The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by cheewathan29, 2022-05-07 00:12:25

KRKPS000S0000208c1

KRKPS000S0000208c1

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ที่ 8-9 ธันวาคม 2559

ผลของโปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนักท่ีมีต่อความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอล
ทีมมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

The effect of weight training program on soccer speed dribbling
of NakhonratchasimaRajabhat University soccer team

ปรีติวัฒน์ วรรณบุษปวชิ 1, ธีรนยั มงคณุ คาชาว, อศั วะ รักงาม1, ธชั วสั ส์ ตงั้ ตรงขนั ต1ิ , ธนกิ านต์ วรรณบษุ ปวชิ
Preetiwat Wonnabussapawich1, Tiranai Mungkunkamchaw, Assawa Rakgarm1, Tachawat Tangtrongkanti1,

Thanikarn Wonnabussapawich

บทคัดย่อ
การวิจยั ครัง้ นีม้ ีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาและเปรียบเทียบผลของการฝึกฟตุ บอลด้วยโปรแกรมการฝึ กด้วย
นา้ หนักที่มีต่อความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอล กลุ่มตัวอย่างเป็ นนักกีฬาฟุตบอลชายระดับอุดมศึกษา
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า เลือกกลมุ่ ตวั อย่างแบบเฉพาะเจาะจงจานวน 30 คน ทาการจดั กลมุ่ ด้วยวธิ ีการ
แบบจบั คเู่ พื่อเรียงลาดบั ความสามารถในการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลก่อนการทดลองของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ให้
มคี ่าเฉลี่ยความสามารถในการเลีย้ งฟุตบอลท่ีใกล้เคียงกนั เพื่อเลอื กกลมุ่ ตวั อย่างในการวิจยั จานวน 15 คน เป็ น
กล่มุ ทดลอง และกล่มุ ควบคมุ กล่มุ ละ15 คน โดยกล่มุ ทดลองใช้โปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั สปั ดาห์ละ 3 วนั
เป็ นเวลา 6 สปั ดาห์ ร่วมกบั การฝึ กตามปกติ กล่มุ ควบคมุ ฝึ กตามปกติ ทดสอบความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟุตบอล
กอ่ นการทดลองและหลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์ นาผลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิติ หาคา่ เฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกตา่ งก่อนและหลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์ พบว่า หลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์ กลมุ่
ทดลองมีความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟตุ บอลมากกวา่ ก่อนการทดลอง อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .05 หลงั การ
ทดลอง 6 สัปดาห์กลุ่มควบคุมมีความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอล ไม่แตกต่างจากก่อนการทดลอง อย่างมี
นยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 และหลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์ กลุ่มทดลองมีความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอล
มากกวา่ มากกวา่ กลมุ่ ควบคมุ อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดบั .05

คาสาคัญ: การฝึกด้วยนา้ หนกั ความเร็วในการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอล

_____________________________________________________________________________________________________________
1สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกาลังกาย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนคร ราชสีมา จังหวัด
นครราชสีมา 30000 เบอร์โทรศพั ท์ 0-4400-9009 (3270) Email: [email protected]

1502

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ที่ 8-9 ธนั วาคม 2559

Abstract
The purposed of this research were to study and to compare the effect of weight training on
soccer speed dribbling of Nakhonratchasima Rajbhat University soccer team. The subjects were 30
soccer players from Nakhonratchasima Rajabhat University. The subjects were then assigned into 2
groups by matching group method and divided 15 subjects in each group; the control group was
trained by using regular training program normal level while the experimental group was trained weight
program by which the experimental group was trained for 3 days a week for a period of 6 weeks. The
levels of soccer speed dribbling in both groups were tested before and after 6 weeks of training. The
obtained data were analyzed in terms of means and standard deviations while t-test was also employed
to determine significant difference at .05 level before and after training. The results were as follows:
After training, the average means of soccer speed dribbling of the experimental group was significantly
higher than those of the control group significantly difference at .05 level. After training, the average
means of soccer speed dribbling of the control group was not significantly different at .05 level when
compared with those of control group before training. And After training, the average means of soccer
speed dribbling of the experimental group was significantly different at .05 level when compared with
those of the control group before training.

