The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มแผนปฏิบัติราชการรายปี 2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worathan pankhian, 2024-01-16 21:39:49

เล่มแผนปฏิบัติราชการรายปี 2567

เล่มแผนปฏิบัติราชการรายปี 2567

การจัดทําแผนปฏิบัติราชการรายปีพ.ศ.๒๕๖๗ ของสํานักงานพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ เป็นการดําเนินการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562 ที่กําหนดให้หน่วยงานของรัฐจัดทํา แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานให้สอดคล้องกับเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยวัตถุประสงค์ของการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ เพื่อใช้เป็นแนวทาง ปฏิบัติราชการให้บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย รวมถึงกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานและ การเบิกจ่ายงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องขอขอบคุณทุกกลุ่มงานในสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดนครสวรรค์ที่ให้ความร่วมมือในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการรายปีพ.ศ.2567 และมุ่งหวัง ว่าแผนปฏิบัติราชการรายปีพ.ศ.๒๕๖7 ฉบับนี้จะเป็นกรอบทิศทางในการขับเคลื่อนภารกิจงานให้ เป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมุ่งหวังผลสัมฤทธิ์ สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ธันวาคม 2566 ค ำน ำ ก


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.๒๕๖7 ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ เป็นกรอบทิศทางการดําเนินงาน เพื่อปฏิบัติราชการให้บรรลุ ผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย รวมถึงกํากับติดตามประเมินผลการดําเนินงานและการเบิกจ่าย งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ แผนปฏิบัติราชการรายปีพ.ศ. ๒๕๖7 ของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ จัดทําขึ้นโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในองค์กร ในสังกัด สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ที่ร่วมกันทบทวนภารกิจ ผ่าน นโยบายของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ภายใต้แผนปฏิบัติราชการสําคัญ ของกระทรวงพุ่งเป้า 4 เรื่อง ดังนี้ 1) แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๑ พัฒนาศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบัน ครอบครัวอย่างยั่งยืน 2) แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๒ สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสําหรับ คนทุกช่วงวัย 3) แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 3 พัฒนาทุนทางสังคม สร้างการมีส่วนร่วมเสริมเศรษฐกิจ ฐานราก สู่การเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน ๔) แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 4 มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ข บทสรุปผู้บริหาร


สำรบัญ ค าน า ก บทสรุปผู้บริหาร ข สารบัญ ง ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน สนง.พมจ.นว. 1 ➢ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ➢ อํานาจหน้าที่ สนง.พมจ.นว ➢ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร ส่วนที่ ๒ นโยบายขับเคลื่อนงานของรัฐมนตรีว่าการ 12 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ส่วนที่ 3 นโยบายการขับเคลื่อนงานของปลัดกระทรวง 16 การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ➢ ทิศทางยุทธศาสตร์ พม. ➢ นโยบาย พม. ➢ ยุทธศาสตร์พุ่งเป้า ส่วนที่ 4 แผนปฏิบัติราชการประจ าปีรายปี พ.ศ.2567 22 ➢ กรอบความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ พม. ➢ แผนปฏิบัติราชการรายปีของ สนง.พมจ.นว ส่วนที่ ๕ ภาคผนวก 35 ➢ กฎหมายในภารกิจกระทรวง พม. ➢ ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการทํางาน ง สารบัญ หน้า


ส ่ วนท ี ่ ๑ ข ้ อม ู ลพ ื ้ นฐาน สนง.พมจ.นว. วิสัยทัศน์ : เสริมพลัง สร้างโอกาส พัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย พันธกิจ : 1. พัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมสู่การปฏิบัติ ๒. ส่งเสริม พัฒนากลไก และบูรณาการภาคีเครือข่ายทางสังคมทุกภาคส่วน และทุกระดับ ๓. ส่งเสริมการวิจัย งานวิชาการ และพัฒนานวัตกรรมทางสังคมเพื่อยกระดับ คุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย ๔. พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง ค่านิยมองค์กร : “อุทิศตน อาสางาน เอื้ออาทร อํานวยประโยชน์สุข” ประเด็นยุทธศาสตร์ : 1. พัฒนานโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัยแบบพุ่งเป้า 2. ยกระดับการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แบบบูรณาการ 3. พัฒนาระบบสวัสดิการและนวัตกรรมทางสังคม เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต คนทุกช่วงวัย 4. ยกระดับการพัฒนาองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับยุคดิจิทัล ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ 1


2


3 โครงสร้างบุคลากร ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์


4


5


6


สํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสรรค์ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด มีหน้าที่และอ านาจ ดังต่อไปนี้ (๑) จัดทํานโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด รวมทั้งรายงานสถานการณ์ทางสังคม และเสนอแนะแนวทางแก้ไข (๒) ประสานและจัดทําแผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในระดับจังหวัด ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง (๓) ส่งเสริมและประสานการดําเนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมายของ หน่วยงานในกระทรวง (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานกับองค์กรเครือข่ายในจังหวัดทั้งภาครัฐและ ภาคเอกชน (๕) ส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมทั้งการส่งต่อให้หน่วยงาน อื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนที่มีหน้าที่และอํานาจในการจัดสวัสดิการสังคม (๖) กํากับดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสํานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดสาขา และหน่วยงานในสังกัดกระทรวงให้ดําเนินการตามกฎหมาย นโยบายของกระทรวง และติดตามและประเมินผลแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบของส่วน ราชการ และหน่วยงานสังกัดกระทรวงในระดับจังหวัด (๗) เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในระดับจังหวัด (๘) เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ รวมทั้งความก้าวหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัติงานของกระทรวง (๙) รับเรื่องราวร้องทุกข์และแก้ไขปัญหาสังคมในระดับจังหวัด (๑๐) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ปลัดกระทรวง มอบหมายให้ไว้ ณ วันที่มอบหมาย หน้าที่และอ านาจ 7


