูลดิบ
นนั้ ดีขึ้น โดยอาศัยเสนอด้วยรูปแบบตา่ งๆ เชน่ ตาราง แผนภมู ิ แผนกราฟ กราฟ สมการ เปน็ ตน้

3.1.1.8 ทักษะการทำนาย หมายถึง ความสามารถในการทำนายหรือ
คาดคะเนสิ่งท่ีจะเกิดขึ้นล่วงหน้า โดยอาศัยการสังเกตปรากฏการณ์ท่ีเกิดซ้ำๆ หรือความรู้ท่ีเป็น
หลักการ กฎหรอื ทฤษฎีในเรื่องนน้ั มาชว่ ยในการทำนาย

11

3.2.1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้นั ผสม ประกอบด้วยทักษะสำคัญ 5 ทักษะ
คอื

3.2.1.1 ทักษะการกำหนดและควบคมุ ตัวแปร หมายถึง ความสามารถ ในการ
กำหนดว่าอะไรเป็นตัวแปรต้น และอะไรเป็นตัวแปรตามในปรากฏการณ์หน่ึงๆ ที่ต้องการศึกษา
โดยท่ัวไปในปรากฏการณ์หน่ึงๆ จะมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรคู่หนึ่งเป็นอย่างน้อย ซ่ึงในการศึกษา
ปรากฏการณ์นั้นจำเป็นต้องสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นสาเหตุและเป็นตัวแปรที่
เปน็ ผล และสามารถควบคุมตวั แปรที่เปน็ สาเหตุอ่นื ในขณะที่ศกึ ษาตัวแปรทเ่ี ป็นสาเหตตุ ัวใดตัวหน่ึง

3.2.1.2 ทักษะการตั้งสมมติฐาน หมายถึง ความสามารถในการให้ข้อสรุป
หรือคำอธิบาย ซึ่งเป็นคำตอบล่วงหน้าก่อนที่จะดำเนินการทดลองเพื่อตรวจสอบ ความถูกต้องเป็นจริง
ในเร่ืองน้ันๆ ต่อไป สมมติฐานเป็นข้อความท่ีแสดงการคาดคะเนซึ่งอาจเป็นข้อสรุปของส่ิงท่ีไม่สามารถ
ตรวจสอบโดยการสังเกตได้โดยตรง หรืออาจเป็นข้อท่ีแสดงความสัมพันธ์ท่ีเช่ือว่าจะเกิดข้ึนระหว่างตัว
แปรต้นกับตัวแปรตาม ข้อความของสมมติฐานกำหนดขึ้นโดยอาศัยการสังเกตประกอบกับความรู้
ประสบการณ์ กฎ หลกั การ และทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง

3.2.1.3 ทักษะการกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ หมายถึง ความสามารถ ใน
การระบุความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงท่ีสามารถสังเกตได้กับส่ิงที่ไม่สามารถสังเกตได้ เพื่อให้มีความ เข้าใจ
ตรงกันในสิ่งท่ีไม่สามารถสังเกตได้ ซึ่งการระบุความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นส่ิงจำเป็นอย่างยิ่งในการ
ปฏิบัตกิ ารทดลองตอ่ ไป

3.2.1.4 ทักษะการทดลอง หมายถึง ความสามารถในการด ำเนินการ
ตรวจสอบสมมติฐานโดยการทดลอง ซ่ึงเร่ิมต้ังแต่การออกแบบการทดลอง การปฏิบัติการทดลองตาม
ข้ันท่ีออกแบบไว้ ตลอดจนการใช้วัสดอุ ุปกรณไ์ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

3.2.1.5 ทักษะการตีความหมายข้อมลู และลงสรุป หมายถึง ความสามารถ ใน
การบรรยายความหมายของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ และอยู่ในรูปท่ีใช้ในการสื่อความหมายแล้ว ซึ่ง จะ
นำไปสกู่ ารระบุความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูลท่ีเก่ยี วข้องกับตวั แปรที่ต้องการศึกษา

การวัดประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิธีการประเมินอย่างหลากหลายท้ังการทดสอบด้วย
ข้อสอบและการประเมินจากการทำ กิจกรรมต่างๆ ที่สะท้อนถึงสมรรถภาพของผู้เรียนน้ัน มีเป้าหมาย
สำคัญที่ต้องการวัดผลประเมินผล จำแนกได้เป็น 3 ด้านดังน้ี (คู่มือวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร์ :
กระทรวงศกึ ษาธิการ)

1. ความรคู้ วามคิด ความรู้ความคิดหมายถึง ความรอบรู้ในหลักการ ทฤษฎี ข้อเท็จจริง เนื้อหา
หรือแนวคิดหลัก ซงึ่ สามารถประเมนิ ไดจ้ ากพฤตกิ รรมการแสดงออกของผเู้ รียนดังน้ี

12

ตารางท่ี 1 พฤตกิ รรมการแสดงออกดา้ นความรู้ความคิด

กระบวนการเรียนรู้ ความสามารถด้านกระบวนการเรียนรู้ ประกอบด้วย ทักษะ
กระบวนการ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้ การลงมือ ปฏิบัติ
จริงท่ีแสดงออกถึงทักษะเชาว์ปัญญาและทักษะปฏิบัติ การประเมินในส่วนของทักษะปฏิบัติใช้ วิธีการ
สังเกตจากพฤติกรรมการสดงออกของผู้เรยี นทีม่ กี ารพฒั นาอยา่ งเป็นขั้นตอนดังนี้