Keyword: weight training, soccer speed dribbling
Email: [email protected]

คานา

กีฬาฟุตบอลนนั้ นอกจากจะแข่งขันในเร่ืองของเกม และเทคนิคตา่ งๆ แล้วยงั ต้องแข่งขนั กนั ในเร่ืองของ
สมรรถภาพทางกาย อภิลกั ษณ์ (2541) ได้กลา่ วว่า สมรรถภาพทางกายท่ีสมบรู ณ์ในขณะทาการแข่งขนั จะทาให้
นักกีฬามีโอกาสแสดงขีดความสามารถของตนเองได้อย่างเต็มท่ี และสามารถท่ีจะเล่นได้ตามแผนที่วางไว้
สอดคล้องกบั ประโยค (2541) ที่กลา่ ววา่ สมรรถภาพทางกายเป็นสงิ่ สาคญั มาก เพราะการมีสมรรถภาพทางกาย
ท่ีดีจะช่วยให้นกั กีฬาฟตุ บอลสามารถปฏิบตั ิตามเทคนิค แทคตคิ และสามารถว่ิงขนึ ้ -ลงตลอดระยะเวลา 90 นาที
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การเคลื่อนไหวในกีฬาฟตุ บอลเป็ นไปได้หลายรูปแบบเช่น การทมุ่ ลกู บอล การหยุดลกู บอล การเลีย้ งลกู
บอล การโหม่งลูกบอลและการเตะลูกบอลในท่าต่างๆ เป็ นต้น พลังกล้ามเนือ้ เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญมาก
ประการหน่ึงของกีฬาฟุตบอลที่จะทาให้การเคล่ือนไหวในการเล่นฟุตบอลมีประสิทธิภาพมากขนึ ้ เนื่องจากการ
เคล่ือนไหวเกือบทกุ อย่างของร่างกายในการเลน่ ฟุตบอลต้องการพลงั กล้ามเนือ้ เพ่ือตอ่ ส้กู บั แรงต้านทาน กล่าวคือ

1503

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ท่ี 8-9 ธันวาคม 2559

นกั กีฬาฟุตบอลจาเป็ นต้องมีพลงั กล้ามเนือ้ ขาที่ดีในการเตะสกัดลกู บอลได้ไกลและวิ่งเข้าแย่งยิงประตไู ด้อย่าง
รวดเร็วและอีกประการที่สาคัญกีฬาฟุตบอลเป็ นกีฬาประเภทที่เล่นติดต่อกันเป็ นเวลานานแต่มีลักษณะไม่
สม่าเสมอการทางานของกล้ามเนือ้ จะเป็ นแบบผสม เช่น การเลีย้ งลกู ฟตุ บอล การเร่งฝี เท้าเตม็ ท่ีเพ่ือเข้าแย่งลกู
บอลหรือการวิ่งแข่งยิงประตใู นระยะใกล้พลงั กล้ามเนือ้ ยงั มีสว่ นทาให้กล้ามเนือ้ ทางานได้ทนั ที คือเม่อื กล้ามเนือ้ มี
พลงั มากก็จะสามารถเคลื่อนไหวได้ง่ายและรวดเร็วขนึ ้ จึงสามารถเคล่ือนไหวได้ซา้ ๆ และบ่อยกวา่ และยงั พบว่า
พลงั กล้ามเนือ้ มีส่วนเก่ียวข้องกบั ความคลอ่ งแคลว่ ของร่างกายเพราะเมื่อกล้ามเนือ้ มีพลงั เพียงพอในการควบคมุ
นา้ หนกั ของร่างกายตอ่ ต้านแรงเฉื่อยจะทาให้ร่างกายส่วนตา่ งๆ เคล่ือนไหวได้เร็วขนึ ้ นอกจากนนั้ พลงั กล้ามเนือ้
ยงั เป็ นปัจจยั หนง่ึ ในการเพ่ิมความเร็ว เพราะต้องการแรงมากเพ่ือเร่งร่างกายให้เคล่ือนท่ีด้วยความเร็วสงู (ชูศกั ด์ิ,
2536)