กลุ่มนโยบายและ วิชาการ กลุ่มการพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ ศูนย์บริการคนพิการ ฝ่ายบริหารทั่วไป -ศึกษา วิเคราะห์ และ รายงานสถานการณ์ทาง สังคมและเศรษฐกิจเพื่อการ กําหนดนโยบายระดับ จังหวัดพร้อมทั้งเสนอแนะ แนวทางแก้ไข -ศึกษา วิเคราะห์และจัดทํา ยุทธศาสตร์การพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัด - ประสานละจัดทําแผนงาน โครงการและกิจกรรมด้าน การพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์จังหวัดให้ เป็นไปตามแนวนโยบายของ กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ - เป็นศูนย์ข้อมูลด้านการ พัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ในระดับ จังหวัด - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ความก้าวหน้าทางวิชาการ และผลการปฏิบัติราชการ ของกระทรวงฯ - ปฏิบัติงานร่วมกันหรือ สนับสนุนการปฏิบัติของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย - ส่งเสริมและประสานงานการ ดําเนินงานการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมายของ หน่วยงานในกระทรวง - ส่งเสริม สนับสนุน และ ประสานการดําเนินงานกับ องค์กรเครือข่ายในจังหวัด ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน - รณรงค์ให้มีการดําเนินกิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและ ความมั่นคงของมนุษย์ - งานส่งเสริมประสานงานและ ดําเนินการช่วยเหลือผู้ประสบ ปัญหาทางสังคม - ปฏิบัติงานร่วมกันหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงานของ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ ได้รับมอบหมาย - ดําเนินการเกี่ยวกับงาน สารบรรณ งานธุรการ งาน พัสดุ ยานพาหนะ และ อาคารสถานที่ - ดําเนินการเกี่ยวกับงาน การเจ้าหน้าที่และการ พัฒนาบุคลากร - ดําเนินการเกี่ยวกับ งบประมาณการเงิน และ บัญชี -ปฏิบัติงานร่วมกันหรือ สนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย - สํารวจ ศึกษา วิเคราะห์ และติดตาม สภาพและปัญหาเกี่ยวกับคนพิการใน เขตพื้นที่จังหวัด - ประสาน คัดกรอง และส่งต่อคนพิการ หรือผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะพิการให้แก่ หน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้รับการดูแล - ประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงาน ของรัฐหรือเอกชนที่เกี่ยวข้องเพื่อนํา นโยบาย และยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ และจัดทําแผนส่งเสริมและพัฒนา คุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัด - จัดทําทะเบียน ฐานข้อมูล และ ให้บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายในจังหวัด - ส่งเสริม สนับสนุน กํากับ ดูแล และ อํานวยความสะดวก ตลอดจนบริการ ทางวิชาการแก่ศูนย์องค์กรด้านคนพิการ หรือองค์กรอื่นใด เพื่อบริการแก่คน พิการให้ได้มาตรฐาน - ให้บริการความช่วยเหลือเพื่อให้คน พิการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิทธิ ตามที่กฎหมายกําหนดเฉพาะในกรณีไม่ มีศูนย์ให้บริการในเรื่องนั้นๆ - ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และ รายงานเกี่ยวกับการได้รับสิทธิประโยชน์ ของคนพิการ รวมถึงดําเนินการเกี่ยวกับ การขจัดการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม ต่อคนพิการตามพระราชบัญญัตินี้หรือ กฎหมายอื่น ตามที่สํานักงานมอบหมาย - ปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายวิชาการและ เลขานุการของคณะอนุกรรมการส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจํา จังหวัด - ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กําหนดไว้ใน พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น หรือ ตามคณะกรรมการหรือสํานักงาน มอบหมาย โครงสร้างหน่วยงาน สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ 8


งบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ 1) งบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2567 หน่วยงาน งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท) สํานักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ 3,263,795.00 กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ 2,840,800.00 กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว 353,450.00 กรมกิจการผู้สูงอายุ 5,098,000.00 กรมกิจการเด็กและเยาวชน 2,399,900.00 กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 467,000.00 รวม 12,023,045.00 2) งบประมาณสนับสนุนจากกองทุน หน่วยงาน งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท) 1. กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม 457,560.00 2. กองทุนคุ้มครองเด็ก 291,250.00 3. กองทุนผู้สูงอายุ 1,176,327.00 4. กองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ - 5. กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 23,933,650.00 รวม 28,858,787.00 9


10 23% 20% 2% 35% 17% 3% งบประมาณที่ได้รับจัดสรร (บาท) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมกิจการเด็กและเยาวชน กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ


11 2%1% 4% 0% 93% งบประมาณสนับสนุนจากกองทุน กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนคุ้มครองเด็ก กองทุนผู้สูงอายุ กองทุนเพื่อการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ


ส ่ วนท ี ่ ๒ นโยบายขับเคลื่อนงานของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ เสริมพลัง 1) สานพลังหุ้นส่วนทางสังคมในการขับเคลื่อนงานด้านสังคม 2) ขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาค้ามนุษย์สู่ Tier 1 3) Climate Change กับความมั่นคงของมนุษย์ 4) ผลักดันความร่วมมือด้านสังคมในเวทีระหว่างประเทศ 5) ส่งเสริมความเท่าเทียมของคนทุกกลุ่ม สร้างโอกาส 1) ส่งเสริมความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย 2) ส่งเสริมการจ้างงานและการมีงานทําของกลุ่มเปราะบาง 3) สร้างสังคมและสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรสําหรับคนทุกช่วงวัย 4) จัดตั้งศูนย์เร่งรัดจัดการสวัสดิภาพประชาชน (ศรส.) Together Possible PSS : Precision,Speed,impactful Scale แม่นย า รวดเร็ว สร้างการเปลี่ยนแปลง 12