ตารางท่ี 2 พฤตกิ รรมการแสดงออกของทักษะการปฏิบตั ิ

กระบวนการเรียนรู้ในส่วนของแนวการเรียนรู้ครอบคลุมการสืบเสาะหาความรู้การ
แก้ปัญหา การส่ือสารและการนำความรู้ไปใช้ สามารถประเมินได้จากพฤติกรรมการแสดงออกของ
ผู้เรียนดังนี้

13

ตารางท่ี 3 พฤติกรรมการแสดงออกของกระบวนการเรยี นรู้

14

เจตคติทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นคณุ ลักษณะหรือลกั ษณะนิสยั ของผ้เู รยี น ที่เกดิ ขนึ้ จาก การศึกษาหา
ความรู้หรือการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส่วนเจตคติต่อวิทยาสตร์เป็น ความรู้สึกของ
ผู้เรียนท่ีมีต่อการทำกิจกรรมการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วยความพอใจ ศรัทธา และซาบซึ้ง เห็น
คณุ คา่ และประโยชน์ รวมท้ังมคี ุณธรรม จริยธรรมและคา่ นยิ มทางวิทยาศาสตร์ คุณลกั ษณะชีบ้ ่งจติ วิทยา
ศาสตร์ท้งั ดา้ นเจตคติทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยลักษณะตอ่ ไปนี้

1) เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เป็นลักษณะนิสัยของผู้เรียนที่คาดหวังจะได้รับการพัฒนา ในตัว
ผ้เู รยี นโดยผ่านกระบวนการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ คณุ ลักษณะของเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย

1.1) ความสนใจใฝร่ ู้หรอื ความอยากรู้อยากเหน็
1.2) ความมงุ่ มัน่ อดทน รอบคอบ
1.3) ความซอื่ สัตย์
1.4) ความประหยัด
1.5) ความใจกวา้ ง รว่ มแสดงความคิดเหน็ และรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อ่นื
1.6) ความมีเหตุผล
1.7) การทำงานรว่ มกบั ผ้อู ่นื อยา่ งสรา้ งสรรค์

15

2) เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้สึกท่ีผู้เรียนมีต่อการทำกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
ดว้ ยกิจกรรมท่หี ลากหลาย คณุ ลกั ษณะของเจตคตติ อ่ วทิ ยาศาสตร์ ประกอบด้วย

2.1) พอใจในประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ี่เก่ียวกับวิทยาศาสตร์
2.2) ศรทั ธาและซาบซึ้งในผลงานทางวิทยาสตร์
2.3) เหน็ คุณคา่ และประโยชน์ของวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2.4) ตระหนักในคุณคา่ และโทษของการใช้เทคโนโลยี
2.5) เรยี นหรือเข้าร่วมกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์อยา่ งสนุกสนาน
2.6) เลือกใช้วิธีการทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการคิดและปฏิบัติ
2.7) ตั้งใจเรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์
2.8) ใช้ความรทู้ างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมีคุณธรรม
2.9) ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยใคร่ครวญ ไตร่ตรองถึงผลดี และ
ผลเสีย จากการวิเคราะห์การวัดประเมินผลวิทยาศาสตร์ผู้วิจัยได้เลือกวัดพฤติกรรมของผู้เรียนให้
ครอบคลุม 3 ด้าน ประกอบด้วยด้านความรู้ความคิด ด้านกระบวนการเรียนรู้และด้านเจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร์ (คมู่ อื วดั ผลประเมนิ ผลวิทยาศาสตร์ : กระทรวงศกึ ษาธกิ าร)

เทคนคิ การสืบเสาะหาความรู้ (5E)
การสอบแบบสืบเสาะความรู้ เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนท่มี ุ่งให้ผู้เรียนได้ คน้ คว้าหา

ความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เน้นการแก้ปัญหาเป็น โดยมี ครูผู้สอนเป็นผู้ท่ี
คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดและคิดหาคำตอบตลอดจนเป็นผู้อำนวยความ สะดวกในการเรียนรู้
ให้แก่ผเู้ รียน

ประเภทของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
นักการศึกษา ได้แก่ สุวิทย์ มูลคำและอรทัย มูลคำ (2545 : 137) และสุคนธ์ สินธพานนท์
(2545 : 195) ได้กล่าวถึงการแบ่งประเภทของการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามลักษณะ การจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนสรปุ ได้วา่ สามารถแบ่งไดเ้ ป็น 3 ประเภท คอื
1. ผู้สอนมีบทบาทสำคัญในการสืบเสาะหาความรู้ (Passive Inquiry) วิธีนี้ผู้สอนมี บทบาท
สำคัญในการใชค้ ำถามกระตุ้นให้เปน็ แนงทางให้ผเู้ รียนคิดหาคำตอบ เหมาะสำหรับการเริ่ม สอนแบบสืบ
เสาะหาความรู้ เน่ืองจากผู้สอนจะเป็นผู้ใช้คำถามถามนำไปสู่คำตอบและพยายาม กระตุ้นให้ผู้เรียนต้ัง
คำถามอยู่เสมอ โดยผ้สู อนจะเป็นผู้ต้ังคำถามเป้นส่วนใหญ่ คือ ประมาณร้อยละ 90 ส่วนผเู้ รียนจะเป็นผู้
ตั้งคำถามเองประมารร้อยละ 10 เท่าน้ันและส่วนใหญ่ผู้เรียนจะเป็นผู้ตอบคำถาม ในการเรียนการสอน
จะพบว่า เมื่อเริ่มต้นผู้เรียนส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกับการฟังแล้วคิดทำ ความเข้าใจตามบทเรียนแต่ยังขาด
ทักษะในการตั้งคำถาม ผู้สอนจึงมีเทคนิคในการต้ังคำถามเพื่อนำให้ผู้เรียนตอบโดยพัฒนาจากคำถาม
ง่ายๆ ไปสู่คำถามที่ซับซ้อนเพ่ือพัฒนาความคิดของผู้เรียนจนเกิด คามคุ้นเคยกับการตอบคำถาม

