The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แม่ทัพในมุมมองของปราชญ์แห่งสงคราม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SuwaT DonsakuL, 2021-08-18 03:04:18

แม่ทัพในมุมมองของปราชญ์แห่งสงคราม

แม่ทัพในมุมมองของปราชญ์แห่งสงคราม

Keywords: แม่ทัพ,ปราชญ์แห่งสงคราม,ซุนวู,เคลาเซอวิทซ์,Clausewitz,Sun Tzu

แแหม่่งทสัพงใคนรมาุมมมองของปราชญ์

นาวาเอก สุวัจ ดอนสกลุ *

กลา่ วนำ

จากการศึกษาหลักสูตรวิทยาลัยการทัพเรือ
ยทุ ธศาสตร์ท่ีทา่ นทั้งสองได้กล่าวไว้ ในความคิดของผเู้ ขียน
ในหมวดวิชายุทธศาสตร์และนโยบาย ในตอนแรกยังไม่ ยังเป็นเร่ืองอมตะและไม่เคยล้าสมัยเลย บทความนี้ได้
เข้าใจว่าทำไมต้องมาเรียนรู้ว่านักยุทธศาสตร์ในอดีต
ย ก เ อ า มุ ม ม อ ง ที่ แ ม่ ทั พ ค ว ร จ ะ รู้ จ า ก ท่ า น ท้ั ง ส อ ง

คดิ อย่างไร และทำไมต้องเรียนรูบ้ ทเรียนจากสงครามในอดีต มาวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบว่ามีความสอดคล้องกัน
ทั้ง ๆ ที่ชื่อวิชาหมวดเป็นวิชายุทธศาสตร์และนโยบาย หรอื ไมอ่ ย่างไร ทงั้ นี้ เนอื่ งจากในอดีตของทา่ นทั้งสองนน้ั
แต่เมื่อได้รับการศึกษาแล้วจึงทราบว่ามีความจำเป็น มคี ำกล่าวที่ต้องเก่ยี วขอ้ งกบั แม่ทพั อย่างไร

ต้องศึกษานักยุทธศาสตร์ในอดีตเกี่ยวกับหลักการ


ทางยุทธศาสตร์ของท่านเหล่านั้น มาวิเคราะห์กับ
สงครามในอดีต รวมท้ังบทเรียนของสงครามในอดีต
แม่ทพั
เมอื่ ได้รบั การวเิ คราะหใ์ ห้ดีแลว้ จะชใ้ี ห้เห็นถงึ ข้อบกพร่อง
และ/หรือข้อดีของสงครามในอดตี เพ่ือนำมาเปน็ ขอ้ เตือนใจ องค์ประกอบของสงคราม (Trinity of War)๑

หรือข้อสังเกตให้กับผู้ที่จะเป็นนักยุทธศาสตร์และผู้นำ ท่ีเคลาสวิทซ์กล่าวว่ามีสามส่วนที่เป็นองค์ประกอบของ
ในอนาคตไดเ้ ป็นอยา่ งดี
สงคราม ได้แก่ รัฐบาล ผู้นำทหาร และประชาชน

ส่ิงหนึ่งที่ได้รับการศึกษา คือการเรียนรู้จากนัก จะเห็นได้ว่าเคลาสวิทซ์ได้ให้ความสำคัญกับแม่ทัพ

ยุทธศาสตร์หรือปราชญ์แห่งสงครามท่ีสำคัญ ๒ ท่าน ที่เป็นผู้นำทหาร ซึ่งจะต้องมีหน้าท่ีในการนำนโยบาย
ได้แก่ คารล์ เคลาสวทิ ซ์ และซนุ วู ซึง่ ทง้ั สองท่านเปน็ ทัง้ ทางการเมืองมาดำเนินการทางการทหารให้เป็นไปตาม
นักการทหารและนักยุทธศาสตร์ที่สำคัญของโลก
วัตถุประสงค์ทางการเมืองท่ีฝ่ายรัฐบาลหรือผู้นำ
โดยเฉพาะทางการทหารท่ัวโลกได้ให้การยอมรับ
ประเทศต้องการ ดังคำกล่าวที่ว่า สงครามเป็นส่วน
ท้งั ปรัชญาหรือหลกั การของทงั้ สองท่านนั้น ยงั คงทนั สมยั ขยายของการเมือง โดยวิธีการอ่ืน “War is an
สามารถนำมาประยุกต์ใช้กับในปัจจุบันและอนาคต
extension politics by other means.” ในส่วนของ
ได้เปน็ อย่างดี แมว้ า่ ในรายละเอยี ดการปฏิบตั ขิ องหลกั การ ซุนวูเอง ยิ่งเห็นความสำคัญของแม่ทัพเป็นอย่างมาก
หรือปรชั ญานั้น ๆ อาจจะมีการเปล่ยี นแปลงไปตามหว้ งเวลา โดยได้กล่าวในบทท่ี ๑ เรื่องกุศโลบายการทำสงคราม
และเทคโนโลยีที่เปล่ียนไปก็ตาม แต่แก่นแท้ของ กล่าวว่า “สงคราม เป็นเรือ่ งใหญข่ องรัฐ คอื วิธีแหง่ การ
คงอยู่หรือล่มสลายของรัฐ เก่ียวพันถึงชีวิตของไพร่พล
และราษฎร ต้องคำนึงถึงส่ิงสำคัญ ๕ เร่ือง คือ ขวัญ

