The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2. พรบ.สุขภาพ ๒๕๕๐-ผศ.นพ.ปราการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sopha Chaimut, 2019-11-17 20:43:29

2. พรบ.สุขภาพ ๒๕๕๐-ผศ.นพ.ปราการ

2. พรบ.สุขภาพ ๒๕๕๐-ผศ.นพ.ปราการ

พระราชบญั ญตั ิสขุ ภาพแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๕๐

ผศ. นพ.ปราการ ถมยางกูร

ท่ี ป รึ ก ษ า ก ร ม ก า ร แ พ ท ย์
ผู้อานวยการโครงการศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมกา Iแพทย์

กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

ภาวะของมนุษยท์ ีส่ มบูรณท์ ้งั ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา
และทางสงั คม เชือ่ มโยงกนั เป็ นองคร์ วมอย่างสมดุล

(พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550)

สุขภาวะ
ทางปัญญา
สุขภาวะทางสงั คม

สุขภาวะทางจิต

สุขภาวะทางกาย

3

ปัจจยั กาหนดสขุ ภาพ •การผลกั ใสใหอ้ ย่ชู ายขอบ •การคา้ และตลาด
•กลมุ่ ชนดงั่ เดมิ •การไหลของทนุ
ความขดั แยง้ •การกดขี่ •วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ความรนุ แรง •สทิ ธิบตั ร
การกีดกนั ทางสงั คมความ
ผสู้ งู อายุ
ยากจน

โลกาภิวตั น์

พฒั นาเด็กปฐมวยั เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
กายภาพ/ชีวภาพ บรรยากาศ
แอลกอฮอล์ วิถีชีวิต
ทางการเมือง
ยาสบู พฤติกรรม
เศรษฐกิจ/การเมือง

ความเชื่อ ปัจเจกบคุ คล วฒั นธรรม/ศาสนา
พนั ธกุ รรม
ยาเสพตดิ สิ่งแวดลอ้ ม ประชากร ภยั ธรรมชาติ

เพศสภาพ จิตวิญญาณ การศึกษา ภาวะโลก

สขุ ภาพ ความมง่ั คงปลอดภยั รอ้ น

สตรี การขนสง่ ทนุ ทาง

สงั คม

การศึกษาทาง เมอื ง/ชนบท
วิชาชพี
ความเท่าเทียม/ความ ระบบ คณุ ภาพและประสิทธิภาพ สิทธิมนษุ ยชน
การแพทยท์ างเลอื ก อาหาร
และการแพทยพ์ ื้นบา้ น ครอบคลมุ / ชนิดและ บรกิ ารสขุ ภาพ บรกิ ารสาธารณะ/
ระดบั การบรกิ าร การจา้ งงาน
บรกิ ารเอกชน

การสาธารณสขุ มลู ฐาน สขุ ภาวะทางจิตวิญญาณ การเงนิ การคลงั ดา้ นสขุ ภาพ
สขุ ภาวะทางกายและจิตใจ

4

พระราชบญั ญตั ิ act;Act of Parliament

คอื กฎหมายท่ีพระมหากษัตรยิ ท์ รงตราขนึ้ ตามคาแนะนาและยินยอมของรฐั สภา
พระราชบญั ญตั ิถือเป็นกฎหมายท่ีมีศกั ดริ์ องมาจากรฐั ธรรมนญู และพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รฐั ธรรมนญู โดยปกติพระราชบญั ญตั จิ ะมีลกั ษณะเป็นการนาเอาหลกั เกณฑส์ าคญั ๆ ท่ีตอ้ งการ
ใหป้ ระชาชนท่วั ไปปฏิบตั ิตามมากาหนดไว้ เพ่ือเป็นหลกั หรอื เป็นแนวทาง รวมทงั้ กาหนดอานาจ
หนา้ ท่ีของพนกั งานเจา้ หนา้ ท่ที งั้ หลาย และกาหนดโทษสาหรบั ผฝู้ ่าฝืนหรอื ไมป่ ฏิบตั ติ ามดว้ ย
สาหรบั กระบวนการพิจารณารา่ งพระราชบญั ญตั นิ นั้ กระทาเช่นเดียวกบั การพิจารณารา่ ง
พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู

แนวสำคญั ของพรบ.สุขภำพแห่งชำติ

เนน้ หลกั สรา้ งนาซอ่ ม ปอ้ งกนั มากกวา่ รกั ษา
การดแู ลสขุ ภาพมากกวา่ การเจบ็ ป่วยทางกายและใจ รวมไปถงึ สภาพแวดลอ้ มท่ีนา่ อยู่
และสงั คมอยเู่ ยน็ เป็นสขุ
รบั รองสทิ ธิดา้ นสขุ ภาพใหท้ ่วั ถงึ และเทา่ เทียม
ประชาชนมีหนา้ ท่ีดแู ลปกปอ้ งสขุ ภาพของตน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม
ประชาชนรว่ มคิดรว่ มทารว่ มแกป้ ัญหาและรว่ มกาหนดนโยบายสขุ ภาพ

หมายเหตุ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั ิฉบบั นีค้ อื โดยท่สี ขุ ภาพ
หมายถงึ ภาวะของมนษุ ยท์ ่ีสมบรู ณ์ ทงั้ ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสงั คม
เช่ือมโยงกนั เป็นองคร์ วมอย่างสมดลุ การวางระบบ เพ่ือดแู ลแกไ้ ขปัญหาดา้ นสขุ ภาพของ
ประชาชน จงึ ไมอ่ าจมงุ่ เนน้ ท่ีการจดั บรกิ ารเพ่ือ การรกั ษาพยาบาลเพียงดา้ นเดียว เพราะจะ
ทา ใหร้ ฐั และประชาชนตอ้ งเสยี คา่ ใชจ้ ่ายมาก และจะเพ่ิมมากขนึ้ ตามลาดบั ในขณะเดยี วกนั
โรคและปัจจยั ท่คี กุ คามสขุ ภาพมีการเปล่ยี นแปลงและมีความยงุ่ ยากสลบั ซบั ซอ้ นมากขนึ้
จาเป็นตอ้ งดาเนินการใหป้ ระชาชนมีความรูเ้ ทา่ ทนั มีสว่ นรว่ ม และมีระบบ เสริมสรา้ งสขุ ภาพ
และระวงั ปอ้ งกนั อยา่ งสมบรู ณส์ มควรมีกฎหมายวา่ ดว้ ยสขุ ภาพแหง่ ชาติ เพ่ือวางกรอบและ
แนวทางในการกาหนดนโยบายยทุ ธศาสตรแ์ ละ การดาเนินงานดา้ นสขุ ภาพของประเทศ
รวมทงั้ มีองคก์ รและกลไกเพ่ือใหเ้ กิดการดาเนินงานอยา่ งตอ่ เน่ืองและมีสว่ นนรว่ มจากทกุ ฝ่าย
อนั จะนาไปสเู่ ปา้ หมายในการสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ รวมทงั้ สามารถดแู ลแกไ้ ขปัญหาดา้ นสขุ ภาพ
ของประชาชนไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและท่วั ถงึ จงึ จาเป็นตอ้ งตราพระราชบญั ญตั ินี้

มาตรา ๑ พระราชบญั ญตั ินีเ้ รยี กวา่ “พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติพ.ศ.
๒๕๕๐”

มาตรา ๒ พระราชบญั ญตั นิ ีใ้ หใ้ ชบ้ งั คบั ตงั้ แตว่ นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจา
นเุ บกษา เป็นตน้ ไป

มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั ินี้ “สขุ ภาพ” หมายความวา่ ภาวะของมนษุ ยท์ ่สี มบรู ณท์ งั้ ทาง
กาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสงั คม เช่ือมโยงกนั เป็นองคร์ วมอยา่ งสมดลุ

“ปัญญา” หมายความวา่ ความรูท้ ่วั รูเ้ ทา่ ทนั และความเขา้ ใจอย่างแยกไดใ้ นเหตผุ ล แหง่
ความดคี วามช่วั ความมีประโยชนแ์ ละความมีโทษ ซง่ึ นาไปสคู่ วามมีจิตอนั ดงี ามแลเออื้ เฟื้อเผ่ือแผ่

“ระบบสขุ ภาพ” หมายความวา่ ระบบความสมั พนั ธท์ งั้ มวลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั สขุ ภาพ
“บรกิ ารสาธารณสขุ ” หมายความวา่ บรกิ ารตา่ ง ๆ อนั เก่ียวกบั การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพการ
ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคและปัจจยั ท่คี กุ คามสขุ ภาพ การตรวจวินิจฉยั และบาบดั สภาวะ ความ
เจ็บป่วย และการฟื้นฟสู มรรถภาพของบคุ คล ครอบครวั และชมุ ชน

“บคุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ ” หมายความวา่ ผใู้ หบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ท่มี ีกฎหมาย ระเบียบ
หรอื ขอ้ กาหนดรองรบั

“ผปู้ ระกอบวิชาชีพดา้ นสาธารณสขุ ” หมายความวา่ ผปู้ ระกอบวิชาชีพตามกฎหมายวา่ ดว้ ย
สถานพยาบาล

“สมชั ชาสขุ ภาพ” หมายความวา่ กระบวนการท่ีใหป้ ระชาชนและหน่วยงานของรฐั ท่ี
เก่ียวขอ้ งไดร้ ว่ มแลกเปลีย่ นองคค์ วามรูแ้ ละเรยี นรูอ้ ย่างสมานฉนั ทเ์ พ่ือนาไปสู่การเสนอแนะ
นโยบาย สาธารณะ เพ่ือสขุ ภาพ หรอื ความมีสขุ ภาพของประชาชน โดยจดั ใหม้ ีการประชมุ อย่าง
เป็นระบบ และอยา่ งมีสว่ นรว่ ม

หมวด ๑ สิทธิและหนำ้ ท่ีดำ้ นสุขภำพ

มำตรำ ๕ บุคคลมีสิทธิในกำรดำรงชีวติ ในส่ิงแวดลอ้ มและสภำพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อสุขภำพ
บุคคลมีหนำ้ ท่ีร่วมกบั หน่วยงำนของรัฐในกำรดำเนินกำรใหเ้ กิดสิ่งแวดลอ้ มและ
สภำพแวดลอ้ มตำมวรรคหน่ึง

มาตรา ๖ สขุ ภาพของหญิงในดา้ นสขุ ภาพทางเพศและสขุ ภาพของระบบเจรญิ พนั ธุซ์ ง่ึ มี
ความจาเพาะ ซบั ซอ้ นและมอี ทิ ธิพลตอ่ สขุ ภาพหญิงตลอดชว่ งชีวิต ตอ้ งไดร้ บั การสรา้ งเสรมิ
และคมุ้ ครองอย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม

สขุ ภาพของเดก็ คนพิการ คนสงู อายุ คนดอ้ ยโอกาสในสงั คมและกลมุ่ คนตา่ งๆท่ีมี
ความจาเพาะในเรอ่ื งสขุ ภาพตอ้ งไดร้ บั การสรา้ งเสรมิ และคมุ้ ครองอย่างสอดคลอ้ งและ
เหมาะสมดว้ ย

มาตรา ๗ ขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพของบคุ คล เป็นความลบั สว่ นบคุ คล ผใู้ ดจะนาไปเปิดเผย
ในประการท่นี ่าจะทาใหบ้ คุ คลนนั้ เสียหายไมไ่ ด้ เวน้ แตก่ ารเปิดเผยนนั้ เป็นไปตามความ
ประสงค์ ของบคุ คลนนั้ โดยตรง หรอื มีกฎหมายเฉพาะบญั ญตั ใิ หต้ อ้ งเปิดเผย แต่ไม่วา่ ใน
กรณีใดๆ ผใู้ ดจะอาศยั อานาจหรอื สิทธิตามกฎหมายวา่ ดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการหรอื
กฎหมายอ่นื เพ่ือขอเอกสารเก่ียวกบั ขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพของบคุ คลท่ีไม่ใชข่ องตนไมไ่ ด้

มาตรา ๘ ในการบรกิ ารสาธารณสขุ บคุ ลากรดา้ นสาธารณสขุ ตอ้ งแจง้ ขอ้ มลู ดา้ น
สขุ ภาพ ท่เี ก่ียวขอ้ งกบั การใหบ้ รกิ ารใหผ้ รู้ บั บรกิ ารทราบอย่างเพียงพอท่ี
ผรู้ บั บรกิ ารจะใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจในการรบั หรอื ไมร่ บั บรกิ ารใด และในกรณที ่ี
ผรู้ บั บรกิ ารปฏเิ สธไมร่ บั บรกิ ารใด จะใหบ้ รกิ ารนนั้ มิได้