16

ต่อจากน้ัน ผู้สอนจะต้องกระตุ้นหรือจัดประสบการณ์ฝึกให้ผู้เรียนตั้ง คำถามสืบเสาะแสวงหาคำตอบ
ดว้ ยตนเองมากขึน้

2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันในกาสืบเสาะหาความรู้ (Combined Inquiry) วิธีน้ีผู้สอน และ
ผู้เรียนเป็นผู้ดำเนินการในการสืบเสาะหาความรู้ร่วมกัน โดยผ้สอนเป้นผู้ตั้งคำถามเท่าๆ กับ ผู้เรียนคือ
ประมาณร้อยละ 50 ซ่ึงเหมาะสำหรับการสอนท่ีผู้เรียนได้ผ่านข้ันของ Passive Inquiry มาแล้ว ผู้เรียน
จะคุ้นเคยกับการตอบคำถามและฝึกการต้ังคำถาม การซักถามปญั หาในขั้นตอนน้เี มอื่ ผเู้ รียนถาม ผ้สู อน
ไม่ควรให้คำตอบทันทีแต่ควรจะส่งเสริมหรือถามต่อเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดด้วย ตนเองโดยใช้คำถาม
นำไปเรอ่ื ยๆ จนกระทง่ั ผู้เรียนคน้ พบคำตอบดว้ ยตนเอง

3. ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการสืบเสาะหาความรู้ (Active Inquiry) การสอน แบบน้ี
นักเรียนจะต้องเป็นผู้ต้ังคำถามและตอบคำถามเป็นส่วนใหญ่ หลังจากท่ีได้ฝึกการต้ังคำถาม และตอบ
คำถามจนคุ้นเคยมาแล้ว ผู้เรียนได้รับการพัฒนาความคิด การต้ังคำถามในกระบวนการ สืบเสาะเพ่ือหา
คำตอบด้วยตนเองมาตามลำดับข้ัน ในข้ันนี้จึงมีความสามารถในการสร้างกรอบ ความคิด การสร้าง
คำถามนำไปสู่การค้นพบด้วยตนเอง ซ่ึงผู้เรียนมีส่วนในการต้ังคำถามและตอบ คำถามประมาณร้อยละ
90 จึงนับว่าเป็นจุดประสงค์สูงสุดในการเรียนรู้โดยวิธีสืบเสาะหาความรู้ สถาบันส่งเสริมการสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546 : 219 – 220) ได้เสนอ ข้ันตอนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(Inquiry Cycle) หรือแบบ 5E ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) ข้ัน
สำรวจและค้นหา (Exploration) ข้ันอธิบายและ ลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นขยายความรู้
(Elaboration) และข้ันประเมินผล (Evaluation) โดยคำย่อว่า 5E มาจาก E ที่เป็นอักษรภาษาอังกฤษ
ทม่ี าจากตวั แรกแตล่ ะขั้นตอนโดยมีข้นั ตอน 5 ขน้ั ตอน ดงั นี้

1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement) เป็นการนำเข้าสู่บทเรียนหรือเรื่องที่สนใจซ่ึง อาจ
เกิดขึ้นจากความสงสัยหรืออาจเร่ิมจากตัวนักเรียนเองหรือเกิดจากการอภิปรายภายในกลุ่มเร่ืองท่ี
น่าสนใจอาจมาจากสถานการณ์ท่ีมาจากเวลาน้ันหรือเป็นเรื่องจากความรู้เดิมท่ีเคยเรียนมาแล้วเป็น
ตัวกระต้นุ ให้นักเรียนตงั้ ค าถามก าหนดประเดน็ ท่ีศึกษา

2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) เมื่อทำความเข้าใจประเด็นคำถามท่ีสงสัยแล้วก็ มีการ
กำหนดแนวทางตรวจสอบ ตั้งสมมติฐานกำหนดแนวทางเป็นไปได้ รวบรวมข้อมุลสารสนเทศ หรือ
ปรากฎการณซ์ ่งึ อาจทำได้หลายทาง เช่น การทดลอง การทำกิจกรรมภาคสนาม การหาขอ้ มลู จากแหล่ง
ต่างๆ

3. ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Exlaboration) เมื่อได้ข้อมูลอย่างเพียงพอจากการสำรวจ และ
ตรวจสอบแล้ว จะนำข้อมูบสารสนเทศท่ีได้มาวิเคราะห์แปลผล สรุปผลและนำเสนอผลที่ได้ใน รูปแบบ
ต่างๆ

4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) เป็นการนำความรู้ท่ีสร้างข้ึนไปเช่ือนมโยงกับความรู้ เดิม
หรือเพ่ิมเติมหรือนำแบบจำลองสรปุ ไปอธิบายสถานการณต์ า่ งๆ ทำให้รู้มากข้นึ