พัฒนาคนทุกช่วงวัย 1) พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน บันทึกข้อมูล Mso-Logbook ครบถ้วน และเชื่อมโยงศูนย์ช่วยเหลือสังคมตําบล 2) พัฒนาทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนในศตวรรษที่ 21 3) ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้เต็มศักยภาพ 4) เตรียมความพร้อมครอบครัวว และส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวอย่าง เหมาะสม 5) ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทสตรีด้านการพัฒนาสังคม 6) ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกมิติ 7) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการในทุกมิติ 8) ยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสําหรับคนทุกช่วงวัย 9) ยกระดับสถานรองรับทุกกลุ่มเป้าหมาย 13


14


15


ส ่ วนท ี ่ ๓ นโยบายการขับเคลื่อนงานของปลัดกระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พม.มุ่งมั่นดําเนินการภารกิจตามนโยบายรัฐบาลยุทธศาสตร์ชาติเผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ ๓ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดังนี้ ๑. ยุทธศาสตร์ชาติมีประเด็นยุทธศาสตร์ที่ส าคัญ ๔ ประเด็น ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ด้าน ความมั่นคง ๒) ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์๓) ยุทธศาสตร์ที่ ๔ การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมและ ๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การปรับสมดุลและพัฒนาระบบ บริหารจัดการภาครัฐ ๒. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๓ มีหมุดหมายที่สําคัญ ๔ หมุดหมาย ได้แก่ ๑) หมุดหมายที่ ๘ ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน ๒) หมุด หมายที่ ๙ ไทยมีความยากจนข้ามรุ่นลดลงและคนไทยทุกคนมีความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอ เหมาะสม ๓) หมุดหมายที่ ๑๒ ไทยมีกําลังคนสมรรถะสูง มุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนา แห่งอนาคต และ ๔) หมุดหมายที่ ๑๓ ไทยมีภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และตอบโจทย์ประชาชน โดยคาดหวังว่าคนไทยทุกช่วงวัยได้รับความคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอต่อการดํารงชีวิตและครัวเรือน ยากจนข้ามรุ่นมีโอกาสในการเลื่อนสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมประชาชนเข้าถึงโอกาสและความ เสมอภาคทางสังคม ตลอดจนได้รับการพัฒนาศักยภาพทุกช่วงวัย ๓. เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน มีเป้าหมายส าคัญ ๗ ข้อ ได้แก่ ๑) ยุติความยากจนทุกรูปแบบ ในทุกที่ ๒) บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่มบทบาทของสตรีและเด็กหญิงทุกคน ๓) ส่งเสริม การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่องครอบคลุมและยั่งยืน การจ้างงานเต็มที่และมีผลิตภาพและการ มีงานที่มีคุณค่าสําหรับทุกคน ๔) ลดความไม่เสมอภาคภายในและระหว่างประเทศ ๕) ทําให้เมืองและ การตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุมปลอดภัยยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลงและยั่งยืน ๖) ปฎิบัติ การอย่างเร่งด่วนเพื่อต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและผลกระทบที่เกิดขึ้น และ ๗) ส่งเสริม สังคมที่สงบสุขและครอบคลุม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรม และสร้างสถาบันที่ มีประสิทธิผล รับผิดชอบ และครอบคลุมในทุกระดับ (ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน) 16


ทิศทางยุทธศาสตร์ พม. วิสัยทัศน์ : ประชาชนเข้าถึงโอกาสและการคุ้มครองทางสังคม มีความมั่นคงในชีวิต พันธกิจ : 1) เสริมสร้างศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบัน ครอบครัว 2) เสริมสร้างโอกาสและการคุ้มครองทางสังคมอย่างเท่าเทียม 3) ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและเป็นหุ้มนส่วนในการ พัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 4) ยกระดับองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงด้วยธรรมาภิบาลและ เทคโนโลยีดิจิทัล 17


๑) คนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสและการพัฒนาศักยภาพอย่างเต็มที่และ ครอบครัว ๒) ไทยมีความเข้มแข็ง และสามารถพึ่งพาตนเองได้ ๓) ประชาชนทุกช่วงวัยด้รับการคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอต่อการตํารงชีวิต องค์กรเครือข่ายมีความเข้มแข็งและร่วมเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาสังคม อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ๔) องค์กร พม.ก้าวสู่องค์กรยุคติจิทัสมีผลสัมฤทธิ์สูง และบุคลากรมีทักษะ ที่จําเป็นในการขับเคลื่อนงานในศตวรรษที่ ๒๑ เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์พุ่งเป้า 4 ด้าน 1) พัฒนาศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัวอย่างยั่งยืน 2) สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสําหรับคนทุกช่วงวัย 3) พัฒนาทุนทางสังคม สร้างการมีส่วนร่วม เสริมเศรษฐกิจฐานราก สู่การเป็น หุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 4) มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ในยุคดิจิทัล 18


รัฐบาลมีการกําหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินมุ่งมั่นจะสร้างความสามัคคี ปรองดอง ให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งจะนําไปสู่ความร่วมมือกันในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ การเมืองการปกครองของประเทศให้ก้าวหน้าเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนทุกคน ซึ่งกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ได้มีการกําหนดนโยบายที่สอดคล้องกับนโยบายการบริหาร ราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ชาติ๒๐ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗0) และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อพัฒนา ประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้าอย่างยั่งยืนประชาชนมีความมั่นคงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีโดยมุ่งเน้น การเสริมสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมการพัฒนาคนทุกช่วงวัย การเสริมสร้างความ เข้มแข็งของเครือข่าย และการบูรณาการความร่วมมือกับทุกภาคส่วน ซึ่ง พม.จะมีการขับเคลื่อน นโยบาย ทั้งในการขับเคลื่อนงานเชิงกลุ่มเป้าหมายและเชิงประเด็น โดยมุ่งเน้นการเสริมพลัง สร้าง โอกาส และพัฒนาคนทุกช่วงวัย ควบคู่กับวิธีการทํางานที่มุ่งเน้นความแม่นยํา รวดเร็วและสร้างการ เปลี่ยนแปลง ดังนี้ 1) การขับเคลื่อนงานเชิงกลุ่มเป้าหมาย 2) การขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น 3) ยกระดับการให้บริการประชาชน นโยบาย พม. 19


การขับเคลื่อนงานเชิงกลุ่มเป้าหมาย 1) ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้เต็มศักยภาพ 2) พัฒนาทักษะชีวิตเด็กและเยาวชนในศตวรรษที่ ๒๑ 3) การเตรียมความพร้อมครอบครัวและส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว อย่างเหมาะสม 4) ส่งเสริมและพัฒนาบทบาทสตรีด้านการพัฒนาสังคม 5) ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกมิติ 6) ส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการในทุกมิติ 7) ส่งเสริมการเท่าเทียมของคนทุกกลุ่ม การขับเคลื่อนงานเชิงประเด็น 1) ส่งเสริมความมั่นคงด้านที่อยู่อาศัย 2) ยกระดับการคุ้มครองทางสังคมสําหรับคนทุกช่วงวัย 3) ขับเคลื่อนการป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ สู่ Tler๑ 4) พัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือน 5) ส่งเสริมการจ้างงานและการมีงานทําของกลุ่มเปราะบาง 6) ผลักดันความร่วมมือด้านสังคมของไทยในเวทีระหว่างประเทศ 7) สานพลังหุ้นส่วนทางสังคมในการขับเคลื่อนงานด้านสังคม 8) สร้างสังคมและสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรสําหรับคนทุกช่วงวัย 9) Climate Change กับความมั่นคงของมนุษย์ 10) ยกระดับสถานรองรับทุกกลุ่มเป้าหมาย 11) จัดตั้งศูนย์เร่งรัดจัดการสวัสดิภาพประชาชน (ศรส.) (Human Security Emergency Management Center : HuSEC) 20


1) เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการประชาชนในยุคดิจิทัล 2) ส่งเสริมงานวิจัยและพัฒนาด้านสังคม ยกระดับการให้บริการประชาชน 21


ส ่ วนท ี ่ ๔ แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 ๑. ความมั่นคง ๑๑. การพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วง ชีวิต 1.ความ มั่นคง 10 การปรับเปลี่ยน ค่านิยมและ วัฒนธรรม 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะ ที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้ อย่างยั่งยืน แนวทางการพัฒนาที่ 3 พัฒนาคุณภาพชีวิตและ ครอบครัว แผนปฏิบัติราชการ กระทรวง พม. 5 ปี ประชาชนเข้าถึงโอกาส และการคุ้มครองทางสังคม มีความมั่นคงในชีวิต พันธกิจ 1. เสริมสร้างศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว 2.เสริมสร้างโอกาสและการคุ้มครองทางสังคมอย่างเท่าเทียม 3. ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมและเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน 4. ยกระดับองค์กรให้มีผลสัมฤทธิ์สูงด้วยธรมาภิบาลและเทคโนโลยีดิจิทัล 2. สร้างโอกาสและ ยกระดับการคุ้มครองทาง สังคมสําหรับคนทุกช่วงวัย 3.พัฒนาทุนทางสังคมสร้างการมีส่วน ร่วมเสริมเศรษฐกิจฐานรากสู่การเป็น หุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 4.มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะและ ผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงในยุคติจิทัล ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ๓. การพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ๔. การสร้างโอกาสและ ความเสมอภาคทางสังคม ๖.การปรับสมดุฃและพัฒนาระบบ บริหารจัดการภาครัฐ กรอบความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนปฏิรูปสังคมฉบับปรับปรุง และร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ แผนปฏิบัติราชการกระทรวง พม. 5 ปี กับ แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 สนง.พมจ.นว. แผนแม่บท 23 การวิจัย และพัฒนา นวัตกรรม ๒๐. การบริการ ประชาชนและ ประสิทธิภาพภาครัฐ ๑๕. พลังทาง สังคม ๑๗. ความเสมอภาค และหลักประกันสังคม แผน ระดับที่ ๑ แผน ระดับที่ ๒ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับทั่ ๑๓ พ.ศ.๒๕๖๖ - ๒๕๗๐ 9.ความยากจนข้ามรุ่นลดลง และความคุ้มครองทางสังค เพียงพอ เหมาะสม 13.ภาครัฐสมรรถนะสูง 12.กําลังคนสมรรถนะสูง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่ง อนาคต แผนพัฒนา จังหวัดนครสวรรค์ แผนปฏิบัติราชการ รายปี พ.ศ. 2567 สนง.พมจ.นว. นครสวรรค์เมืองอัฉริยะ ฐานการผลิตสินค้าเกษตรมูลค่าสูงอุตสาหกรรมฐาน ชีวภาพ ศูนย์กลางการค้าการลงทุน ระบบโลจิสติกส์และบริการสุขภาพบนฐาน การพัฒนาอย่างยั่งยืน แผนการพัฒนาที่ 7 การพัฒนาทุนมนุษย์และสร้างสังคมพอเพียง ควบคู่การขับเคลื่อนสู่เศรษฐกิจดิจิตัล วิสัยทัศน์ 1. พัฒนาศักยภาพคนและ สร้างความเข้มแข็งของสถาบัน ครอบครัวอย่างยั่งยืน 1) พัฒนาศักยภาพคนและ สร้างความเข้มแข็งของ สถาบันครอบครัวอย่างยั่งยืน 2) สร้างโอกาสและยกระดับการ คุ้มครองทางสังคมส าหรับคนทุก ช่วงวัย 3) พัฒนาทุนทางสังคมสร้างการมี ส่วนร่วมเสริมเศรษฐกิจฐานรากสู่การ เป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 4) มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะ และผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อรองรับการ เปลี่ยนแปลงในยุคติจิทัล แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.๒๕๖๗ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ 22