๑ Roots of Strategy Book 2, Library of Cataloging in Publication Data, Stackpole Books, 1987, Page 25.
* ผเู้ ขียนได้เขียนบทความน้ีขณะทเ่ี ข้ารับการศกึ ษาท่วี ิทยาลยั การทัพเรอื รุ่นที่ ๔๕ ปีการศึกษา ๒๕๕๖

14 นาวกิ ศาสตร์  ปีที่ ๙๗ เลม่ ท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗

ภูมิอากาศ ภูมิประเทศ แม่ทัพ และวินัยทหาร๒” และ หมายถึง นโยบายการเมืองจะแทรกอยู่หรือกระจายอยู่
การพิจารณาเปรียบเทียบอีก ๗ ประการ๓ ได้แก่ ผู้นำ ท่ัวในการปฏิบัติการทางทหาร เพื่อเป็นกรอบแนวทาง
ประเทศฝ่ายใดกำจิตใจคนในชาติมากกว่ากัน แม่ทัพ การปฏิบัติของฝ่ายทหาร แต่จะไม่ลงไปยุ่งเกี่ยวกับการ
นายกองฝ่ายใดมีความสามารถมากกว่ากัน เง่ือนไขทาง ปฏิบัติการทางทหาร เช่น การประกอบกำลัง หรือการ
ภูมิศาสตร์ฝ่ายใดได้เปรียบ ฝ่ายใดรักษากฎ ระเบียบ เคลื่อนย้ายกำลัง เป็นต้น ตามคำกล่าวท่ีว่า “Policy ,
วินัย เคร่งครัด กว่ากัน กองทัพฝ่ายใดเข้มแข็งกว่ากัน of course, will not extend its influence to
ทหารหาญฝา่ ยใดไดร้ บั การฝึกมามากกว่ากัน การให้รางวัล operation details.”๕ นับได้ว่าแม่ทัพในสมัย
การลงโทษ ฝ่ายใดมีความยุติธรรมกว่ากัน ซึ่งเป็นเร่ือง เคลาสวิทซ์จำเป็นต้องเข้าใจในวัตถุประสงค์ทางการ
สำคัญทีซ่ ุนวใู ชใ้ นการวิเคราะห์เปรียบเทยี บระหวา่ ง ๒ ฝ่าย เมืองที่จะต้องการจากการทำสงคราม แต่จะต้องไม่ไป
จะสามารถรู้ได้เลยว่าฝ่ายใดควรจะเป็นฝ่ายชนะได
้ ล้วงลูกในการปฏิบัติการทางยุทธวิธีของแม่ทัพ แต่
ในเบ้ืองตน้
แม่ทัพเองจำเป็นต้องปฏิบัติทางทหารให้อยู่ภายใต้
จากข้อมลู ข้างต้น พบว่านกั ยุทธศาสตร์ท้งั สองท่าน กรอบของวัตถปุ ระสงคท์ างการเมอื งที่ตอ้ งการดว้ ย

ได้ให้ความสำคัญกับแม่ทัพเป็นอย่างมาก และหาก
วเิ คราะห์ถงึ ห้วงเวลาในสมัยนน้ั โดยเฉพาะซุนวู ทีเ่ กือบ
๒,๐๐๐ ปีท่ผี า่ นมา การเลือกแมท่ ัพมคี วามสำคัญอยา่ งมาก
ทั้งนี้เนอ่ื งจากเทคโนโลยกี ารส่ือสารต่าง ๆ ยงั ไม่ได้ทนั สมัย
และรวดเร็วเหมือนในปัจจุบัน การควบคุมแม่ทัพของ
ผู้นำประเทศหรือฝ่ายการเมืองน้ันกระทำได้ลำบาก

อีกทั้งการเลือกแม่ทัพในสมัยน้ัน แม่ทัพต้องเป็นทั้ง
นักการเมืองและนักการทหารไปด้วยในตัว เพราะรบั ผิดชอบ
การรบให้ได้รับชัยชนะ จึงต้องมีกรอบการทำการรบ

ต้งั แต่เริ่มสงคราม ระหว่างสงคราม และการยุตสิ งครามดว้ ย
ส่วนเคลาสวิทซ์นั้นประมาณปี ค.ศ.๑๘๓๑ ซึ่งห่างจาก
สมัยของซุนวูเป็นพัน ๆ ปี แม่ทัพสมัยนั้นจำเป็นต้อง
เป็นเจ้าชาย (Prince) เท่าน้ัน ดังน้ัน การทำสงคราม ซุนวู นกั ปราชญช์ าวจนี (๕๐๐ ปี ก่อนครสิ ตกาล)

โดยฝ่ายทหารจำเป็นต้องมีกรอบหรือวัตถุประสงค์ ซุนวูได้มีการกล่าวถึงแม่ทัพไว้อยู่ในหลายบท

ทางการเมืองท่ีชัดเจน เพ่ือมิให้ฝ่ายทหารทำเกิน หลายตอนใน Art of War หรือ Bing-Fa เช่น จากบทที่
ขอบเขตของวัตถุประสงค์ที่ทางฝ่ายการเมืองต้องการ ๑ กุศโลบายการทำสงคราม เช่น การเปรียบเทียบ ๗
ซึ่งเคลาสวิทซ์กล่าวว่า “Policy will permeate all ประการ มีถงึ ๕ ประการ ที่เก่ยี วข้องกับแมท่ พั ๖ ได้แก่
military operation, and it will have a “แม่ทัพนายกองฝ่ายใดมีความสามารถมากกว่ากัน”

continuous influence on them.”๔
- Which of the two generals has most ability?