ดงั นนั้ เมื่อกล้ามเนือ้ มีความแข็งแรงเพ่ิมมากขึน้ นกั กีฬาก็มีโอกาสที่จะสามารถพฒั นาทกั ษะการเลีย้ ง
ฟตุ บอลให้มีความเร็วเพ่ิมมากขนึ ้ อกี ด้วย จากงานวิจยั ของ บญุ ท่วม (2546) ได้ศกึ ษาผลการฝึ กด้วยวิธีใช้ร่างกาย
เป็ นแรงต้านที่มีต่อความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ เพ่ือทราบความแตกต่างของความแข็งแรงและ
ความอดทนของกล้ามเนือ้ ซง่ึ มีความแตกต่างเกิดขึน้ กบั กล่มุ ที่ได้รับการฝึ กด้วยนา้ หนกั โดยใช้ร่างกายเป็ นแรง
ต้าน ทงั้ นีผ้ ลของการฝึ กด้วยนา้ หนกั ที่ส่งผลตอ่ ความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟตุ บอลยงั มีการวิจยั เพ่ือหาวิธีที่เหมาะสม
ท่ีสุดและนา้ หนักท่ีเหมาะสมท่ีสดุ ในการพฒั นาความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟุตบอลของนักกีฬา จากการศึกษาของ
อบั ดลุ หาดี (2542) ได้ศกึ ษาผลการฝึ กยกนา้ หนกั ในระดบั ความหนกั ตา่ งกนั ที่มีตอ่ ความแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ ขา
ที่แตกตา่ งกนั พบว่าผ้ฝู ึ กแตล่ ะคนมีการตอบสนองการพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนือ้ ที่แตกตา่ งกนั สมั พนั ธ์
กบั การพฒั นาความสามารถในการเลีย้ งฟตุ บอลซงึ่ มาจากหลายปัจจยั ทงั้ ทกั ษะท่ีดีและพละกาลงั จากกล้ามเนือ้
สว่ นต่างๆ ของร่างกาย ซง่ึ ร่างกายของนกั กีฬาในแต่ละช่วงอายกุ ็จะมีการตอบสนองต่อปัจจยั ดงั กล่าวที่แตกต่าง
กนั

จากเหตผุ ลที่กลา่ วมาผ้วู จิ ยั จึงสนใจท่ีจะศกึ ษาผลของการฝึ กด้วยนา้ หนกั ท่ีมีตอ่ ความเร็วในการเลีย้ งลกู
ฟตุ บอล โดยผ้วู ิจยั เชื่อวา่ การฝึ กด้วยนา้ หนกั นีจ้ ะเป็ นปัจจยั ท่ีช่วยพฒั นาความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟตุ บอลให้ดีขนึ ้
ทงั้ นีส้ ามารถนาผลการวิจยั ครัง้ นีไ้ ปใช้เป็นแนวทางในการเลอื กโปรแกรมฝึกเสริมร่วมกบั โปรแกรมการฝึกซ้อมกีฬา
เพ่ือพฒั นาสมรรถภาพทางกายซงึ่ เป็นพืน้ ฐานท่ีสาคญั ของกีฬาทกุ ประเภทตอ่ ไปได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ

อุปกรณ์และวธิ ีการ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กลมุ่ ตวั อย่างท่ีใช้ในการวิจยั ครัง้ นีเ้ป็นนกั กีฬาฟตุ บอลของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา จานวน 30

คน โดยวิธีการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Selection) และจดั กลมุ่ กาหนดให้มคี วามเร็วในการเลยี ้ งลกู

1504

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ท่ี 8-9 ธันวาคม 2559

ฟตุ บอลที่ใกล้เคยี งกนั (Match Group Method) เพ่ือแบง่ เป็ นกลมุ่ ตวั อย่างออกเป็น 2 กลมุ่ กลมุ่ ละ 15 คน และ
ทดสอบความแตกตา่ งของความเร็วในการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลเพ่ือให้แตล่ ะกลมุ่ มเี ส้นพนื ้ ฐาน (คา่ เฉลีย่ ความสามารถ
ในการเลยี ้ งฟตุ บอล) ไมแ่ ตกตา่ งกนั
เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั
1. โปรแกรมการฝึกฟตุ บอลโดยใช้โปรแกรมการฝึกด้วยนา้ หนกั