กรอบความเชื่อมโยงแผนปฏิบัติราชการจังหวัดนครสวรรค์กับแผนปฏิบัติราชการ สนง.พมจ. ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2567 23


แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๑ พัฒนาศักยภาพคนและสร้างความเข้มแข็งของสถาบัน ครอบครัวอย่างยั่งยืน เป้าหมาย คนทุกช่วงวัยได้รับโอกาสและการพัฒนาศักยภาพอย่างเต็มที่ และครอบครัวไทย มีความเข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได้ แนวทาง/กลยุทธ์ 1) พัฒนาทักษะสมรรถนะ ที่จําเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ และส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สําหรับคนทุกช่วงวัย 2) ส่งเสริมให้กลุ่มเปราะบางทุกกลุ่ม ทุกช่วงวัย ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ทักษะอาชีพ สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจเพื่อสร้างรายได้ที่เพียงพอต่อการดํารงชีวิต 3) เตรียมความพร้อมในการพัฒนาคนเพื่อเข้าสู่สังคมสูงวัย และพัฒนาทักษะผู้สูงอายุให้มี คุณภาพเหมาะสมตามช่วงวัย 4) ส่งเสริมการสร้างครอบครัวและเตรียมความพร้อม ของพ่อแม่ผู้ปกครองให้มีทักษะในการ เลี้ยงดูบุตรหลาน และ 5) ส่งเสริมการสร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรต่อครอบครัว ให้สถาบันครอบครัวมีความ เข้มแข็ง สามารถพึ่งพาตนเองได้ แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ ๒ สร้างโอกาสและยกระดับการคุ้มครองทางสังคมส าหรับคน ทุกช่วงวัย เป้าหมายประชาชนทุกช่วงวัยได้รับการคุ้มครองทางสังคมที่เพียงพอต่อการดํารงชีวิต แนวทาง/กลยุทธ์ 1) กําหนดนโยบาย มาตรการ ในการคุ้มครองทางสังคม รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมทาง สังคม เพื่อสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ําในทุกมิติ 2) ยกระดับการคุ้มครองทางสังคม โดยการจัดสวัสดิการขั้นพื้นฐาน การส่งเสริมการเข้าถึง สิทธิการสร้างหลักประกันทางสังคม สําหรับคนทุกช่วงวัย กลุ่มเปราะบาง กลุ่มผู้ประสบ ปัญหาทางสังคมและกลุ่มเป้าหมายของกระทรวงแบบพุ่งเป้า ให้สอดคล้องกับ สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 24 ยุทธศาสตร์พุ่งเป้า 4 ด้าน


3) พัฒนาระบบการให้ความช่วยเหลือเยียวยาในสถานการณ์วิกฤติอย่างทันท่วงทีและมี ประสิทธิภาพ ๔) สร้างโอกาสและการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนเปราะบางแบบพุ่งเป้า ๕) เสริมสร้างโอกาสในการเข้าถึงที่อยู่อาศัยและที่ดินทํากินที่มั่นคงและได้มาตรฐาน และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดํารงชีวิตให้กับประชาชนในทุกกลุ่มเป้าหมาย 6) ยกระดับการบริหารจัดการกองทุน ในสังกัดกระทรวงฯ เพื่อขับเคลื่อนการคุ้มครองทาง สังคมคนทุกช่วงวัย แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 3 พัฒนาทุนทางสังคม สร้างการมีส่วนร่วม เสริมเศรษฐกิจ ฐานราก สู่การเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน เป้าหมาย องค์กรเครือข่ายมีความเข้มแข็งและร่วมเป็นหุ้นส่วนทางสังคม ในการพัฒนาสังคม อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ แนวทาง/กลยุทธ์ 1) สานพลังเครือข่ายร่วมกับภาคธุรกิจเพื่อสังคม วิสาหกิจเพื่อสังคม ภาคประชาสังคม องค์กรชุมชน องค์กรตามกลุ่มเป้าหมาย สถาบันการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรระหว่างประเทศ เพื่อเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน 2) ปรับกลไกการขับเคลื่อนงานเชิงพื้นที่ที่มุ่งเน้นการพัฒนาสังคมแบบองค์รวม 3) เสริมสร้างพลเมืองที่มีส่วนร่วม (Engage Citizen) พลเมืองตื่นรู้(Active Citizen) อาสาสมัครพัฒนาสังคม จิตอาสา เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม 25 ยุทธศาสตร์พุ่งเป้า 4 ด้าน