17

5. ขั้นประเมิน (Evaluation) เป็นการประเมินการเรียนรู้ด้วยกระบวนการต่างๆ ว่า นักเรียนมี
ความรูอ้ ะไรบ้าง อย่างไรบ้างและมากนอ้ ยเพียงใด จากน้นั น้ีจะนำไปสู่การประยุกต์ใช้ด้าน ตา่ งๆ สถาบัน
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำแนวคดิ ทฤษฎีน้อี อกเผยแพร่แก่ ครโู ดยการจดั การอบรม
การเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรทู้ ั่วประเทศ เมื่อมกี ารประกาศใช้ หลักสูตรการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน
พ.ศ. 2544 โดยเรียกว่า วธิ ีสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) ได้ ยึดตามแนวทางของนกั การศึกษาจาก
กลุ่ม BSCS (Biolgical Curriculum Study) ซึ่งได้เสนอ 5 ข้ันตอน (ชุมพร ลือราช : 2554) คือขั้นสร้าง
ความสนใจ (Engagement) ขั้นสำรวจและค้นห า (Exploration) ข้ัน อธิบ ายและลงข้อสรุป
(Explanation) ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) และข้นั ประเมนิ ผล (Evaluation) ดงั แผนภาพที่ 2

ทีม่ า : (สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2547 : 15)
จากที่กล่าวมาผู้วิจัยได้เลือกใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ตามรูปแบบของสถาบัน ส่งเสริม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซ่ึงได้นำแนวคิดทฤษฎีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรียกว่าวิธีสืบ
เสาะหาความรู้ (Inquiry Cycle) ตามแนวทางของนักการศึกษา จากกลุ่ม BSCS (Biological Science
Curriculum Study) ซ่ึงได้เสนอ 5 ขั้นตอน ได้แก่ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นสำรวจและ
ค้นหา (Exploration) ข้ันอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ขั้น ขยายความรู้ (Elaboration) และ
ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation)
ข้อดีของการจดั การเรียนร้แู บบสืบเสาะหาความรู้
ภพ เลาหไพบูลย์ (2542 : 156 – 157) ได้กล่าวถึงข้อดีของการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน
แบบสบื เสาะหาความรู้ไว้ดงั นี้

1. นักเรียนมีโอกาสได้พัฒนาความคิดอย่างเต็มท่ีและศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองซ่ึงมี
ความ อยากร้อู ยากเรียนรตู้ ลอดเวลา

18

2. นักเรียนมีโอกาสได้ฝึกความคิดและฝึกการกระทำให้ได้เรียนรู้วิธีการจัดระบบ
ความคิด และวิธีสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ทำให้เกิดความคงทนในการเรียนและถ่ายโยงการเรียนรู้
ได้

3. นกั เรยี นเป็นศนู ย์กลางของการเรยี นการสอน
4. นกั เรียนสามารถร้มู โนมติและหลกั การทางวิทยาศาสตร์ไดเ้ ร็วข้ึน
5. นักเรียนจะเป็นผู้มีเจตคติทด่ี ีตอ่ การการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
ทศิ นา แขมมณี (2546 : 39) ได้กลา่ วถงึ ข้อดีของการสืบเสาะหาความรไู้ ว้ดงั นี้
1. เป็นวิธีการสอนที่ผู้เรียนสามารถค้นพบความรู้ด้วยตนเอง จึงทำให้เกิดความเข้าใจ
และจดจำไดด้ ยี ิง่ ข้ึน
2. เป็นวธิ ีสอนท่ีชว่ ยให้ผู้เรยี นได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ซงึ่ เป็นเคร่ืองมอื ที่สำคัญ
ในการเรียน
3. เป็นวิธีสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้ท้ังความรู้และกระบวนการ ซ่ึงผู้เรียนสามารถนำไปใช้
ประโยชนใ์ นการเรยี นรเู้ ร่อื งอ่ืน
พจนา ทรัพย์สมาน (2549 : 36 – 37) ได้กล่าวถึงข้อดีของการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน
แบบสืบเสาะหาความรู้ ไวด้ งั นี้
1. นักเรียนได้วิเคราะห์ส่ิงสำคัญท่ีจะเรียนรู้ วางแผนกำหนดขอบเขตแนวทางการ
เรียนรู้ ด้วยตนเอง ลงมือเรียนรู้ด้วยกิจกรรมท่ีหลากหลายตามความถนัดของตนเอง ทำให้ผู้เรียนได้
ค้นพบ ศักยภาพทีแ่ ทจ้ ริงของตนเอง รู้จกั และเข้าใจตนเองมากข้ึน
2. นักเรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ปฏิบัติจากสื่อที่เป็นของจริง รู้แล้เข้าใจใน
ส่ิง ท่ีเรียนได้อย่างถูกต้อง มีทักษะในการปฏบิ ัติอย่างคล่องแคล่ว สามารถนำความรู้และประสบการณ์ท่ี
ได้รับไปใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนรูเ้ นือ้ หาอนื่ ๆ และแกไ้ ขปัญหาในชีวิตประจำวันได้
3. นักเรยี นมีโอกาสได้ฝึกทักษะกระบวนการตา่ งๆ ด้วยการเรยี นร้จู าการปฏิบตั จิ รงิ
4. นักเรียนมีโอกาสเป็นเจ้าของกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทำให้นักเรียนรู้สึกว่า ตนเองมี
คณุ คา่ มีความสำคญั ไดร้ ับการยอมรบั มคี วามสุขและเกิดความภาคภมู ิใจในตนเอง
จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่าการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการสืบ เสาะหา
ความรู้ 5E เป็นวิธีการสอนที่ดีวิธีหนึ่งที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง โดยการลง มือปฏิบัติ
ก่อให้นักเรียนเกิดความคงทนในการเรียนรู้ ได้ฝึกทักษะกระบวนการต่างๆ ตลอดจนจิต วิทยาศาสตร์
และสามารถนำความรูท้ ไี่ ด้ไปใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจำวันได้