โปรแกรมการฝึกด้วยนา้ หนกั ของกลมุ่ ทดลองนอกเหนือจากการฝึกซ้อมตามปกติ มีการฝึก 6 สปั ดาห์ๆ
ละ 3 วนั คอื วนั จนั ทร์ วนั พธุ และวนั ศกุ ร์ โดยทาการฝึกกอ่ นการฝึกตามปกติ ใช้เวลา 30 นาที ตงั้ แตเ่ วลา 17.15-
17.45 น.เมือ่ ออกแบบโปรแกรมการฝึกเสร็จแล้วผ้วู ิจยั ได้นาโปรแกรมนไี ้ ปให้ผ้เู ช่ียวชาญ 3 ท่าน ประเมนิ คณุ ภาพ
ตรวจสอบ แก้ไข และให้ข้อเสนอแนะ แล้วนามาปรับปรุง แก้ไข ตามคาแนะนาของผ้เู ชี่ยวชาญ ให้เหมาะสมกบั
กลมุ่ ทดลอง และประเมินคณุ ภาพของเคร่ืองมือ
2. โปรแกรมการฝึกฟตุ บอลโดยใช้การสร้างสมรรถภาพทางกายตามปกติ
3. เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ได้แก่

แบบทดสอบทกั ษะการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลของวาร์เนอร์ (Warner, 1950) เป็นแบบทดสอบที่ใช้ในการวดั
ความเร็วในการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ โดยให้ผ้เู ข้ารับการทดลองเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลอ้อม
หลกั ไปกลบั โดยให้ทดสอบ 3 ครัง้ บนั ทกึ เวลาจากครัง้ ท่ีทาเวลาได้ดีที่สดุ
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

1. จดั เตรียมสถานท่ี อปุ กรณ์ ตารางฝึก เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมลู
2. ทาการคดั เลือกกลมุ่ ตวั อย่างด้วยวธิ ีการเลอื กแบบเฉพาะเจาะจง และแบ่งเป็นกลมุ่ ตวั อยา่ งออกเป็น 2
กล่มุ กลมุ่ ละ 15 คน โดยทงั้ สองกล่มุ ไม่มีความแตกตา่ งกนั โดยใช้ปริมาณค่าเฉล่ียของความเร็วในการเลีย้ งลกู
ฟตุ บอลเป็นตวั กาหนด
3. กาหนดระยะเวลาในการฝึกเป็นเวลา 6 สปั ดาห์ ผ้วู ิจยั อธิบายและสาธิตการฝึกแกผ่ ้เู ข้ารับการทดสอบ
จนเป็ นท่ีเข้ าใจ
4.ทาการทดสอบความเร็วในการเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลของกลมุ่ ตวั อย่างทงั้ หมด พร้อมเก็บข้อมลู เพ่ือนาไปคดั
แยกกลมุ่ ประชากร
5. ให้กล่มุ ทดลองและกล่มุ ควบคมุ ทาการฝึ กตามโปรแกรมการฝึ กเป็ นเวลา 6 สปั ดาห์ๆ ละ 3 วนั โดย
กล่มุ ทดลองจะฝึ กด้วยโปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั ก่อนทาการฝึ กซ้อมกีฬาฟุตบอล ส่วนกลมุ่ ควบคมุ จะฝึ กซ้อม
ด้วยโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายตามปกติ (ซงึ่ อยใู่ นขนั้ ตอนโปรแกรมการฝึกฟตุ บอลประจาวนั )
6. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทดสอบก่อนการฝึ ก และหลังการฝึ ก 6 สัปดาห์มาวิเคราะห์เพื่อสรุป
ผลการวจิ ยั และเสนอแนะความคดิ เหน็ ท่ีได้จากการวิจยั ในครัง้ นี ้
การวเิ คราะห์ข้อมูล
นาข้อมลู ท่ีได้มาวเิ คราะห์โดยใช้โปรแกรมในการวเิ คราะห์ข้อมลู เพ่ือหาคา่ ตา่ งๆ ดงั นี ้