๒ Roots of Strategy Book 1, Library Congress Cataloging in Publication Data, Stackpole Books, 1985, Page 21.
๓ lbid Page 22.
๔ Root of Strategy Book 2, op.cit., Page 40.
๕ lbid, Page 45.
๖ Roots of Strategy Book 1, op cit., Page 22

นาวิกศาสตร ์ ปีท่ี ๙๗ เลม่ ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ 15

“แม่ทัพฝ่ายใดรักษากฎ ระเบียบ วนิ ยั เครง่ ครดั กว่ากนั ” makes but few calculations beforehand. Thus
- On which side is discipline most rigorously do may calculations lead to victory, and few
enforced? “แม่ทพั ฝ่ายใดไดเ้ สริมสรา้ งกองทัพเข้มแข็ง calculations to defeat: How much more no
กวา่ กัน” - Which army is stronger? “แม่ทพั ฝา่ ยใด calculation at all! It is by attention to this
ได้ฝึกทหารหาญมากกว่ากัน” - On which side are point that I can see who is likely to win or lose.๗

officers and men most highly trained? “แมท่ พั บทที่ ๒ การทำสงคราม กล่าวไว้ว่า “นักรบท่ี
ใดได้ให้รางวัล และการลงโทษ อย่างยุติธรรมกว่ากัน”
ชำนาญศึกจะไม่เกณฑ์ประชาชนมารบหลายครั้ง จะไม่
- In which army is there the greater constancy ขนเสบียงอาหารจากชาติตนหลายคร้ัง แม้ใช้อาวุธจาก
both in reward and punishment?
ชาติตน แต่เสบียงอาหารเอาจากดินแดนข้าศึก การที่
ยังกล่าวไว้อีกว่า “ปกติการคิดอ่านก่อนออกศึก ประเทศชาติต้องยากจนลงเพราะกองทัพ ก็เนื่องจาก
แล้วชนะ หมายถึงผลจากการคิดคำนวณ ๕ ประการ การขนส่งเสบียงอาหารเป็น ระยะทางไกล เพราะถ้า
และเปรียบเทียบ ๗ ประการ แล้วมีทางชนะมากกว่า ก อ ง ทั พ ต้ อ ง ข น เ ส บี ย ง อ า ห า ร เ ป็ น ร ะ ย ะ ท า ง ไ ก ล
ทางแพ้นั่นเอง แต่หากคิดอ่านก่อนออกศึกแล้วไม่อาจ ประชาชนจะยากจนลง ราคาสินค้าบริเวณสนามรบ

ชนะก็หมายถึงผลจากการคิดคำนวณ ๕ ประการ
จะสูงข้นึ เม่ือสนิ คา้ ราคาสูงขนึ้ ทรัพย์สินของประชาชน
และเปรยี บเทียบ ๗ ประการ แล้วมีทางชนะน้อยนน่ั เอง กย็ ่ิงหมดลง เมื่อทรัพยส์ นิ ของประชาชนหมดลง การจะ
ดังนั้น จากการคิดคำนวณก่อนออกศึก ถ้ามีทางชนะ ระดมเสบียงอาหารมาให้ทหาร ก็จะทำได้ยากลำบาก
มากจะชนะ ถ้ามีทางชนะน้อยกว่าก็จะมิอาจชนะ กำลังรบของกองทัพก็จะค่อย ๆ หมดลง” – The
สำหรบั ข้าพเจา้ เพียงสงั เกตดังกลา่ ว กร็ ู้แพช้ นะชดั เจนแล้ว” skillful soldier does not raise a second levy,
- Now the general who wins a battle makes neither are his supply-wapons loaded more
many calculations in his temple are the battle than twice. Bring war material with you from
is fought. The General who loses a battle home, but forage on the enemy. Thus the

๗ lbid Page 23.

16 นาวกิ ศาสตร์  ปีท่ี ๙๗ เล่มที่ ๘ สงิ หาคม ๒๕๕๗

army will have food enough for its needs.๘ ประเทศมิได้เข้าไปแทรกแซงและก้าวก่าย ขุนพลผู้น้ัน
เป็นการกล่าวถึงเรื่องการส่งกำลังบำรุงท่ีแม่ทัพจำเป็น จะได้รับชัยชนะ” - He will win who has military
ตอ้ งให้ความสำคญั ในการรบ
capacity and is not interfered with by the sovereign.
ยังกล่าวอีกว่า “อันการสงครามนั้น จะเป็น บทที่ ๔ ยทุ ธวิธี “ยอดนกั รบ ตั้งม่ันในทีซ่ ง่ึ ไม่มีใคร
ประโยชน์ ก็เพราะความสามารถเผด็จศึกได้รวดเร็ว อาจชนะเขาได้ รอคอยโอกาสซ่ึงใครก็ได้อาจชนะต่อ
ฉับไว แต่จะเกิดหายนะ เพราะปล่อยสงครามยึดเย้ือ ข้าศึกรปู แบบท่ไี ม่มีใครอาจชนะได้อย่ทู ่ี ฝา่ ยเรา รปู แบบ
ฉะน้ัน ผู้เป็นแม่ทัพ คือผู้ท่ีกุมชะตาชีวิตของประชาชน ท่ีใครก็ได้อาจสามารถชนะได้อยู่ท่ีฝ่ายเขาแม้จะเป็น
เป็นผู้ท่ีจะดลบันดาลให้เกิดความเจริญผาสุกหรือความ ยอดนักรบที่สามารถต้ังมั่นในที่ซึ่งไม่มีใครอาจชนะได้