19

งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ ง
อารี มาลา (2546 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นการ เรียน

แบบร่วมมือรายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ว 102 เรือ่ งระบบนิเวศ สำหรบั นกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียน
ศกึ ษาสงเคราะห์แมจ่ ัน จงั หวดั เชียงราย ผลการศกึ ษาพบว่า นักเรยี นท่ีได้ทำการเรียนการ สอนทีเ่ น้นการ
เรียนแบบรว่ มมือ ได้แก่ วิธีการต่อบทเรยี น การเรียนด้วยกัน การสืบเสาะความรู้ เป็นกลุม่ การเขียนรอบ
วง การเล่ารอบวงและการร่วมกันคิด มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงขึ้นก่อน และหลังเรียนแตกต่างกัน
อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .01

เรวัฒ ศุมั่งมี (2542 : 58) ได้ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
ตามแนววงจรการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนววงจรการ
เรียนรู้ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์หลังการสอนสูงกว่าคะแนนทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับ .001 นอกจากนี้ ยังพบว่า
นักเรียนที่ได้รับการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแนววงจรการเรียนรู้มีความคิดเห็นต่อการสอน
วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับดี มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.480 จากเอกสารงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง พบว่า การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบ เสาะหาความรู้ (5E) ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่า ก่อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ท้ังยัง
ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์สูงข้ึน เน่ืองจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ มุ่งให้ ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง นอกจากน้ีในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้โดยเทคนิค กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ยังส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่มีจิตวิทยา
ศาสตร์ ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยของ บุคคลที่เกิดข้ึนจากการศึกษาหาความรู้โดยใช้กระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตรน์ น่ั เอง

20

บทท่ี 3
วธิ ีดำเนินการ

การวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์
ระหว่าง สง่ิ มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษา
ปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี คร้ังน้ีเป็นวิจัยเชิง
ทดลองเพ่ือศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ผู้วิจัยมีลำดับข้ันตอนในการวิจัยดังนี้คือ
กลุ่มเป้าหมาย เครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัย วิธีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ แบบแผนการ
ทดลอง วธิ ดี ำเนินการทดลอง การวเิ คราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวจิ ัย

1. กลมุ่ เป้าหมาย
ประชากร
ประชากร ท่ีใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอ

เมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ภาคเรยี นท่ี 1-2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 182 คน
กลุ่มตวั อย่าง
กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ีคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนธิดาแม่พระ

อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี ภาคเรียนท่ี 1-2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 28 คน การศกึ ษาคร้ังนใ้ี ช้
วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (ClusterRandomSampling) ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive
Sampling)

2. เคร่ืองมือทใี่ ช้ในการวิจัย
เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ัยคร้งั นี้มี 3 ชนดิ ประกอบด้วย
1. แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) ว 15101

วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต
จำนวน 10 แผนการเรยี นรู้ เวลา 10 ชว่ั โมง

2. แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ือง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต เป็นแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน
10 ขอ้

3. แบบสงั เกตกระบวนการทางวิทยาสตรเ์ ปน็ แบบ Check list จำนวน 8 รายการ

21

วิธีการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของเคร่อื งมือ
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนตามกระบวนการ

เรียนรู้สืบ เสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต ช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 5 แผน ใช้เวลาสอน 10 ชั่วโมง ผู้วิจัยมีข้ันตอนการสร้างและตรวจสอบ
คณุ ภาพแผนการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการ เรียนรู้สบื เสาะหาความรู้ (5E) ดงั นี้

1.1 ศึกษาทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ตาม
กระบวนการเรียนรสู้ ืบเสาะหาความรู้ (5E) จากเอกสารและงานวิจยั

1.2 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี
ที่ 5

1.2.1 ศึกษามาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ หลักสูตรสถานศึกษา
ศึกษาสาระการเรียนรใู้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ศึกษาตัวชวี้ ัด

1.2.2 ศึกษาสาระการเรยี นรู้ เรื่องระบบภายในร่างกาย เพ่ือให้ทราบขอบข่าย
เนื้อหาจากหนังสือ เอกสารและตำราเรียน

1.2.3 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เร่ืองการจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต ว 15101 วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อ เขียน
แผนการจัดการเรยี นรมู้ รี ายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 5 ตารางท่ี

3.1 วิเคราะห์หลักสูตร ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เรื่องระบบภายในร่างกาย วิชา
วทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 5

2. แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นวิทยาศาสตร์ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
วทิ ยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เร่ืองการจำแนกความสมั พันธ์ระหวา่ ง ส่ิงมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ที่ใช้ใน
การวิจยั คร้งั นผ้ี วู้ ิจัยมขี ้ันตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพ

• ศกึ ษาเอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับวธิ ีการสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
• สร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบ เรื่องการจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับ

สิ่งมชี วี ิต
• สร้างแบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก ขั้นตอนการสร้างและตรวจสอบ

คุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นมี รายละเอียดดังนี้
1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับวิธีการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการ

เรียน และเอกสารที่เกยี่ วข้องกับการวดั และประเมินผลการเรียน
2) สร้างตารางวเิ คราะห์ข้อสอบ เรื่องระบบภายในร่างกาย ชั้นประถมศึกษาปี

ท่ี 5 ให้ครอบคลุมตวั ชีว้ ัดและสาระการเรยี นร้ทู ่นี ำมาจัดทำแผนการจดั การเรยี นรู้