1505

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ท่ี 8-9 ธนั วาคม 2559

1. หาคา่ เฉลยี่ (Mean) และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของความเร็วในการเลีย้ งลกู
ฟตุ บอลของกลมุ่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ จากการทดสอบกอ่ นการทดลองและหลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์

2. ทดสอบความแตกต่างของความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟตุ บอลของกล่มุ ทดลองและกล่มุ ควบคมุ จากการ
ทดสอบกอ่ นการทดลอง และหลงั การทดลอง 6 สปั ดาห์ โดยใช้สถิติการทดสอบคา่ “ที” (t-test)

3. ทดสอบความมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05
4. นาเสนอข้อมลู ในรูปตารางประกอบความเรียงและแผนภมู ิกราฟ

ผลการทดลองและวจิ ารณ์

การวจิ ยั ครัง้ นีผ้ ้วู ิจยั ได้เก็บรวบรวมข้อมลู และนาเสนอข้อมลู ผลของโปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั ที่ส่งผล
ตอ่ ความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟตุ บอลของนกั กีฬาฟตุ บอลทีมมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี ากอ่ นการทดลอง และ
หลงั การทดลอง ของทงั้ 2 กลมุ่ โดยเสนอในรูปแบบตารางประกอบความเรียงและแผนภมู ิดงั นี ้
ตารางท่ี 1 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและค่า “ที” จากการวิเคราะห์ความแตกต่างของ
ค่าเฉล่ียของความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลอง

ความเร็วในการเลยี ้ งลกู กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคมุ
ฟตุ บอล n = 15 n = 15

p(วนิ าที)
X SD X SD t

กอ่ นการทดลอง 14.50 .267 14.48 .285 .178 .860

*p<.05

ตารางท่ี 2 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและค่า “ที” จากการวิเคราะห์ความแตกต่าง ของ
ค่าเฉล่ียของของความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอล ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม หลังการทดลอง
(Independent sample t-test)

ความเร็วในการเลยี ้ งลกู กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคมุ
ฟตุ บอล n = 15 n = 15

p(วินาที)
X SD X SD t

หลงั การทดลอง 12.64 .300 14.34 .186 18.558 .000*

*p<.05

1506

การประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ท่ี 8-9 ธนั วาคม 2559

ตารางท่ี 3 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและค่า “ที” จากการวิเคราะห์ความแตกต่างของ
ค่าเฉล่ียของความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอล ก่อนการทดลองและหลังการทดลองของกลุ่มทดลอง
(Paired sample t-test)

ความเร็วในการเลยี ้ งลกู ก่อนการทดลอง หลงั การทดลอง tp
ฟตุ บอล n = 15 n = 15

(วนิ าที) X SD X SD

กลมุ่ ทดลอง(n = 15) 14.50 .267 12.64 .300 15.788 0.000*

*p<.05

แผนภูมิท่ี 1 กราฟแสดงการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอลระหว่างกลุ่ม
ทดลองกับกลุ่มควบคุม ก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง

15.00 14.34
14.50
่คาเฉล่ียของความเ ็รวในการเลี้ยง ูลก ุฟตบอล (วินาที)
14.50 14.48

14.00

13.50

13.00
12.64

12.50

12.00

11.50 หลังการทดลอง
ก่อนการทดลอง

ระยะเวลาการทดลอง

กลุ่มทดลอง
กลุ่มควบคุม

1507

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ท่ี 13 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ท่ี 8-9 ธนั วาคม 2559

สรุปผลและเสนอแนะ

สรุปผล
จากการวจิ ยั ครัง้ นีแ้ สดงวา่ การฝึกฟตุ บอลโดยใช้โปรแกรมการฝึกด้วยนา้ หนกั ท่ีสง่ ผลตอ่ ความเร็วในการ