วิบัตแิ กป่ ระชาชน” – Thus it may be known that ก็ไม่สามารถทำให้ข้าศึกต้ังอยู่ในท่ีซึ่งใครใครก็อาจชนะ
the leader of armies is the arbiter of the ได้จึงจำเป็นต้อง รู้จักอดทนรอคอย รูปแบบท่ีไม่มีใคร
people’s fate, the man whom depends อาจชนะได้นั้น เป็นรูปแบบเกี่ยวข้องกับการต้ังรับ

whether the nation shall be in peace or peril.๙ รูปแบบที่ใครก็อาจชนะได้ เป็นรูปแบบเก่ียวข้องกับการรุก
บทที่ ๓ กลยุทธ์ ซุนวูได้มีการกล่าวถึงแม่ทัพไว้ ต้ังรับเน่ืองจากกำลังรบไม่เพียงพอ และการรุก
หลายเรื่อง เช่น “ฉะนั้น มี ๕ สิง่ ท่ีต้องรู้ และเข้าใจเก่ียว เน่ืองจากกำลังรบมีอยู่เพียงพอ นักรบที่ตั้งรับเก่ง
กบั ชยั ชนะ๑๐ ไดแ้ ก่ ขนุ พลผู้ใดสังเกตออกว่า เมื่อไรควร เหมือนซ่อนอยู่ใต้ของใต้แผ่นดิน นักรบที่รุกเก่งเหมือน
รบ และเม่ือไรไม่ควรรบ ขุนพลผู้นั้นจะได้รับชัยชนะ”
เคล่ือนไหวอยู่เหนือของเหนือฟ้า ฉะน้ันจึงอยู่ในท่ี
– He will win who knows when to fight and ปลอดภัย และสามารถเอาชยั เดด็ ขาดไดส้ ำเร็จ” – The
when to not fight. “ขุนพลผู้ใดรู้จักว่า เมื่อมีกำลัง general who is skilled in defense hides in the
พลน้อย ควรใช้กลยุทธ์อย่างไร และเม่ือมีกำลังพลมาก most secret recesses of the earth; he who is
ควรใชก้ ลยุทธอ์ ยา่ งไร ขนุ พลผนู้ ้ันจะไดช้ ยั ชนะตลอดไป” skilled in attack flashes forth from the
– He will win who knows how to handle both topmost heights of heaven. Thus on the other
superior and inferior forces. “ขุนพลที่สามารถ hand we have ability to protect ourselves; on
ประสานจิตใจกำลังพล ให้มีความสมัครสมานสามัคคี the other, a victory that is complete.๑๑

ทุกระดับชั้น จะได้ชัยชนะ” - He will win whose ยงั กล่าวอกี ว่า “ยอดนักรบยอ่ มสามารถทำใหจ้ ติ ใจ
army is animated by the same spirit คนทุกช้นั เปน็ หน่ึงได้ สามารถจดั ระบบ รักษาวนิ ยั และ
throughout all ranks. “ขุนพลท่ีมกี ารเตรยี มกำลังรบ กฎระเบยี บได้ ฉะนนั้ จงึ สามารถตัดสินแพช้ นะได้อย่างอิสระ”
พร้อมสรรพเพื่อรับมือต่อต้านข้าศึก ที่มิได้เตรียมกำลัง – The consummate leader cultivates the
อยา่ งพรอ้ มสรรพ ขุนพลผู้น้ันจะชนะ” - He will win moral law, and strictly adheres to method and
who, prepared himself, waits to take the discipline; thus it is in his power to control success.๑๒

enemy unprepared. “ขุนพลที่มีความสามารถ
บทท่ี ๕ ลักษณะการสัประยทุ ธ์ กลา่ วว่า “ขุนพล

มีอาญาสิทธิ์เฉียบขาดในการคุมกองทัพ โดยผู้นำ ผู้ชำนาญการรบจะสามารถเลือกใช้บุคคลท่ีมีความ

๘ lbid Page 24.
๙ lbid Page 26.
๑๐ lbid Page 28.
๑๑ lbid Page 29.
๑๒ lbid Page 30.

นาวิกศาสตร์  ปที ี่ ๙๗ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ 17

สามารถแตกต่างกัน ให้สำแดงความสามารถตาม และ “ขุนพลจะต้องใช้ความได้เปรียบในการที่อยู่
สถานภาพของสงครามท่ีเขาถนัด” – the Clever ใกล้สมรภูมิ คอยรับมือข้าศึกที่เดินทัพมาจากท่ีไกล”

combatant looks to the effect of combined –To be near the goal while the enemy is still
energy, and does not require too much from far from it, to wait at ease while the enemy is
individuals. Hence his ability to pick out the toiling and struggling, to be well fed while the
right men and to utilize combined energy.๑๓ enemy is famished – this is the art of
ต้องสามารถเลือกใช้คนให้ถูกกับงาน เช่นคำพูดท่ีว่า husbanding one’s strength. เป็นศิลปะการคุม