ในกรณีท่ีเกิดความเสยี หายหรอื อนั ตรายแกผ่ รู้ บั บรกิ ารเพราะเหตทุ ่ีผรู้ บั บรกิ าร
ปกปิด ขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ีตนรูแ้ ละควรบอกใหแ้ จง้ หรอื แจง้ ขอ้ ความอนั เป็นเท็จ ผใู้ หบ้ รกิ ารไม่
ตอ้ งรบั ผิดชอบในความเสียหายหรอื อนั ตรายนนั้ เวน้ แตเ่ ป็นกรณีท่ีผใู้ หบ้ รกิ ารประมาท
เลนิ เลอ่ อยา่ งรา้ ยแรง

ความในวรรคหน่งึ มิใชบ้ งั คบั กบั กรณีดงั ตอ่ ไปนี้
(๑) ผรู้ บั บรกิ ารอยใู่ นภาวะท่เี ส่ยี งอนั ตรายถงึ ชีวิตและมคี วามจาเป็นตอ้ งให้
ความช่วยเหลอื เป็นการรบี ดว่ น
(๒) ผรู้ บั บรกิ ารไมอ่ ยใู่ นฐานะท่ีจะรบั ทราบขอ้ มลู ได้ และไมอ่ าจแจง้ ใหบ้ คุ คลซง่ึ
เป็นทายาท โดยธรรมตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ผปู้ กครอง ผปู้ กครอง
ดแู ล ผพู้ ิทกั ษ์ หรอื ผอู้ นบุ าลของผรู้ บั บรกิ าร แลว้ แตก่ รณี รบั ทราบขอ้ มลู แทนในขณะนนั้
ได้

มาตรา ๙ ในกรณีท่ผี ปู้ ระกอบวชิ าชีพดา้ นสาธารณสขุ ประสงคจ์ ะใชผ้ รู้ บั บรกิ าร
เป็นสว่ นหน่งึ ของการทดลองในงานวจิ ยั ผปู้ ระกอบวิชาชีพดา้ นสาธารณสขุ ตอ้ งแจง้ ให้
ผรู้ บั บรกิ ารทราบลว่ งหนา้ และตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมเป็นหนงั สือจากผรู้ บั บรกิ ารกอ่ นจงึ
จะดาเนินการได้ ความยนิ ยอมดงั กลา่ ว ผรู้ บั บรกิ ารจะเพกิ ถอนเสียเม่ือใดกไ็ ด้









มาตรา ๑๐ เม่ือมีกรณีท่จี ะมผี ลกระทบตอ่ สขุ ภาพของประชาชนเกิดขนึ้ หน่วยงานของรฐั
ท่ีมีขอ้ มลู เก่ียวกบั กรณีดงั กลา่ ว ตอ้ งเปิดเผยขอ้ มลู นนั้ และวธิ ีปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพให้
ประชาชนทราบและจดั หาขอ้ มลู ใหโ้ ดยเรว็

การเปิดเผยขอ้ มลู ตอ้ งไมม่ ีลกั ษณะเป็นการละเมิดสิทธิสว่ นบคุ คลของบคุ คลใดเป็น
การเฉพาะ

มาตรา ๑๑ บคุ คลหรอื คณะบคุ คลมีสทิ ธิรอ้ งขอใหม้ ีการประเมินและมีสทิ ธิรว่ ม
ในกระบวนการประเมินผลกระทบดา้ นสขุ ภาพจากนโยบายสาธารณะ

บคุ คลหรอื คณะบคุ คลมีสทิ ธิไดร้ บั รูข้ อ้ มลู คาชีแ้ จง และเหตผุ ลจากหนว่ ยงานของ
รฐั กอ่ นการอนญุ าตหรอื การดาเนินโครงการหรอื กิจกรรมใดท่อี าจมีผลกระทบต่อ
สขุ ภาพของตน หรอื ของชมุ ชนและแสดงความเห็นของตนในเรอ่ื งดงั กลา่ ว

มาตรา ๑๒ บคุ คลมีสทิ ธิทาหนงั สอื แสดงเจตนาไม่ประสงคจ์ ะรบั บรกิ ารสาธารณสขุ
ท่ีเป็นไปเพียงเพ่ือยืดการตายในวาระสดุ ทา้ ยของชีวติ ตน หรอื เพ่ือยตุ กิ ารทรมานจากการเจ็บป่วย
ได้

