The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยในชั้นเรียน

วิจัยในชั้นเรียน

วจิ ยั ในช้นั เรียน

เร่ือง
การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะ
เรื่อง การจาแนกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3

นิตยา กายฤทธ์ิ

ภาคเรียนท่ี ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๐
โรงเรียนวดั เขมาภิรตาราม อาเภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี

บทคัดยอ่

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ท่ีมีคุณภาพระดับดี และมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
80/80 และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย กลุ่มตวั อย่างคือ นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียน
วัดเขมาภิรตาราม จํานวน 34 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “การจําแนก
คําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” จํานวน 5 แผน แบบฝึกทักษะ เร่ือง “การจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย” จํานวน 5 แบบฝึก และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 60 ข้อ ซ่ึงมีค่าอํานาจ
จําแนกรายขอ้ (p) ตัง้ แต่ 0.19 - 0.52 และค่าความเชื่อมัน่ (r) 0.23

ผลการวิจัยพบว่าผลการทดลองคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบการจําแนก
คําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยเท่ากับ 16.18 คะแนนของแบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบการ
จาํ แนกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยเทา่ กบั 33.53 ค่า t วิกฤตจากการคํานวณ
เท่ากับค่า t วิกฤตท่ีได้จากการเปิดตารางแสดงว่าหลังใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทยมีนัยสําคญั ทางสถิตริ ะดับ .01 เป็นไปตามสมติฐานที่ตั้งไว้ คือ นักเรียนใช้แบบทดสอบการจําแนกคํา
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่ผู้วิจัยนํามาทดสอบกับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 โรงเรียนวัด
เขมาภริ ตาราม มผี ลสมั ฤทธิก์ ารจําแนกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยสูงข้ึน
คาสาคญั : การพัฒนาแบบฝึกทักษะ,ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ประกาศคณุ ูปการ

การศกึ ษางานวจิ ยั ในครงั้ น้ี สําเร็จได้ดว้ ยความกรุณาจากครูอารยี ล์ ักษณ์ อุดมแก้ว ได้ใหค้ วาม
ช่วยเหลือ ให้ความรู้ ความคิดให้การแนะนาํ คาํ ปรกึ ษาตลอดจนการตรวจข้อแก้ไขบกพร่องตา่ ง ๆ เปน็ อย่างดี
จนการศึกษาวิจัยในครง้ั นี้เสร็จสมบรู ณ์ ผวู้ จิ ัยขอขอบคุณเป็นอยา่ งสูงไว้ ณ ทีน่ ้ี

ขอขอบคุณทา่ นผู้อํานวยการโรงเรียนวดั เขมาภิรตาราม คือ นายสันติ สุวรรณหงษ์ คณะครูในกลุ่ม
สาระการเรียนรภู้ าษาไทยและผทู้ รงคุณวุฒิทุกท่านทกี่ รุณาให้ความอนุเคราะห์ใหค้ ําแนะนาํ ให้ความรู้ ความคิด
ท่ีมปี ระโยชน์และอาํ นวยความสะดวกในการศึกษาวจิ ยั ในครง้ั น้ีเป็นอย่างดีและขอขอบใจนกั เรียน
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3/12 ของโรงเรยี นวัดเขมาภิรตารามทุกคนให้ความรว่ มมืออยา่ งดใี นการวจิ ยั และเกบ็ ขอ้ มลู
ที่ใชใ้ นการศึกษาวิจัยครง้ั น้ี จนกระทั่งการศึกษาวิจัยคร้งั น้ีเสรจ็ สมบรู ณ์

นติ ยา กายฤทธ์ิ

สารบญั

หน้า

บทคดั ย่อภาษาไทย.................................................................................................................. ก
กิตติกรรมประกาศ................................................................................................................... ข
สารบญั ............................................................................................................................. ....... ค
บทที่ 1 บทนา..................................................................................................................... 1