เลยี ้ งลกู ฟตุ บอล เป็นโปรแกรมการฝึกที่มปี ระสิทธิภาพ ซงึ่ ภายในระยะเวลา 6 สปั ดาห์ กล่มุ ทดลองท่ีได้รับการฝึ ก
ฟตุ บอลโดยใช้โปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั ท่ีมีผลตอ่ ความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟุตบอลมากกว่ากล่มุ ควบคุมท่ีฝึ ก
ตามปกติ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 ทงั้ นีก้ ารเพ่ิมขึน้ ของความเร็วในการเลีย้ งลกู ฟุตบอล ของกล่มุ
ทดลองเป็นผลมาจากการฝึกด้วยนา้ หนกั ซงึ่ จะช่วยกระต้นุ และพฒั นาการทางานของกล้ามเนือ้ ให้ทางานอย่างมี
ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับการศึกษาของ เอกวิทย์ (2535) ท่ีได้ศึกษาผลของการฝึ กยกนา้ หนักท่ีมีต่อความ
แขง็ แรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ ผลการวิจยั พบวา่ หลงั จากการฝึ กยกนา้ หนกั เป็นระยะเวลา 8 สปั ดาห์แล้ว
ความแข็งแรงและความอดทนของกล้ามเนือ้ ก่อนและหลงั การฝึ กแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั
.05 ซง่ึ สอดคล้องกบั Wilcox (1972) ได้ศกึ ษาวจิ ยั เรื่องเปรียบเทียบวิธีการฝึกด้วยนา้ หนกั ที่มีตอ่ การพฒั นาความ
แข็งแรงของกล้ามเนือ้ ขา และผลการศึกษาพบว่ามีการพัฒนาความแข็งแรงของขาและการกระโดดขีดฝาผนัง
อย่างมีนัยสาคญั และในปัจจัยของความแรงและความเร็วในการหดตัวและองค์ประกอบสาคญั อื่นๆ ต่อการ
ทางานของกล้ามเนือ้ ได้แก่ การทางานประสานกนั อย่างมีประสิทธิภาพของระบบประสาทและกล้ามเนือ้ พลงั
กล้ามเนือ้ เวลาปฏิกิริยาความเร็วและความแม่นยา ซึ่งสอดคล้องกับ ประโยค (2541) ท่ีกล่าวว่าการฝึ ก
สมรรถภาพทางกายนับเป็ นสิ่งท่ีสาคญั มากในกีฬาฟุตบอลเพราะสมรรถภาพทางกายท่ีดีจะช่วยให้นักกีฬา
ฟุตบอลสามารถปฏิบัติตามเทคนิคแทคติกและสามารถวิ่งขึน้ -ลงตลอดระยะเวลาการแข่งขันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ สมรรถภาพทางกายท่ีจาเป็ นสาหรับกีฬาฟตุ บอลคือแรงของกล้ามเนือ้ ความเร็วความแคล่วคล่อง
ว่องไวและความอดทนเป็ นหลกั ดงั นัน้ เมื่อวิเคราะห์ความเร็วในการเลีย้ งลูกฟุตบอลของนักกีฬาฟุตบอลทีม
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา การฝึ กด้วยโปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั ส่งผลต่อการทางานของกล้ามเนือ้ ขา
มดั ตา่ งๆ จะทางานตอ่ เน่ืองกนั เริ่มจากกล้ามเนือ้ เหยียดสะโพก กล้ามเนือ้ เหยียดเข่าและกล้ามเนือ้ เหยียดข้อเท้า
ตามลาดบั ซึ่งเมื่อทางานร่วมกับทักษะฟุตบอลท่ีได้ฝึ กร่วมกนั ไปด้วยก็จะทาให้โปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั มี
ประสิทธิภาพมากย่ิงขนึ ้ จงึ สรุปได้วา่ การฝึกฟตุ บอลโดยใช้โปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนกั ที่จะมีผลตอ่ ความเร็วใน
การเลยี ้ งลกู ฟตุ บอลมากกวา่ การฝึกตามปกติในแตล่ ะวนั ของนกั กีฬา

เสนอแนะ
1. โปรแกรมการฝึ กด้วยนา้ หนักนีส้ ามมารถทาการฝึ กในภาคสนามพร้อมกบั ขนั้ ตอนการฝึ กทกั ษะและ