“Put the right man on the right job.”
อำนาจการสัประยุทธ์

บทที่ ๖ จุดอ่อนและจุดแข็ง กล่าวว่า “ขุนพลท่ีมี และ “ขุนพลจะไม่บุกจู่โจมข้าศึกท่ีต้ังทัพอย่างมี
ความชำนาญในการรุก เพื่อจะรุกก็จะรุกจนข้าศึกไม่ ระเบียบแบบแผน” – To refrain from intercepting
ทราบว่าจะตั้งรับอย่างไรหรือด้านไหนดี เม่ือจะตั้งรับ an enemy whose banners are in perfect order,
ข้าศึกก็ไม่รู้ว่าจะรุกทางด้านไหนดี” – Hence the to refrain from attacking an army drawn up in
general is skillful in attack whose opponent calm and confident array – this is the art of
does not know what to defend; and he is studying circumstances. – เปน็ หลกั ศิลปะการพลกิ
skillful in defense whose opponent does not แพลงกลยุทธ์ตามโอกาส

know what to attack.1๑๔
นอกจากนนั้ ในบทที่ ๘ – ๑๓ นน้ั จะมกี ารกลา่ ว
บทที่ ๗ การแข่งขัน กล่าวว่า “ขุนพลท่ีชำนาญ ถึงแม่ทัพอยู่บ้าง แต่ไม่มีเนื้อหาสาระที่สำคัญและจะ
การรบ จะหลบหลีกการปะทะกับข้าศึกในระหว่างที่ เป็นเพียงทางยุทธวิธีเป็นส่วนใหญ่ จึงไม่ขอกล่าวไว้ใน

จิตใจของฝ่ายข้าศึกห้าวหาญ รอจังหวะจู่โจมข้าศึกใน ท่นี ้มี ุมมองของเคลาสวิทซ์ตอ่ แมท่ ัพ

ระหว่างท่ีเกิดความเหน่ือยหน่าย” – A clever
general, therefore, avoids an enemy when its เคลาสวิทซ์
spirit is keen, but attacks it when it is sluggish นักการทหารชาวปรัสเซยี (ค.ศ.๑๘๑๐ - ๑๘๕๗)
and inclined to return. This is art of studying
moods.๑๕ เป็นศลิ ปะในการคุมจิตใจทหาร

และ “ขุนพลท่ีรู้จักใช้ความเข้มงวดและความเป็น
ระเบียบวินัย รอคอยการจู่โจมข้าศึกที่เกิดความ
แตกแยกระส่ำระสาย ใช้ความเยือกเย็น รอคอยการ
จู่โจมข้าศึกที่เกิดอารมณ์พลุ่งพล่าน” – Disciplines
and calm, to await the appearance of disorder
and hubbub amongst the enemy – this is the
art of retaining self possession. เปน็ หลกั ศิลปะใน
การควบคุมแมท่ ัพนายกอง


๑๓ lbid Page 32.
๑๔ lbid Page 34.
๑๕ lbid Page 40.

18 นาวิกศาสตร ์ ปีที่ ๙๗ เลม่ ท่ี ๘ สงิ หาคม ๒๕๕๗

เคลาสวิทซ์อาจจะมิได้กล่าวถึงแม่ทัพมากนักใน ไม่เคยเข้าสนามรบมาก่อนจะนึกสภาพไม่ค่อยออก

หนังสือ On War ของท่าน แต่สามารถอนุมานได้จาก เม่ือวางแผนมักคิดว่าหน่วยทหารจะปฏิบัติการต่าง ๆ
คำกล่าวที่เขียนไว้ในหนังสือได้ เช่นกล่าวว่า “การสู้รบ ไปตามคุณลักษณะมาตรฐานของหน่วย ซึ่งเสมือน
เปน็ เครอ่ื งมอื สำหรับการเมอื ง” – War is a rational เคร่ืองกล แต่ในความจริงหน่วยทหารประกอบด้วย
instrument of national policy. เป้าหมายทางการ มนุษย์ ปัจเจกบุคคลมีปฏิกิริยาต่ออันตรายและความ
เมือง (Political Objective) คือต้นเหตุที่จูงใจให้ทำ เหนื่อยยากลำบากแตกต่างกัน นอกจากน้ี ความ
สงครามและเป็นกรอบในการกำหนดทั้งเป้าหมายทาง ผันแปรไม่แนน่ อนของสถานการณ์ ลมฟา้ อากาศก็ทำให้
ทหาร และระดบั ความเขม้ ขน้ ของสงคราม และคำกลา่ ว เกิดความฝืดได้ วิธีลดความฝืดสามารถทำด้วยการฝึก
ท่ีว่า “สงครามเป็นเร่ืองของอันตราย การทุ่มเทความ ให้คุ้นเคยกับสภาพที่จำลองให้เสมือนจริง ตลอดจนใช้
พยายาม การสูญเสียบอบซ้ำ ความไม่แน่นอน และ ประโยชน์จากการร่วมปฏิบัติการกับพันธมิตรในสภาวะ
โอกาส ปัจจัยท่ีเป็นตัวแปรสำคัญของชัยชนะ คือ
วิกฤตินอกประเทศ เพื่อสร้างประสบการณ์” เป็นเรื่อง
ไหวพริบปฏิภาณ ในการประมาณสถานการณ์ได้อย่าง จำเป็นท่ีแม่ทัพจำเป็นต้องเข้าใจให้ถ่องแท้ระหว่าง
เหมาะสม ฉบั ไวและเด็ดเดยี่ วมัน่ คง นอกจากนั้นแม่ทพั สงครามในโลกความเป็นจริง (Real War) กับสงคราม
จะต้องมีความรู้ ความเขา้ ใจในนโยบายการสงครามของ ทางทฤษฎี (Theory War)