การดาเนินการตามหนงั สือเจตนาตามวรรคหนง่ึ ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ และวิธีการ
ท่ีกาหนดในกฎกระทรวง

เม่อื ผปู้ ระกอบวชิ าชีพดา้ นสาธารณสขุ ไดป้ ฏบิ ตั ติ ามเจตนาของบคุ คลตามวรรคหนง่ึ แลว้
มิใหถ้ ือวา่ การกระทานนั้ เป็นความผิดและใหพ้ น้ จากความรบั ผิดทงั้ ปวง



ขอ้ ๓ หนงั สือแสดงเจตนาตอ้ งมีความชดั เจนเพยี งพอท่จี ะดาเนินการตามประสงค์
ของผทู้ าหนงั สอื ดงั กลา่ วได้ โดยมีขอ้ มลู เป็นแนวทางในการทาหนงั สือ ดงั ตอ่ ไปนี้

(๑) รายการท่ีแสดงขอ้ มลู ของผทู้ าหนงั สอื แสดงเจตนาโดยระบชุ ่ือ นามสกลุ อายุ
หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชน และท่ีอยู่ หรอื หมายเลขโทรศพั ทท์ ่ีติดตอ่ ได้

(๒) วนั เดือน ปีท่ีทาหนงั สือแสดงเจตนา
(๓) ช่ือ นามสกลุ หมายเลขบตั รประจาตวั ประชาชนของพยาน และความเก่ียวขอ้ งกบั
ผทู้ าหนงั สือแสดงเจตนา

(๔) ระบปุ ระเภทของบรกิ ารสาธารณสขุ ท่ีไมต่ อ้ งการจะไดร้ บั

(๕) ในกรณีท่ผี ทู้ าหนงั สอื แสดงเจตนาใหผ้ อู้ ่นื เขียน หรอื พิมพห์ นังสอื แสดงเจตนา

ใหร้ ะบชุ ่ือ นามสกลุ และหมายแลขประจาตวั บตั รประชาชนของผเู้ ขียน หรอื ผพู้ ิมพไ์ วด้ ว้ ย

หนงั สือแสดงเจตนาตอ้ งลงลายช่ือ หรอื ลายพิมพน์ ิว้ มือของผทู้ าหนงั สอื แสดงเจตนา
พยาน และผเู้ ขียน หรอื ผพู้ ิมพไ์ วด้ ว้ ย

ผทู้ าหนงั สือแสดงเจตนาอาจระบชุ ่ือบคุ คลเพ่ือทาหนา้ ท่อี ธิบายความประสงคท์ ่แี ทจ้ รงิ
ของผทู้ าหนงั สือแสดงเจตนาท่รี ะบไุ วไ้ ม่ชดั เจน บคุ คลผถู้ กู ระบชุ ่ือดงั กลา่ วตอ้ งลงลายมือช่ือ
หรอื ลายพมิ พน์ ิว้ มือ และหมายเลขประจาตวั บตั รประชาชนไวใ้ นหนงั สอื แสดงเจตนาดว้ ย

หนงั สอื แสดงเจตนาอาจระบรุ ายละเอียดอ่นื ๆ เช่น ความประสงคใ์ นการเสียชีวติ
ณ สถานท่ีใด ความประสงคท์ ่จี ะไดร้ บั การเยียวยาทางจิตใจ และการปฏิบตั ิามประเพณี
และความเช่ือทางศาสนา และใหส้ ถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใหค้ วามรว่ มมือตามสมควร

หมวด ๖ บทกำหนดโทษ

มาตรา ๔๙ ผใู้ ดฝ่าฝืนมาตรา ๗ หรอื มาตรา ๙ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไม่เกิน
หกเดอื นหรอื ปรบั ไมเ่ กินหน่งึ หม่ืนบาท หรอื ทงั้ จาทงั้ ปรบั

ความผิดตามมาตรานีเ้ ป็นความผิดอนั ยอมความได้

◦สานกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ
◦www.nationalhealth.or.th
◦พินยั กรรมชีวติ ความปรารถนาชีวิต
◦www.thailivingwill

Question?

พรบ.สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
มีความสาคญั ตอ่ นกั ศกึ ษาแพทยช์ นั้ ปีท่ี3อยา่ งไร


Click to View FlipBook Version