ความเปน็ มาและความสําคญั ของป๎ญหา................................................................ 1
วัตถุประสงคข์ องการวิจยั ....................................................................................... 2
สมมตฐิ านของการวิจัย........................................................................................... 2
ขอบเขตการวจิ ัย..................................................................................................... 2
ตัวแปรทศ่ี ึกษา........................................................................................................ 2
ประโยชนท์ ีไ่ ด้รบั จากการวิจัย................................................................................. 2
นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ.................................................................................................... 3
กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ……………………………………………………………………………. 3
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง…………………………………………………………………. 4
เอกสารที่เก่ียวข้องกับการจาํ แนกภาษา……………………………….………………………. 4
เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้องกับภาษาต่างประเทศในภาษาไทย…………………………………….. 8
บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ การวิจยั ……………………………………………………………………………………… 12
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง…………………………………………………………………………. 12
เครือ่ งมอื ท่ีใช้ในการวิจยั …………………………………………………………………………….. 12
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู …………………………………………………………………………..…… 15
การวิเคราะห์ข้อมูล……………………………………………………………………………..………. 15
สถิตทิ ี่ใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู .................................................................................. 15
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล…………………………………………………………………………....….. 18
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ……………………………………………………………………………...….. 18
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ…………………………………………………………. 20
วัตถุประสงค์ของการวิจัย……………………………………………………………………..………. 20
ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง……………………………………………………………………..……. 20
เครอื่ งมือในการรวบรวมข้อมลู …………………………………………………………….….…….. 20

สารบัญ (ต่อ)

หนา้

บทท่ี 5 (ตอ่ )
สรปุ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู …………………………………………………………………………. 21
อภิปรายผลการวิจยั …………………………………………………………….……………………… 21
ข้อเสนอแนะ………………………………………………………………………………………….…… 22

บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………………………... 23

บทท่ี 1

บทนา

ความเปน็ มาและความสาคัญของปญั หา

ภาษาไทยเป็นภาษาประจําชาติไทยมีที่ความเป็นเอกลักษณ์ซ่ึงบ่งบอกถึงความเป็นไทย นอกจากนี้
ภาษายังเป็นเครื่องมือสอื่ สารของคนในชาติทาํ ให้เกิดความเข้าใจและสัมพันธ์อันดีแก่กัน สามารถดํารงชีวิตอยู่
รว่ มกนั ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ภาษาเปน็ เคร่ืองแสวงหาความร้ทู ีช่ ่วยพฒั นาและยกระดบั จิตใจของมนุษย์ให้
สงู ขึน้ ใช้ติดต่อในด้านการคา้ การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตของ
มนุษย์ท่ีจะต้องมีการส่ือสารระหว่างกัน การหยิบยืมหรือนําภาษาของต่างชาติมาใช้ในภาษาของต้นนั้นเกิดขึ้น
ได้จากการติดต่อกันระหว่างประเทศต่างๆท่ีเข้ามามีบทบาทต่อกัน อาจมาจากการสื่อสารด้านการค้าหรือการ
รับเอาวัฒนธรรมของชนชาติอ่ืนมา ฉะนั้นเราจึงควรท่ีจะศึกษาภาษาเหล่านั้นด้วยเพื่อให้เกิดความเข้าใจและ
นํามาใช้ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

การจดั การเรียนการสอนมีจดุ มุ่งหมายเพอ่ื การพฒั นาให้นกั เรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ท้ัง 4 ด้าน คือ
การอ่าน การฟ๎ง การพูด การเขียน โดยเฉพาะการอ่าน เป็นทักษะที่มีความสําคัญเพื่อใช้ในการสื่อสารและ
เรียนรู้ในระดับที่สูงข้ึนต่อไป ศรีรัตน์ เจิงกล่ินจันทร์ (2542, หน้า 4) กล่าวว่า การอ่านมีความสําคัญมาก ใน
การเรียนของเด็ก เพราะการอ่านเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการสร้างความคิดความเข้าใจเร่ืองราวต่างๆ นักเรียน
ที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงก็จะมีความสามารถทางการอ่านภาษาไทยได้ดีกว่านักเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิทาง
การศกึ ษาต่ํา

ภาษาถือว่าเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งและยังที่บ่งบอกว่าสังคมน้ันมีความเจริญแล้วทางวัฒนธรรม
นอกจากนี้ภาษายังเป็นเคร่ืองถ่ายทอดความคิด ความรู้ อารมณ์ และประสบการณ์ ฯลฯ ไปยังสมาชิกอื่นใน
สังคม ถือได้ว่าภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมสังคม ดังน้ันภาษาจึงมีหลากหลายตามสภาพสังคมที่มีความ
หลากหลายเช่นกัน ภาษายังสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะทางสังคมดังคํากล่าวของ ประคอง นิมมานเห
มินท์ และคณะ (2552, หน้า 42) ท่ีกล่าวถึงลักษณะของภาษาว่า “ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสารของคนในสังคม
คนในสังคมใช้ภาษาเพ่ือส่ือสาร การศึกษาภาษา การเรียนการสอนภาษา ตลอดจนการตัดสินความถูกผิดของ
ภาษา จึงตอ้ งพจิ ารณาปริบททางสงั คมด้วย”