รัฐอย่างดีด้วย จึงจะดำเนินสงครามไปสู่เป้าหมายท่ีพึง ยังกล่าวอีกว่า “การบรรลุเป้าหมายในสงครามไม่
ประสงค์ได้” สามารถเขา้ ใจได้วา่ ฝ่ายการเมอื งควรตอ้ ง จำเป็นต้องเอาชัยชนะต่อฝ่ายตรงข้ามได้อย่างสมบูรณ์
เรียนรู้การปฏิบัติการทางทหาร และแม่ทัพก็จะต้อง เสมอไป เพียงแต่ทำให้ฝ่ายตรงข้ามไม่เห็นประโยชน์ที่
เข้าใจในความต้องการของฝ่ายการเมืองด้วย แนวคิด
จะสู้รบต่อไป เพราะไม่มีโอกาสจะขัดขืนได้สำเร็จหรือ
ดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าเคลาสวิทซ์ให้ความสำคัญกับฝ่าย ขืนสู้ต่อไปก็จะประสบความเสียหายเกินเกณฑ์ที่ยอมรับได้”
การเมืองเป็นอย่างมาก เพราะการทำสงครามฝ่าย อนมุ านคลา้ ยกับซนุ วูทบี่ อกวา่ ไมค่ วรเอาชนะ จนกระทง่ั
การเมืองหรือรัฐบาลเป็นองค์ประกอบสำคัญหน่ึงของ ฝ่ายข้าศึกไม่มีทางถอย จนต้องต่อสู้อย่างถวายชีวิต
สามเหล่ียมของสงครามซ่ึงการเมืองจะต้องเป็นผู้ที่ หรือเรียกว่าสุนัขจนตรอกน้ันเอง ซ่ึงแสดงให้เห็นใน
ตัดสินใจว่าจะทำสงครามหรือไม่ พร้อมท้ังเหตุผลของ สงครามรวมชาติเยอรมันที่นายพลโมลเก้ต้องการยึด
การทำสงครามและความคุ้มค่าของการทำสงคราม เมืองเวียนนาซ่ึงเป็นเมืองหลวงของออสเตรียในการรบ
ฝ่ายทหารหรือแม่ทัพจะต้องรอโอกาสในการใช้สงคราม Prusso-Austria War (ค.ศ.๑๘๖๖) แตบ่ ิสมาร์กซึ่งเปน็
ให้เกิดประโยชน์ต่อความต้องการทางการเมืองของ นักการเมืองเห็นว่าเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของ
การเมอื งหรอื รฐั บาล และเม่อื ใชส้ งครามจะต้องได้รบั ชัยชนะ
ปรัสเซียคือการรวมชาติเยอรมัน ไม่ได้ต้องการเป็นศัตรู
ด้านยุทธศาสตร์ เคลาสวทิ ซ์ กล่าววา่ “ในสงคราม ถาวรกับออสเตรีย หรือไม่ต้องการให้ออสเตรียต้องสู้
ขวัญและกำลงั ใจ (Moral Force) เป็นอำนาจกำลังรบท่ี อย่างถวายชีวิตเพ่ือปกป้องเมืองหลวงของตน จึงให้ยุติ
สำคัญย่ิงและจะหลอมกลมกลืนไปกับอำนาจกำลังรบท่ี สงคราม แล้วหนั กบั ไปทำสงครามกบั ฝร่ังเศสในสงคราม
มีตัวตน (Physical Force)” หมายถึงว่าแม่ทัพควรให้ Fransco-Prussia War (ค.ศ.๑๘๗๐) เพื่อให้เกิด
ความสำคัญกบั กำลังรบทไี่ ม่มตี ัวตน น้ันก็คือขวญั นั้นเอง
ชาตินิยมในเยอรมันทางตอนใต้ จนทำให้รัฐบาวาเรียที่
เคลาเสวิทซ์กล่าวว่า “การปฏิบัติการต่าง ๆ
เป็นรฐั ทางตอนใต้เร่มิ สงครามกบั ฝรั่งเศสก่อนเสยี ด้วยซำ้
ในสนามรบต้องเอาชนะความฝืด (Friction of War) ด้านยุทธวธิ ี กล่าววา่ “การต้งั รบั เป็นวิธกี ารดำเนนิ
เหมือนลงไปเดนิ ในนำ้ ยอ่ มจะเคลื่อนไหวไม่สะดวก ผ้ทู ี่ สงครามท่ีแข็งแรงกว่า แต่ควรใช้เพียงตราเท่าที่ฝ่ายเรา

นาวิกศาสตร์  ปีที่ ๙๗ เล่มที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ 19

ยังไม่พร้อมเท่านั้น เม่ือใดที่เข้มแข็งเพียงพอจะต้อง และมีคำกล่าวท่ีว่า “ความเป็นเลิศของแม่ทัพอยู่ท่ี
เปล่ียนเป็นฝ่ายรุก เพอื่ บรรลุวัตถุประสงค์เชิงบวกโดยเร็ว” ความสามารถในการวางแผนเลือกพ้ืนที่และจังหวะเวลา
- the defense of our own until better times; ในการดำเนินกลยุทธ์ เพ่ือรวมกำลังและเคร่ืองมือเข้า
this is the usual case in defensive war: waiting ปฏิบัติการให้ได้เปรียบ ตลอดจนการขยายผลจาก
till more favorable times implies. แม่ทัพควรรู้ว่า ชัยชนะที่ได้” คล้ายกับซุนวูท่ีกล่าวว่าศิลปะการเลือก
เม่ือใดควรรกุ และเม่อื ใดควรรบั แต่วิธีการทด่ี ีทสี่ ดุ ทีจ่ ะ จังหวะและโอกาสในการทำการรบ

สามารถเอาชนะการรบไดค้ อื ยทุ ธวธิ กี ารรกุ


การเทยี บเคยี ง


ระดบั ยทุ ธศาสตร์

เคลาสวิทซ์
ซนุ วู
หมายเหตุ

(ค.ศ.๑๘๑๐ - ๑๘๕๗)
(๕๐๐ BC.)