แผนปฏิบัติราชการ เรื่องที่ 4 มุ่งพัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์สูงเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล เป้าหมาย องค์กร พม. ก้าวสู่องค์กรยุคดิจิทัล มีผลสัมฤทธิ์สูงและบุคลากรมีทักษะ ที่จําเป็นในการขับเคลื่อนงานในศตวรรษที่ 21 แนวทาง/กลยุทธ์ 1) ปรับเปลี่ยนองค์กร พม. สู่องค์กรยุคดิจิทัลโดยการพัฒนาและบูรณาการข้อมูล ขนาดใหญ่เพื่อใช้ในการกําหนดนโยบาย รวมถึงการพัฒนากระบวนงานและบริการ ที่สะดวกเข้าถึงง่ายด้วยดิจิทัล และส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมในการพัฒนา องค์กร 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กรการปรับโครงสร้างให้มีความยืดหยุ่น ตลอดจน การพัฒนากฎหมายระเบียบประกาศต่างๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และการเปลี่ยนแปลง รวมถึงสร้างธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กร 3) มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะบุคลากร (Skillsets) ในการทํางานในยุคดิจิทัลและ ศตวรรษที่ 21 ทั้งการปลูกฝังบุคลากรให้มีกรอบความคิด (Mindset) ในการ เรียนรู้และพัฒนาตนเอง มุ่งประโยชน์ส่วนรวม รวมถึงการปรับสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการทํางาน 4) สื่อสารสังคมสร้างภาพลักษณ์องค์กรทั้งในเชิงนโยบายและการขับเคลื่อนภารกิจ เพื่อสร้างการรับรู้ของกลุ่มเป้าหมาย และภาคส่วนต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 26 ยุทธศาสตร์พุ่งเป้า 4 ด้าน


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 สนง.พมจ.นว. 1) โครงการพัฒนาระบบปกป้องคุ้มครองเด็กและเยาวชน 2) โครงการส่งเสริมการดําเนินงานกองทุนคุ้มครองเด็ก 4) โครงการการเลี้ยงดูทดแทนโดยครอบครัว 5) โครงการคัดเลือกเด็กและเยาวชนดีเด่น 2567 6) โครงการสงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว (แผนงานที่ 1,3,4) 1) โครงการพัฒนากลไกและศักยภาพครอบครัวเพื่อเสริมสร้างครอบครัวเข้มแข็ง 2) โครงการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์ครอบครัว 3) โครงการขับเคลื่อนงานสตรี 4) โครงการส่งเสริมงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) กรมกิจการเด็กและเยาวชน (แผนงานที่ 1,2,3,4) 27


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 สนง.พมจ.นว. 1) โครงการช่วยเหลือคุ้มครองผู้ประสบปัญหาทางสังคม 2) โครงการต่อต้านการค้ามนุษย์ 3) จัดทํารายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดนครสวรรค์ 4) การประชุมการตรวจราชการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2567 5) การขับเคลื่อนการดําเนินงานระบบแจ้งเหตุฉุกเฉินทางสังคม (ESS Help Me) และระบบ ศูนย์ช่วยเหลือสังคม 1300 6) การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชากรกลุ่มเป้าหมาย ตามโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตกลุ่มเปราะบาง รายครัวเรือน ส านักงานปลัดกระทรวง พม. (แผนงานที่ 2,3,4) 28


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 สนง.พมจ.นว. กรมกิจการผู้สูงอายุ(แผนงานที่ 1,2,3,4) 1) โครงการเสริมสร้างพัฒนากลไกเครือข่ายสร้างความมั่นคงทางสังคมเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ 2) การขับเคลื่อนการดําเนินงานของกองทุนผู้สูงอายุ 3) โครงการเสริมพลังคลังปัญญาเพื่อคนทุกวัย 4) โครงการเสริมสร้างกลไกการพัฒนาผู้สูงอายุในชุมชน 5) โครงการปรับสภาพแวดล้อมและสิ่งอํานวยความสะดวกของผู้สูงอายุให้เหมาะสมและปลอดภัย 6) โครงการบูรณาการเตรียมความพร้อมเพื่อรองรับสังคมสูงวัย 7) โครงการให้บริการสงเคราะห์ผู้สูงอายุในภาวะยากลําบาก 8) โครงการสนับสนุนการจัดการศพผู้สูงอายุตามประเพณี 29


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.๒๕๖๗ สนง.พมจ.นว. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (แผนงานที่ 3,4) 1) เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ระดับจังหวัด 2) โครงการสวัสดิการลดความเหลื่อมล้ํา 3) โครงการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนไร้ที่พึ่งและคนขอทาน 4) โครงการส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ (CSR) 5) การดําเนินงานตาม พ.ร.บ.การจัดสวัสดิการสังคม 6) กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมจังหวัด 30


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.๒๕๖๗ สนง.พมจ.นว. 1) ส่งเสริมและสนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยสําหรับคนพิการ/โครงการปรับปรุงที่อยู่ อาศัยและสถานที่สาธารณะที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและทุกวัย 2) โครงการการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปี 2565 ภายใต้แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ จังหวัด ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2561 – 2565/การขับเคลื่อนแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจํา จังหวัด ภายใต้แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการจังหวัด ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2561 – 2565 3) การจัดการภัยพิบัติสําหรับคนพิการ /โครงการขับเคลื่อนแผนการจัดการภัยพิบัติสําหรับคนพิการ ฉบับ 1 พ.ศ. 2561 – 2565/กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 4) การขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนการพัฒนาสตรีพิการ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2561-2565 สู่การ ปฏิบัติ/กองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 5) สนับสนุนงานคณะอนุกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการประจําจังหวัด/กองทุน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 6) โครงการจัดงานวันคนพิการสากลจังหวัดนครสวรรค์ ประจําปี 2566 7) โครงการส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิคนพิการ/ยุทธศาสตร์สร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อม ล้ําทางด้านเศรษฐกิจและสังคม/โครงการพัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิคนพิการ 8) โครงการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ/สร้างหลักประกันทางสังคม 9) โครงการศูนย์บริการคนพิการทั่วไป/สร้างหลักประกันทางสังคม 10) ส่งเสริมให้รัฐและเอกชนปฏิบัติตามกฎหมายจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการและหน่วยงาน ภาครัฐ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2567/คนพิการมีคุณภาพชีวิตดีขึ้นจากการมีงานทํา และการมี ส่วนร่วมในสังคม 11) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจการใช้บริการของกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.2567 12) ส่งเสริมการกู้ยืมเงินกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการสําหรับคนพิการและผู้ดูแล คนพิการเพื่อประกอบอาชีพ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (แผนงานที่ 1,2,3,4) 31


แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ.2567 สนง.พมจ.นว. 13) ส่งเสริมและสนับสนุนการปรับสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยสําหรับคนพิการ/โครงการส่งเสริมการ จัดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับคนพิการ 14) โครงการจัดบริการล่ามภาษามือ/สร้างหลักประกันทางสังคม /โครงการพัฒนาศักยภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิคนพิการ 15) โครงการจัดบริการผู้ช่วยคนพิการ/สร้างหลักประกันทางสังคม/โครงการพัฒนาศักยภาพ คุ้มครอง และพิทักษ์สิทธิคนพิการ 16) ส่งเสริมการดําเนินงานการจัดบริการศูนย์บริการคนพิการ/สร้างหลักประกันทางสังคม/โครงการ พัฒนาศักยภาพ คุ้มครองและพิทักษ์สิทธิคนพิการ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (แผนงานที่ 1,2,3,4) 32 สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (แผนงานที่ 3) ๑.) สนับสนุนการขับเคลื่อนสวัสดิการชุมชนจังหวัดนครสวรรค์


รายละเอียดแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2567 แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2567 ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ของทุกกลุ่ม/ฝ่าย/ศูนย์ 34


ส ่ วนท ี ่ ๕ ภาคผนวก ภาคผนวก 35


36


37 กฎหมายในภารกิจของ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ส านักงานปลัดกระทรวง (สป.พม.) พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการ ค้ามนุษย์ พ.ศ.2551 และที่แก้ไข เพิ่มเติม พ.ศ.2558 และ พ.ศ. 2560 พ.ศ.2562 กรมกิจการเด็ก และเยาวชน (ดย.) • พ.ร.บ.การรับเด็กเป็นบุตร บุญธรรม พ.ศ. 2522 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 • พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 • พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก และเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 • พ.ร.บ.ความร่วมมือระหว่าง ประเทศในทางแพ่งเกี่ยวการ ละเมิดสิทธิควบคุมเด็ก พ.ศ. 2555 • พ.ร.บ. ป้องกันและแก้ไขการ ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ.2559 กฎหมายในภารกิจ ๕ ฉบับ กฎหมายในภารกิจ 1 ฉบับ กรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) พ.ร.บ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และที่ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2553 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 กรมกิจการสตรีและ สถาบันครอบครัว (สค.) • พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปราม การค้าประเวณี พ.ศ. 2539 • พ.ร.บ.การฌาปนกิจสงเคราะห์ พ.ศ. 2545 • พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทําด้วย ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 • พ.ร.บ.ส่งเสริมการพัฒนาและ คุ้มครองสถาบันครอบครัว พ.ศ.2562 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กฎหมายในภารกิจ ๔ ฉบับ กฎหมายในภารกิจ 1 ฉบับ • พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 • พ.ร.บ.วิชาชีพสังคม สงเคราะห์ พ.ศ. 2556 • พ.ร.บ.การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557 • พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 กฎหมายในภารกิจ ๔ ฉบับ กรมพัฒนาสังคมและ สวัสดิการ (พส.)


38 ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด 1) พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 2) พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 3) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 4) พ.ร.บ.สภาองค์กรชุมชน พ.ศ. 2551 5) พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. ๒๕๖๒ 6) พ.ร.บ.การอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 7) พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.๒๕๑๙ 8) พ.ร.บ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 9) พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ ระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้องระดับจังหวัด


ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการท างานกระทรวง พม. 1. ระบบสมุดพกอิเล็กทรอนิกส์ (MSO-Logbook) เป็นการวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อวางแผนการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางรายครัวเรือนให้ สามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการที่เหมาะสมทุกช่วงวัย 2. ระบบแจ้งเหตุฉุกเฉินทางสังคม หรือระบบ ESS Help Me : ปักหมุด หยุดเหตุ เป็นช่องทางรับแจ้งเหตุฉุกเฉินทางสังคมทั่วประเทศผ่านทาง Line OA ที่ให้บริการเฉพาะปัญหา ที่มีความเร่งด่วนของแต่ละพื้นที่ใน ๕ กรณี ได้แก่ (๑) มีการข่มขู่ว่าจะทําร้ายหรือมีการทําร้าย (๒) กักขัง หน่วงเหนี่ยว (๓) เสี่ยงถูกล่วงละเมิดทางเพศ (๔) มีผู้คลุ้มคลั่งก่อให้เกิดเหตุร้าย และ (๕) มั่วสุมก่อให้เกิด เหตุร้าย 3. ระบบแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย แจ้งปัญหาสังคม และขอรับบริการ พม. (e-service) เป็นการให้บริการแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย แจ้งปัญหาสังคม และผู้ประสบพบเหตุ และประสบปัญหา ทางสังคมขอรับบริการความช่วยเหลือจากกระทรวง พม. 4. ระบบการขอรับการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (พม. Smart) เป็นการให้บริการทางสังคมเชิงรุกในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมในระดับ พื้นที่ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (พม.Smart) โดยให้อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) แจ้งเหตุส่งข้อมูลขอรับความช่วยเหลือ พร้อมระบบประมวลผล และติดตามผลในแบบ Real Time ในรูปแบบ Web Application สามารถช่วยลดขั้นตอน ระยะเวลา และกระบวนการทํางาน ระหว่าง อพม. และเจ้าหน้าที่ในการช่วยเหลือประชาชนได้อย่างรวดเร็วและเป็นธรรม 39