22

3. แบบสังเกตกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกต
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ผูว้ จิ ัย ดำเนนิ การสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพ

• ศึกษาความหมาย ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์

• รวบรวมพฤติกรรมท่ีจะสังเกตกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ พร้อมท้ังนิยามศัพท์
เฉพาะ

• สรา้ งแบบสังเกตกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ข้ันตอนการสร้างและตรวจสอบคุณภาพแบบสังเกตกระบวนการท างวิทยาศาสตร์มี
รายละเอยี ดดังน้ี

1) ศึกษาความหมาย ทฤษฎีเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสังเกต
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพ่ือทำความเข้าใจเก่ียวกับความหมายและพฤติกรรมท่ีแสดงออกถึง
คุณลักษณะทตี่ ้องการวัด

2) รวบรวมพฤติกรรมพร้อมท้ังนิยามศัพท์เฉพาะแล้วกำหนดคุณลักษณะและเกณฑ์ใน
การให้คะแนน ในการสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี นระหว่างการจัดการเรียนรู้

3) สร้างแบบสังเกตกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีลักษณะแบบ Check list เพ่ือ
ตรวจสอบพฤติกรรมระหวา่ งจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ จำนวน 8 รายการ

คำช้ีแจง สังเกตการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนกั เรียนในการสบื เสาะหาความรู้ ขณะ
ปฏิบัตกิ จิ กรรม ว่ามีการปฏิบัติหรอื ไม่ ถ้ามีการปฏบิ ตั ใิ นรายการใดให้ขดี  ถ้าไมม่ ใี หเ้ ว้นว่าง

23

เกณฑก์ ารประเมนิ : นกั เรยี นมีการปฏิบตั ิ 6 รายการขนึ้ ไป ถอื วา่ ผา่ นเกณฑป์ ระเมนิ
ระดับคะแนน: ผ่าน 6 รายการ = 1 คะแนน

ผ่าน 7 รายการ = 2 คะแนน
ผา่ น 8 รายการ = 3 คะแนน

แบบแผนการทดลอง
ในการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ใช้แบบแผนการวิจัยทดลองแบบกลุ่มเดียวและมี การ

ทดสอบกอ่ นการทดลองและหลังการทดลอง (One group pretest - posttest design)

O1 X O2

สัญลักษณ์ทีใ่ ช้ แทน การทดสอบกอ่ นการทดลอง (pretest)
O1 แทน การจัดการเรียนรตู้ ามเทคนคิ การสบื เสาะหาความรู้ (5E)
X แทน การทดสอบหลงั การทดลอง (posttest)
O2

วิธดี ำเนนิ การทดลอง
การวิจัยครัง้ นีเ้ ป็นการวจิ ยั เชิงทดลอง ผวู้ ิจัยมขี ้นั ตอนในการทดลองดงั นี้
1. ขั้นก่อนการทดลอง ผ้วู ิจัยช้ีแจงข้ันตอนการจัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการเรยี นรู้สืบ เสาะหา

ความรู้ (5E) และการทำวิจัยให้นักเรียนทราบ รวมทั้งขอความร่วมมือในการทดลองหลัง จากนั้นให้
นักเรียนกลุ่มทดลองทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ว 15101 วิทยาศาสตร์ ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและ
เก็บคะแนนไว้เป็นคะแนนก่อนการ ทดลอง (Pretest) ในการดำเนินการทดสอบผู้วิจัยเป็นผู้ควบคุมการ
สอบให้เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย

2. ข้นั ดำเนินการทดลอง ผ้วู ิจัยจดั การเรียนการสอนโดยใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้ทู ส่ี ร้าง ข้นึ ตาม
การสืบเสาะหาความรู้ (5E) 5 แผนการจัดการเรยี นรู้ โดยใช้ทดลอง 10 สัปดาห์ๆ ละ 2 คาบ จำนวน 10
คาบๆ ละ 2 ช่วั โมง ในการจดั การเรียนการสอนไดจ้ ัดการเรยี นรตู้ ามตารางเรียน

3. หลังการจัดการเรียนการสอนครบทั้ง 10 คาบ ผู้วิจัยให้นักเรียน ทำแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียน ว 15101 วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์
ระหวา่ ง สิง่ มีชีวติ กับส่งิ มีชวี ติ

24

โดยใช้ แบบทดสอบชุดเดียวกันกับการทดสอบก่อนการทดลองและเก็บคะแนนไว้เป็นคะแนน
หลังการ ทดลอง (Posttest) ในการดำเนินการทดสอบผู้วิจัยเป็นผู้ควบคุมการสอบให้เป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย

การวเิ คราะหข์ ้อมลู
ในการวิเคราะหข์ อ้ มูลในครั้งน้ี ผู้วจิ ัยได้ดำเนินการวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั น้ี
1. ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตรข์ องนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลัง

การจัดการเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้ t-test แบบ dependent
Samples และคะแนนหลังเรียนกับเกณฑ์คะแนนเฉล่ียร้อยละ 70 โดยใช้ t-test แบบ one samples
test

2. ศึกษากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 หลังการ จัดการ
เรยี นรตู้ ามกระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้ t-test แบบ dependent Samples

สถิตทิ ี่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู
การหาค่าเฉลย่ี (Mean) (ดาวเรือง รอดเกตุ .2554)
สถติ ทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล
การหาค่าเฉลย่ี (Mean)

สูตร

เม่อื คอื ค่าเฉลีย่ ของคะแนน
n
คอื ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด
คอื จำนวนนักเรยี นทั้งหมด