ทีมเวิร์คตามขนั้ ตอนของการฝึ กฟุตบอลได้อย่างต่อเนื่องเพราะใช้ท่าการฝึ กพร้ อมกบั อปุ กรณ์การฝึ กที่สามารถ
นามาใช้ในสนามกีฬาฟตุ บอลได้

1508

การประชมุ วิชาการระดบั ชาติ ครัง้ ที่ 13 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน วนั ที่ 8-9 ธันวาคม 2559

2. ควรมีการศกึ ษาผลของการฝึ กฟตุ บอลโดยใช้โปรแกรมการฝึกด้วยนา้ หนกั ที่มตี อ่ ความเร็วในการเลีย้ ง
ลกู ฟตุ บอลท่ีเหมาะสมกบั อายุ เพศ เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ และเพ่ือป้ องกนั การเกิดการบาดเจ็บท่ีอาจจะ
เกิดขนึ ้

เอกสารอ้างองิ
กิตติพงษ์ เพง็ ศรี. 2549. ผลการฝึกพลยั โอเมตริกที่มีตอ่ ความแข็งแรงและพลงั กล้ามเนือ้ ขา. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.
เจริญ กระบวนรัตน์. 2538. เทคนิคการฝึกความเร็ว. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา, มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
เจริ ญ กระบวนรั ตน์ . 2545. หลักการฝึ กยกนา้ หนักเพื่อความสุดยอดของนักกี ฬา. สานักพิ มพ์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, กรุงเทพมหานคร.
ชศู กั ด์ิ เวชแพศย์ และ กนั ยาปาละววิ ธั น์. 2536. สรีรวทิ ยาการออกกาลงั กาย. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. ธรรกมลการพิมพ์,
กรุงเทพมหานคร.
ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์. 2540. สรีรวิทยาการออกกาลังกาย. ภาควิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั .
นิธิพงศ์ กิมาวหา. 2548. ผลของการฝึกโดยใช้เครื่องฝึกด้วยนา้ หนกั แบบปรับแรงต้านท่ีมีตอ่ การพฒั นาพลงั ระเบิด
ของกล้ามเนือ้ ขา. ภาควชิ าพลศกึ ษา คณะครุศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
นิวฒั น์ บญุ สม. 2544. ผลการฝึกแบบผสมผสานที่มีตอ่ พลงั กล้ามเนือ้ . วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิตภาควชิ า
วิทยาศาสตร์การกีฬา คณะพลศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญร่วม แท่นสูงเนิน. 2546. การฝึ กด้วยวิธีใช้ร่างกายเป็ นแรงต้ านท่ีมีต่อความแข็งแรงและความอดทนของ
กล้ามเนือ้ . ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (พลศกึ ษา). มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ.
ประโยค สทุ ธิสงา่ . 2541. การบริหารเชิงยทุ ธ์สคู่ วามเป็นเลศิ ของโค้ชฟตุ บอล. ไทยวฒั นาพานิช, กรุงเทพมหานคร.
อบั ดุลหาดี อุเซ็ง. 2542. ผลของการฝึ กยกนา้ หนกั ในระดบั ความหนกั ตา่ งกนั ที่มีต่อความแข็งแรงของกล้ามเนือ้
ขา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะพลศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
อภิลกั ษณ์ เทียนทอง. 2541. ผลของการฝึ กกระโดดเท้าคขู่ ้ามรัว้ ที่ระยะห่างระหว่างรัว้ ต่างกนั ตอ่ ความเร็วในการ
วิง่ ระยะทาง 40 เมตร ในนกั กีฬาฟุตบอล. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะ
พลศกึ ษา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
เอกวิทย์ แสวงผล. 2535. ผลของการยกนา้ หนักแบบวงจรที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไว ความแข็งแรงของ
กล้ามเนือ้ และความอดทนของกล้ามเนือ้ . วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์.
Warner, G.H. 1950. Warner Soccer Test, News Letter of the National Soccer Coaches Association of
America. 6: 13-2. A practical approach to measurement in physical education.
Wilcox, M.R.J. 1972. A Comparison of two weight training methods designed to develop
leg strength. Dissertation Abstracts International. 32: 1908-A.

1509


Click to View FlipBook Version