สุรีรัตน์ บํารุงสุข (2557, หน้า 15) กล่าวว่า การรับคําต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาเป็น
ปรากฏการณ์ปกติของภาษาทุกภาษาเมื่อมีการติดต่อกับคนต่างประเทศ ย่ิงในป๎จจุบันซึ่งโลกแคบลง มีการ
ติดต่อคบหาทําการค้าขายแลกเปล่ียนความรู้ความคิดกันมากข้ึน ภาษาซ่ึงเป็นส่ิงสําคัญในการส่ือสารและการ
ทําความเข้าใจกันก็มีการแลกเปล่ียนหยิบยืมกันมากขึ้น ภาษาไทยมีคําต่างประเทศเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งต้ังแต่
สมัยเรม่ิ การบนั ทึกประวัตศิ าสตร์ คือ สมยั แรกของกรุงสโุ ขทัยแล้ว ดังปรากฏว่ามีคําภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต
ภาษาเขมร ภาษาเปอร์เซียและภาษาถ่ินเป็นหลักฐานอยู่ในศิลาจารึกหลักท่ี 1 จารึกพ่อขุนรามคําแหง ในสมัย
ต่อมาก็ปรากฏคําภาษาชวา คําภาษามลายู คําภาษาจีนในวรรณคดีไทยและภาษาพูด ปรากฏคําภาษาญี่ปุ่น
ภาษาสเปน ภาษาฝรั่งเศสในชื่ออาหารและคําภาษาอังกฤษในศัพท์ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การธนาคาร
การเมืองและอื่น ๆ

เมื่อมีการนําคําภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยจึงทําให้มีการบรรจุเนื้อหาการเรียนเก่ียวกับ
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยขน้ึ ในรายวิชาวิชาหลกั ภาษาไทยช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ซึ่งจากการสังเกตและการ

ทดสอบ นักเรียนยังขาดทักษะในการจําแนกคําไทยแท้และคําภาษาต่างประเทศ ทําให้ผู้วิจัยต้องการท่ีจะ
ศึกษาทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยโดยการใช้แบบฝึกทักษะ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะการจําแนกคําไทยแท้และคําภาษาต่างประเทศของ
นักเรียน

วัตถุประสงคข์ องการวิจยั

1. เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ทีม่ ีคณุ ภาพในระดับดี และมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสมั ฤทธกิ์ ารจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนกั เรยี นช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3/12 ระหว่างกอ่ นเรียนและหลังเรยี น โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาตา่ งประเทศ
ในภาษาไทย

สมมตฐิ านของการวจิ ยั

1. แบบฝึกทกั ษะที่สรา้ งข้นึ จะมปี ระสทิ ธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 ท่ีได้ใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นหลงั ใช้แบบฝึกทกั ษะสูงกวา่ กอ่ นการใช้แบบฝกึ ทกั ษะ

ขอบเขตการวจิ ยั

ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวิจัย
ประชากร
ประชากรท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั คร้งั นี้ เปน็ นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560

โรงเรยี นวัดเขมาภิรตาราม จํานวน 230 คน
กลุ่มตัวอยา่ ง
นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3/12 โรงเรียนวัดเขมาภริ ตาราม ซง่ึ ได้มาจากการสมุ่ อย่างงา่ ย

ตัวแปรทศ่ี กึ ษา
ตัวแปรต้น คือ การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคํา

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรบั นักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3/12
ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ในการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยของนักเรียนช้ัน

มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/12 โรงเรียนวัดเขมาภริ ตาราม

ประโยชน์ท่ีได้รบั จากการวิจยั

1. ฏแบบฝกึ ทักษะ เรือ่ ง การจาํ แนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี
ที่ 3 มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ สามารถนําไปใช้พัฒนาทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ได้

2. นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 3/12 มที ักษะในการจําแนกคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยดขี ้ึน
3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังจากที่เรียนโดยการใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง คําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย สาํ หรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 สูงกว่ากอ่ นเรียน

นิยามศัพท์เฉพาะ

ประชากร หมายถึง นักเรยี นท่กี ําลังศกึ ษาอยใู่ นระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนวดั เขมาภิรตาราม
จาํ นวน 230 คน

กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม ภาคเรียนท่ี 1
ปกี ารศกึ ษา 2560 ไดม้ าจากการสุ่มอย่างงา่ ย จํานวน 34 คน

คาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย หมายถึง คาํ ที่มาจากภาษาอนื่ แล้วมกี ารนํามาใชใ้ นภาษาไทยในหลาย
วธิ ี เช่น บาร์บีควิ ปาร์ตี้ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ

แบบฝึกทกั ษะ หมายถึง แบบฝึกทักษะท่ีผวู้ จิ ยั ใช้สาํ หรบั นักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3/12 เพ่ือให้ผู้เรียน
ได้ฝกึ ปฏิบัตกิ ารจาํ แนกคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

แบบทดสอบ หมายถึง ชุดคําถามที่ใช้วัดความรู้สําหรับการวิจัย ก่อนเรียนและหลังเรียน เร่ืองการ
จําแนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย แบบปรนยั 4 ตัวเลือก จาํ นวน 40 ข้อ

กรอบแนวคิดในการวิจยั

ในการวิจยั นี้ผวู้ จิ ัยได้ศกึ ษาตามกรอบแนวคดิ ดงั นี้

ตวั แปรต้น ตวั แปรตาม
แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร จํ า แ น ก คํ า ผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ใ น ก า ร จํ า แ น ก คํ า
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ของนกั เรยี นสงู ขนึ้

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง

การศึกษาเรอื่ ง การพฒั นาแบบฝกึ ทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยสําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ผวู้ จิ ยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิจัยดังนี้

1. เอกสารเกี่ยวข้องกบั การจาํ แนกคําภาษา
2. เอกสารเกี่ยวข้องกับคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

เอกสารเกี่ยวข้องกับการจาแนกภาษา

การแบ่งประเภทของภาษาและตระกูลของภาษา
การแบ่งประเภทของภาษา พระยาอนุมานราชธน (2520, หน้า 35) กล่าวถึงการแบ่งภาษาไว้ใน

หนังสอื นิรกุ ติศาสตร์ ว่ามอี ยู่ 3 วิธี คือ
1. แบ่งตามเช้ือชาตขิ องผพู้ ดู ซึ่งเปน็ เจ้าของภาษา วธิ ีน้ีเอาแน่นอนไม่ได้ เพราะคนชาติหน่ึง

อาจใช้ภาษาของอีกชาติหน่ึงได้ เช่น ชาวนิโกรพูดภาษาอเมริกัน มิได้หมายความว่าชาวนิโกรเป็นเชื้อชาติ
เดียวกับชาวอเมริกนั เราจงึ ไม่ใชก้ ารแบง่ ภาษาตามวิธนี ี้

2. แบง่ ตามรูปลักษณะของภาษา ถ้าภาษาใดมีการประกอบคําและการนําคําเข้าประกอบ
เป็นประโยคด้วยวิธเี หมือนกันหรอื คลา้ ยคลงึ กัน ก็อาจรวมเขา้ เป็นประเภทเดยี วกนั ได้

3. แบง่ เปน็ ตระกลู ของภาษา เป็นการแบ่งโดยอาศัยหลักในการแบ่งอย่างวิธีที่ 2 ถ้าภาษา
ใดมีรูปลักษณะเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน คือ มีคําพูดซ่ึงเป็นคําเดิมในภาษาส่วนใหญ่พร้องกันประกอบคํา
เข้าเปน็ ประโยค ในทํานองเดียวกนั และยิง่ มคี วามเป็นไปร่วมกันในทางประวัติศาสตร์ด้วย ก็จัดว่าภาษานั้นร่วม
ตระกลู ภาษาเดียวกนั นักวชิ าการทางด้านภาษา นยิ มใชว้ ิธี 2 ประการหลังนี้ในการแบ่งภาษา

การแบ่งภาษาตามรปู ลกั ษณะของภาษา
พระยาอนุมานราชธน และนักวิชาการทางไวยากรณ์ไทยหลายท่าน แบ่งภาษาโดยรูปไว้ 4 ชนิด

คือ
1. รูปภาษามีวิภัตติปัจจัย คือ ภาษาที่มีคําด้ังเดิมเป็นธาตุ (คําในบาลีสันสกฤตมีรากศัพท์

ซ่ึงเรียกว่า “ธาตุ”) เมื่อนําธาตุมาประกอบกับป๎จจัย จะได้ “ศัพท์” ภาษาท่ีมีลักษณะ เช่นนี้ ได้แก่ ภาษา
สนั สกฤต ภาษาละติน ภาษาอังกฤษ ภาษากรีก เปน็ ต้น

ธาตุ (root) คือ รากศัพท์ที่มีความหมายในตัว แต่ยังนําไปใช้ไม่ได้ ต้องนําไปปรุงแต่ง
เสียก่อน ธาตุแต่ละตัวอาจปรุงเป็นศัพท์ได้หลายศัพท์โดยอาศัยป๎จจัยต่างกัน และป๎จจัยแต่ละตัวมีวิธีตกแต่ง
ธาตุเป็นเฉพาะอย่างไป สรุปได้ว่า ธาตุต่างๆ ยังนําไปใช้ไม่ได้ ต้องนําไปแต่งเป็นศัพท์ก่อน วิธีการแต่งคือ นํา
“ธาตุ” ไปลง “ปจ๎ จัย” จะไดเ้ ป็นศพั ท์ อาจเปน็ กริยาศพั ท์หรือนามศัพท์