5. ระบบเพื่อนครอบครัว (Family Line) เป็นช่องทางในการเผยแพร่องค์ความรู้และให้คําปรึกษาออนไลน์ (Online)สําหรับสมาชิก ในครอบครัวที่ประสบปัญหาต่าง ๆ หรือต้องการขอรับคําปรึกษา ผู้รับบริการจะได้รับบริการ จากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่างๆ เช่น ด้านกฎหมายครอบครัว ด้านการดูแลเด็กและวัยรุ่น ด้านการจัดหางาน เป็นต้น 6. Mobile Application “PROTECT-U” เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับประชาชนในการแจ้งเบาะแสการค้ามนุษย์ที่พบเห็นใน ประเทศไทย และการตรวจสิทธิของผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์อันพึงได้รับ หากตกเป็น ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ รวมถึงการแจ้งความประสงค์ขอล่ามแปลภาษา และการอุดหนุน ผลิตภัณฑ์จากผู้เสียหายในการสร้างอาชีพระหว่างเข้ารับการคุ้มครอง 40 ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการท างานกระทรวง พม.


ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการท างานร่วมกับจังหวัดนครสวรรค์ 1) ระบบบัญชีข้อมูลภาครัฐ (Government Data Catalog) เป็นแพล็ตฟอร์มการจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงานรัฐ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน ส่วนการลงทะเบียนเฝ้าติดตาม และ ส่วนบริการบัญชีข้อมูล ระบบบัญชีข้อมูลภาครัฐ เป็นเสมือนสมุดหน้าเหลืองบัญชีข้อมูลของทุกหน่วยงานรัฐ ที่รวบรวมชุดข้อมูลสําคัญจากระบบบัญชีข้อมูลของหน่วยงานผ่านการลงทะเบียนบัญชีข้อมูล โดยการจัดทําตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลของหน่วยงาน และตามมาตรฐานรัฐบาลดิจิทัล ว่าด้วยแนวทางการจัดทําบัญชีข้อมูลภาครัฐ ทําให้ผู้ใช้ข้อมูลภาครัฐ ภาคเอกชนและภาค ประชาชนสามารถสืบค้นและใช้ประโยชน์ข้อมูลสําคัญของภาครัฐทั้งหมดได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายในการเก็บข้อมูล ลดความซ้ําซ้อนของข้อมูล รวมทั้งสนับสนุนให้เกิดการ ติดตาม กํากับดูแลและจัดการข้อมูล สามารถบูรณาการและใช้ประโยชน์ข้อมูลข้ามหน่วยงาน ได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 2) ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics Platform : TPMAP) ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and Analytics Platform)สามารถครอบคลุม ปัญหา เช่น เด็กแรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่อยู่อาศัย ใช้ระบุปัญหาความยากจนในระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ หรือปัญหาความยากจนรายประเด็น ซึ่งทําให้การแก้ปัญหา ตรงกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น และสามารถออกแบบนโยบาย โครงการในการแก้ปัญหาให้ตรง กับความต้องการหรือสภาพปัญหาได้ 41


ระบบเทคโนโลยีที่ใช้ในการท างานร่วมกับจังหวัดนครสวรรค์ 3. Application “Nakhon Sawan Change 2022” เป็นระบบฐานข้อมูลการบริหารจัดการความยากจนแบบครบวงจรจังหวัด นครสวรรค์แอปพลิเคชัน “Nakhon Sawan Change 2022” เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลการ บริหารจัดการความยากจน การติดตามการให้ความช่วยเหลือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ โปรแกรม TPMAP ของสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและนําไปบริหารจัดการ ให้ความช่วยเหลือประชาชนที่ประสบปัญหาความยากจนได้อย่างรวดเร็ว 4. ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในการรายงานผลการด าเนินงานขับเคลื่อนแผน ความมั่นคงเฉพาะเรื่อง (Electronic Assessment Reports : EAR ) เป็นระบบรายงานผลการดําเนินงานขับเคลื่อนแผนความมั่นคง (EAR) ของ แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมการอยู่ร่วมกันภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรมในประเทศไทย (พ.ศ. 2566 – 2570) ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ ดําเนินการโดยสํานักงานสภาความมั่นคง แห่งชาติ 5. ระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (e-MENSCR) เป็นระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (e-MENSCR) เพื่อเป็นเครื่องมือ ให้หน่วยงานของรัฐใช้รายงานผลการดําเนินการตามแผนระดับต่างๆ ของประเทศ ซึ่ง “หน่วยงานของรัฐทุกหน่วย” มีหน้าที่ดําเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่กําหนดไว้ ในยุทธศาสตร์ชาติและรายงานผลการดําเนินการดังกล่าวต่อสํานักงานฯ ดังนั้น การใช้งาน ระบบ e-MENSCR ในการรายงานผลการดําเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติจึงเป็นหน้าที่ ของหน่วยงานของรัฐทุกหน่วย 42


คณะผู้จัดท า กลุ่มนโยบายและวิชาการ นางรภัทภร ปวรกฤษฏ์ นักพัฒนาสังคมชํานาญการพิเศษ นางสาวอรรถกาญจน์ ธนทวีสกุล นักสังคมสงเคราะห์ชํานาญการ นางสาวนราภัฏ พุทธะ เจ้าพนักงานธุรการชํานาญงาน นายพงศธร วนพฤกษ์ นักสังคมสงเคราะห์ปฏิบัติการ นายนฤรณัณ อินทยศ นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ นางสาวศศิธร โสมอ่ํา นักพัฒนาสังคม (พนักงานกองทุน กสจ.) นายวรธันย์ พันธุ์เขียน เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ นายณัฐอนันต์ ด้วงทอง เจ้าหน้าที่ช่วยปฏิบัติงานด้านการป้องกัน และปราบรามการค้ามนุษย์จังหวัด นางเยาวภา พรรณโนภาศ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ที่ปรึกษา 43


Click to View FlipBook Version