การหาผลตา่ งของคะแนนในการสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

สตู ร คอื ผลรวมของผลตา่ งของคะแนนในการสอบก่อนเรยี น
เมอ่ื
และหลงั เรียน
คอื จำนวนคู่ของคะแนน
n

25

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

การวิจัยเรื่องการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรียนช้ัน
ประถมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยได้นำเสนอข้อมูลตามลำดับขั้นตอน คือ สัญลักษณ์ที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและ
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

สัญลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล
ในการวเิ คราะห์และแปลความหมาย ผูว้ จิ ัยใช้สัญลกั ษณ์ดงั น้ี
X แทน ค่าเฉลยี่
n แทน จำนวนกล่มุ ตัวอย่าง
S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
t แทน ค่าสถิติการแจกแจงแบบที
** แทน มีนัยสำคัญท่ีระดับ .05

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล
1. ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ก่อนและหลัง

การจดั การเรียนรู้โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้สบื เสาะหาความรู้ (5E) ปรากฏผลดังตารางท่ี 4.1

ตารางท่ี 4.1 ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5
กอ่ นและหลังการจดั การเรยี นรู้โดยใชก้ ระบวนการเรยี นรูส้ บื เสาะหาความรู้ (5E)

26

จากตารางท่ี 4.1 พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีท่ี
5 หลังจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) การทดสอบก่อนเรียนและ หลัง
เรียน มคี ะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 2.57 คะแนน และ 7.43 คะแนน ตามลำดับ และเมอ่ื เปรียบเทียบระหว่าง
คะแนนก่อนและหลงั เรียน พบวา่ คะแนนหลังเรยี นของนักเรยี นสูงกว่าสูงกวา่ ก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .05

ตารางที่ 4.2 ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาศาสตรข์ องนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ่ี 5 หลงั เรยี น
กับ เกณฑค์ ะแนนเฉล่ยี ร้อยละ 70

จากตารางที่ 4.2 พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษา ปีที่
5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) สูงกว่าเกณฑ์คะแนนเฉล่ีย ร้อย
ละ 70

2. ศึกษากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังจัดการ เรียนรู้
โดยใชเ้ ทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ปรากฏผลดังตารางท่ี 10 ตารางที่

4.3 ศึกษากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 หลังจัดการ เรียนรู้
โดยใชเ้ ทคนิคการสบื เสาะหาความรู้ (5E)

จากตารางท่ี 4.3 พบว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 หลัง
จัดการเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการเรียนร้สู ืบเสาะหาความรู้ (5E) มีการพัฒนาสงู ข้ึน

27

บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยเร่ืองการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง การจำแนกความสัมพันธ์
ระหวา่ ง สงิ่ มีชวี ิตกบั ส่ิงมีชีวิต โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ของนักเรยี นช้ัน ประถมศึกษา
ปีที่ 5 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนธิดาแม่พระ อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์การ
วิจัย 1) เพื่อกำหนดแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
ส่ิงมีชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ท่ีใช้ในการจัดการเรียนการสอนตามรูปแบบการสอนแบบ
สืบเสาะหาความรู้ (5E) 2) เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เร่ือง การจำแนก
ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกบั สง่ิ มีชีวติ ของนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ด้วยการจดั การเรียนรโู้ ดย
ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เสริมดว้ ยแบบฝึกทักษะการเรียนรู้ จำนวน 38 คน เครอ่ื งมือที่ใช้
ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดการเรียนรู้ ใช้กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหา
ความรู้ (5E) ว 15101 วิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เร่ือง การจำแนกความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต จำนวน 5 แผนการเรียนรู้ เวลา 10 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนวิทยาศาสตรช์ ้ันประถมศึกษาปีที่ 5 เร่ืองการจำแนกความสัมพนั ธ์ระหว่าง ส่ิงมีชีวติ กับส่ิงมีชีวิต ใช้
แบบทดสอบปรนัยชนิด เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 10 ข้อ 3) แบบวัดกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
แบบ Check list จำนวน 8 รายการ ใช้แบบแผนการทดลองทีป่ ระกอบด้วยกลุ่มทดลองกลุ่มเดยี ว มีการ
ทดสอบก่อน การทดลองและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉล่ีย ( X ) ค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.) และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test

ผลการวจิ ัย
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทิ ยาศาสตรแ์ ละกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นกั เรียน

ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ด้วยการจดั การเรยี นร้โู ดยใชก้ ระบวนการเรียนร้สู ืบเสาะหาความรู้ (5E) ได้ผลดงั นี้
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้

กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับ .05 และสงู กวา่ เกณฑ์คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 70

2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนหลังจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการ เรียนรู้
สบื เสาะหาความรู้ (5E) มกี ารพฒั นาสูงข้ึน

28

อภิปรายผลการวจิ ัย
ในการวิจัยครงั้ นพ้ี บว่ามปี ระเด็นที่นำมาอภิปรายได้ดงั น้ี
1. การวิจัยพบว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 หลัง

ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้สืบเสาะหาความรู้ (5E) สูงกว่าก่อนการจัดการ เรียนรู้
อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ต้ังไว้ทงั้ นี้เน่ืองจากการ จัดการเรียนรู้
โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่มุง่ ให้ ผู้เรียนได้ค้นคว้า
หาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เน้นการแก้ปัญหาเป็น โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ท่ี
คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดและคิดหาคำตอบตลอดจนเป็นผู้อำนวยความ สะดวกในการเรียนรู้
ให้แก่ผเู้ รียน

2. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 หลังได้รับการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) มีการพัฒนาสูงข้ึน ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐานท่ีตั้ง ไว้
ทั้งน้ีเน่ืองจากผู้วิจัยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง โดยใช้
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เน้นการแก้ปัญหาเป็น โดยมีครูผู้สอนเป็นผู้ที่คอยกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิด
ความคิดและคิดหาค าตอบตลอดจนเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรยี นร้ใู หแ้ กผ่ ้เู รียน

ข้อเสนอแนะ
1. ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวจิ ยั ไปใช้
1.1 ควรนำการจัดการเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ไปเป็นแนวทาง

ในการจัดการเรยี นรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพราะเป็นรูปแบบการจัดการเรยี นรู้ท่ี สามารถ
พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผูเ้ รยี นและกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ได้ดอี ีกรปู แบบหนง่ึ

1.2 สำหรับครูผู้สอนที่จะนำรูปแบบการสอนโดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E)
ไปเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ควรศึกษาแนวการสอนให้เข้าใจก่อนเพ่ือจะได้ใช้ในการออกแบบ
กิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียน สาระการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดและมาตรฐานการเรียนรู้
เพือ่ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพมากที่สุด

1.3 ในระหว่างการทำกิจกรรม ครูจะต้องมีส่วนร่วมในการกระตุ้นนักเรียนในกลุ่มทุก
คนให้ตระหนักถึงผลงานของกลุ่ม ช้ินงานของกลุ่มและความคิดรวบยอดที่ได้รับให้มากท่ีสุด โดยเฉพาะ
นกั เรยี นทีเ่ รยี นออ่ นที่มีความสนใจตอ่ การเรยี นต่ำ และกระตนุ้ นกั เรียนใหม้ ีปฏสิ ัมพันธ์กนั ภายในกลุ่ม

1.4 เพื่อให้เกิดผลดีกับการจัดการเรยี นรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) มาก
ขึ้น ครูควรวางพ้ืนฐานการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์เพ่ือให้นักเรียนเกิดความตระหนักและเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ
ให้มากข้นึ

29

2. ขอ้ เสนอแนะสำหรบั การวิจยั ครัง้ ต่อไป
2.1 ควรมีการประยุกต์ทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดสังเคราะห์เข้ามาใช้ในการ

จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เช่น ให้นักเรียนทำแบบฝึกทักษะการคิด
วิเคราะห์และคิดสังเคราะห์ เพราะนักเรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะการคิดอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงจะส่งผล
ในระยะยาวและสง่ ผลต่อผลสมั ฤทธใิ์ หส้ งู ขนึ้

2.2 ควรมีการศึกษาวิจัยจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสืบเสาะหาความรู้ (5E) ท่ี
สง่ ผลต่อตัวแปรอ่นื ๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์

30

บรรณานุกรม

กุณฑรี เพช็ รทวีพรเดช (2550) สดุ ยอดวธิ สี อนวิทยาศาสตรน์ ำไปสู่ การจัดการเรยี นรขู้ องครู
ยคุ ใหม.่ กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทัศน์

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกัดทิศนา

กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ:
โรงพิมพ์ครุ สุ ภา ลาดพรา้ ว.

ชมุ พร ลอื ราช. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ตามแนวคิด
5E โดยใช้บทเรียนสำเรจ็ รปู เปน็ ส่ือ เร่ืองพลงั งานแสง ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นวัดเมธังกรา
วาส(เทศรัฐราษฎร์นุกูล). วทิ ยานพิ นธ์ ศษ.ม. (หลกั สตู รและการสอน)เชยี งราย : มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ
เชียงราย, 2554.

ทรงวฒุ ิ สธุ าอรรถ. (2544). การจดั กระบวนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ด้วยเทคนคิ
Science Show. การศึกษานอก โรงเรียน, 4, 10-11

ทิศนา แขมณี. (2547). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพ่ือการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี
ประสทิ ธิภาพ. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 3. กรุเทพมหานคร: ศูนย์หนงั สอื แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

บญุ ชม ศรีสะอาด. (2537). การพัฒนาการสอน. มหาสารคาม. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาสารคาม.

ประมวล ศิริผันแก้ว. (2541). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของ
การเรียนรู้. เอกสารการประชุมปฏิบัติการเรื่องการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ท่ีนักเรียน เป็นศูนย์กลาง
การเรียนรู้. กรงุ เทพมหานคร.

พจนา ทรัพย์สมาน. การจัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนแสวงหาและค้นพบความรู้ด้วยตนเอง.
กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์หมาวิทยาลยั , 2549

สุนสิ า ช้างพาลี วริ ังรอง แสงอรณุ เลศิ และภาคนิ อินทรช์ ิดจยุ้ (2560) การสอนแบบสบื
เสาะหา ความรู้ 7 ข้นั โดยใช้ชุดปฏบิ ตั กิ ารเคมีแบบยอ่ สว่ น เพ่อื เสริมสร้างผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี6,วารสารบัณฑติ วิจยั , 8(2),
83-99.

อุไรวรรณ ปานีสงค์ จิต นวนแก้ว และสุมาลี เล่ียมทอง (2560). การจัดการเรียนรู้โดยใช้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เสริมด้วยเทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์เร่ืองชีวิตกับ
สิ่งแวดล้อมท่ีมีผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ นักเรยี นชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4, มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม,
11(1), 134-147.

31

ภาคผนวก

32

33

34

35

36

37

38

39

40


Click to View FlipBook Version