- แม่ทัพก็จะต้องเข้าใจในความต้องการของฝ่าย - ขุนพลท่ีมีความสามารถ มีอาญาสิทธิ์เฉียบขาดในการ วตั ถปุ ระสงค์การทำสงคราม

การเมือง และทางฝ่ายการเมืองต้องไม่ก้าวก่าย คุมกองทัพ โดยผู้นำประเทศมิได้เข้าไปแทรกแซงและ

กิจการของฝา่ ยทหาร
ก้าวก่าย ขุนพลผนู้ นั้ จะไดร้ บั ชัยชนะ

- แม่ทัพต้องรู้การบรรลุเป้าหมายในสงคราม


โดยไมจ่ ำเป็นต้องเอาชัยชนะต่อฝ่ายตรงข้ามเสมอไป



- แม่ทัพต้องให้ความสำคัญขวัญและกำลังใจ - ขุนพลทช่ี ำนาญการรบ จะหลบหลกี การปะทะกับข้าศกึ ขวัญ

(Moral Force)
ในระหวา่ งทจี่ ิตใจของฝ่ายขา้ ศกึ ห้าวหาญ


รอจงั หวะจู่โจมข้าศกึ ในระหวา่ งที่เกิดความเหนอ่ื ยหนา่ ย


- แม่ทัพต้องเข้าใจถ่องแท้เร่ืองของสงครามแห่ง
ความฝดึ

ความจริงทม่ี ีความฝืด (Friction of War)



นักรบที่ชำนาญศึกจะไม่เกณฑ์ประชาชนมารบหลายครั้ง สง่ กำลังบำรุง

จะไม่ขนเสบียงอาหารจากชาติตนหลายครง้ั


20 นาวิกศาสตร์  ปีท่ี ๙๗ เลม่ ที่ ๘ สงิ หาคม ๒๕๕๗

ระดับยทุ ธการ/ยทุ ธวธิ ี

เคลาสวิทซ
์ ซนุ วู
หมายเหตุ

(ค.ศ.๑๘๑๐ - ๑๘๕๗)
(๕๐๐ BC.)


แม่ทพั ควรร้วู า่ เมื่อใดควรรุก และเมอื่ ใดควรรบั แต่ แม่ทพั ต้องรวู้ า่ การสงครามน้นั จะเป็นประโยชน์ กเ็ พราะ การรบตอ้ งกระทำอยา่ งรวดเร็ว

วิธีการที่ดีท่ีสุดที่จะสามารถเอาชนะการรบได้คือ ความสามารถเผด็จศึกได้รวดเร็วฉับไว แต่จะเกิดหายนะ และรนุ แรง

ยุทธวธิ ีการรุก
เพราะปลอ่ ยสงครามยึดเยือ้




ความเป็นเลิศของแม่ทัพอยู่ท่ีความสามารถในการ - ขุนพลผู้ใดสังเกตออกว่า เมื่อไรควรรบ และเม่ือไรไม่ การรอคอยจงั หวะและโอกาส

วางแผนเลือกพื้นท่ีและจังหวะ เวลาในการดำเนิน ควรรบ ขนุ พลผนู้ ั้นจะได้รับชยั ชนะ

กลยุทธ์ เพื่อรวมกำลังและเคร่ืองมือเข้าปฏิบัติการ - ขุนพลที่มีความชำนาญในการรุก เพื่อจะรุกก็จะรุกจน
ใหไ้ ด้เปรยี บ
ข้าศึกไม่ทราบว่าจะตั้งรับอย่างไรหรือด้านไหนดี เม่ือจะ

ตง้ั รบั ขา้ ศึกกไ็ ม่รวู้ า่ จะรุกทางดา้ นไหนดี

- ยอดนักรบ ตัง้ มัน่ ในท่ซี ่ึงไมม่ ีใครอาจชนะเขาได้ รอคอย
โอกาสซึ่งใครก็ได้อาจชนะต่อข้าศึกรูปแบบที่ไม่มีใครอาจ
ชนะได้อยู่ท่ีฝ่ายเรา รูปแบบท่ีใครก็ได้อาจสามารถชนะได้
อยู่ท่ีฝ่ายเขาแม้จะเป็นยอดนักรบที่สามารถ ตั้งม่ันในท่ีซึ่ง
ไม่มีใครอาจชนะได้ ก็ไม่สามารถทำให้ข้าศึกต้ังอยู่ในท่ีซ่ึง
ใครใครกอ็ าจชนะไดจ้ งึ จำเปน็ ตอ้ งร้จู กั อดทนรอคอย

- ขุนพลผู้ใดรู้จักว่า เม่ือมีกำลังพลน้อย ควรใช้กลยุทธ์
อย่างไร และเม่ือมีกำลังพลมาก ควรใช้กลยุทธ์อย่างไร
ขนุ พลผนู้ น้ั จะไดช้ ยั ชนะตลอดไป

- ขุนพลที่มีการเตรียมกำลังรบพร้อมสรรพเพื่อรับมือต่อ
ต้านข้าศึก ท่ีมิได้เตรียมกำลังอย่างพร้อมสรรพ ขุนพล

ผ้นู นั้ จะชนะ

- ขุนพลจะต้องใช้ความได้เปรียบในการท่ีอยู่ใกล้สมรภูมิ
คอยรับมอื ขา้ ศึกทเี่ ดนิ ทพั มาจากทไี่ กล

- ขุนพลจะไม่บุกจู่โจมข้าศึกท่ีตั้งทัพอย่างมีระเบียบ
แบบแผน



- ยอดนักรบย่อมสามารถทำให้จิตใจคนทุกช้ันเป็นหนึ่งได้ การบรหิ ารงานบุคคล

สามารถจัดระบบ รักษาวินัย และกฎระเบียบได้ ฉะน้ัน
จึงสามารถตัดสินแพ้ชนะได้

- ขุนพลผู้ชำนาญการรบจะสามารถเลือกใช้บุคคลที่มี
ความสามารถแตกต่างกัน ให้สำแดงความสามารถตาม
สถานภาพของสงครามทเี่ ขาถนัด



ขุนพลที่รู้จักใช้ความเข้มงวดและความเป็นระเบียบวินัย ระเบียบวินยั

รอคอยการจโู่ จมข้าศกึ ทเี่ กิดความแตกแยกระส่ำระสาย



นาวกิ ศาสตร ์ ปีท่ี ๙๗ เลม่ ที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๗ 21

บทสรปุ กรอบดังกล่าว ซึ่งสอดคล้องกับโลกแห่งความเป็นจริง
เคลาสวิทซ์และซุนวูมีแก่นแท้ในการทำสงครามที่ ในปจั จุบัน ทก่ี ารเมืองจะตอ้ งนำการทหาร การทหารจะ
คลา้ ยกัน คอื ไมอ่ ยากจะทำสงคราม เพราะสงครามจะ เปน็ เครอื่ งมอื หนง่ึ ของรฐั บาลหรือฝา่ ยการเมอื ง อย่างไร
ทำความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงให้กับประเทศชาต ิ
ก็ตามการวิเคราะห์เปรียบเทียบเร่ืองแม่ทัพของ ๒

แต่สงครามจะเป็นเครื่องมือสุดท้ายท่ีจะต้องกระทำ นักยุทธศาสตร์ดังกล่าว มีความแตกต่างกันเชิงของ

และเมื่อจำเป็นต้องเลือกใช้สงครามแล้ว ต้องรบให้เกิด หว้ งเวลาทีแ่ ตกต่างกนั แม้ว่าจะเป็นอย่างนนั้ แต่การทีไ่ ด้
ชัยชนะด้วยวิธีการท่ีรุนแรงและรวดเร็วตามท่ีเคลาสวิทซ์ ศึกษาหลักการท่ีเกี่ยวข้องกับแม่ทัพในมุมมองต่าง ๆ
กล่าวไว้ การเลือกใช้แม่ทัพในสมัยก่อนจำเป็นต้องเลือก และนำมาวิเคราะห์นับว่าเป็นประโยชน์ต่อการศึกษา
แม่ทัพท่ีจำเป็นต้องเข้าใจในบริบททางการเมือง
การทำสงคราม โดยเฉพาะอย่างยงิ่ แมท่ พั ซึง่ มีความนยั
เช่น ความต้องการทางการเมืองที่มอบให้ฝ่ายทหาร
สำคัญอย่างใหญ่หลวงในการควบคุม กำกับดูแลการ
นำไปเป็นกรอบในการปฏบิ ตั กิ ารทางทหาร ในขณะเดยี วกนั ปฏิบัติการทางทหารท้ังปวง จึงนับว่ามีประโยชน์อย่าง
ฝ่ายทหารเองก็ต้องมีความเข้าใจในความต้องการของ มากในการเลือกแม่ทัพที่มีความรู้ ความเข้าใจใน
ฝ่ายการเมอื งเชน่ กนั
สงคราม ดังคำล่าวซุนวูที่ว่า “สงคราม เป็นเร่ืองใหญ่
ท้ังสองท่านให้ความสำคัญกับแม่ทัพสอดคล้องใกล้ ของรัฐ คือวิธีแห่งการคงอยู่หรือล่มสลายของรัฐ

เคียงกัน เพียงแต่มีข้อสังเกตว่าซุนวูจะให้ความสำคัญ เกย่ี วพันถึงชวี ิตของไพร่พลและราษฎร”

อย่างมากกับการเลือกแม่ทัพ เพราะแม่ทัพในสมัยน้ัน

จะเป็นทั้งนักการเมืองและนักการทหารพร้อมกันด้วย เอกสารอ้างอิง
จะรับผิดชอบทุกสิ่งทุกอย่างในการรบ ตั้งแต่เร่ิมทำ ตำราพิชัยสงครามซุนวู แปลจากข้อเขียนดั้งเดิมของ

สงครามจนกระท่ังยุติสงคราม ส่วนเคลาสวิทซ์ท่ีความ ซนุ วู โดย เธียรชยั เอ่ยี มวรเมธ

เป็น Realism จะมีการเมืองเข้ามาเป็นองค์ประกอบ Roots of Strategy Book 2, Library of Congress
หน่ึงของสงครามตามหลักการขององค์ประกอบของ Cataloging in Publication Data, Stackpole
สงคราม (Trinity of War) โดยแม่ทัพจึงมีความสำคัญ Books, 1987

ในการปฏิบัติการทางการทหารในระดับยุทธการและ Roots of Strategy Book 1, Library of Congress
ยุทธวิธี แต่จะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของของฝ่าย Cataloging in Publication Data, Stackpole
การเมือง ท่ีมีการกำหนดวัตถุประสงค์ทางการเมืองใน Books, 1985

การทำสงครามให้กับแม่ทัพ เพ่ือให้ดำเนินการภายใต้

22 นาวิกศาสตร ์ ปที ่ี ๙๗ เล่มท่ี ๘ สงิ หาคม ๒๕๕๗


Click to View FlipBook Version