เม่ือได้ “ศัพท์” แล้ว นําศัพท์มาประกอบวิภัตติให้เป็นบทแล้วนําบทไปเรียงเข้าประโยคใน
ตําแหน่งใดก็ได้เพราะมีวิภัตติกํากับบทแต่ละบท ให้รู้ว่าทําหน้าที่อะไรในประโยคอย่างแน่ชัด บางประโยคแม้
ไม่มีตัวประธานปรากฏอยู่ ก็ยังสามารถรู้ได้ว่าใครเป็นประธาน เพราะว่าวิภัตติของกริยาจะช่วยบอกให้ เช่น
วนทฺ ติ (เขาผ้ชู ายทง้ั หลายไหว)้

“ธาตุ” เป็นคําด้ังเดิมของวิภัตติป๎จจัย โดยมากเป็นคําพยางค์เดียว สําหรับเอาป๎จจัยเข้าไป

ประกอบให้เป็นศพั ท์ขน้ึ (ธาตุ + ปจ๎ จยั ศัพท์)

ตวั อย่าง

ธาตุ ปจ๎ จัย กฤตได้ คาํ แปล

ชนฺ (เกดิ ) + กวฺ ิ ช ผู้เกิด

กรฺ (ทาํ ) + กฺวิ ก ผู้ทาํ

ปาลฺ (เลยี้ ง) + กวิ ป ผู้ปกครอง

ข้อสังเกต : 1. กฺวิ / ป๎จจัย เม่ือลงท้ายธาตุตัวใด ต้องลบคํา “กฺวิ” ท้ิงท้ังหมด และต้องลบตัวท้ายของธาตุ

ออกดว้ ย ศพั ทท์ ไ่ี ด้แปลว่า “ผู้”

2. กฤต / วิธีกฤต คือ การปรับปรุงหรือตกแต่งธาตุท่ีเกิดจากการลงป๎จจัยโดยวิธีต่างกัน ให้มี

ความหมายตา่ งออกไป

2. รปู ภาษาคาตดิ ต่อ คอื ภาษาที่เอาคําท่ีเรียกในภาษาอังกฤษว่า affix คือ คําเติมอันได้แก่

คําเตมิ หน้าหรืออุปสรรค (prefix) คาํ เติมกลาง (infix) และคําเติมหลังป๎จจัย (suffix) เข้าไปประกอบกับคําเดิม

ให้เกิดเป็นคําต่าง ๆ ข้ึนมาในภาษา เมื่อประกอบกันแล้วคําเดิมและคําเติมยังคงรูปอยู่ ภาษาท่ีมีลักษณะคํา

เช่นน้ี ได้แก่ ภาษาชวา มลายู ภาษาทมฬิ ภาษาตรุ กี ภาษาเขมร ภาษาเกาหลเี ป็นต้น

ตัวอย่าง ภาษามลายู (เตมิ หน้า) เช่น (สธุ ิวงศ์ พงศไ์ พบูลย์, 2536, หนา้ 31)

Gail = ขดุ

Pen+gail = pengail เครอ่ื งขดุ (เสยี ม)

Churi = ขโมย ลัก

Pen+churi = penchuri ผขู้ โมย โจร

ภาษามลายู (เตมิ หลัง) เชน่

Makan = กนิ

Makan + an = กนิ

ภาษาเขมร เชน่

เรยี น = เรียน

เตมิ อปุ สรรค บงฺ = ทําการเรียน คือการสอน

เจฺรียง = รอ้ งเพลง

เตมิ -º (นฤคหติ ) ตรงกลาง = จเํ รียง หรือจมฺเรยี ง (จ็อมเรียง) เพลงทีร่ อ้ งหรอื นักร้อง (ไทยใช้ จําเรียง

เปน็ คาํ กริยา)

3. รูปภาษาคาควบมากพยางค์ มีลักษณะท่ีคล้ายคําติดต่อ แต่ใช้เอาคําหลายคํามาติดต่อ

ยาวยืดเท่ากับเป็นคําท้ังประโยค เช่น ภาษาชาวเม็กซิโก มีคําว่า achichillachocan แปลว่า ที่ซึ่งคนร้องไห้

เพราะนา้ํ ตาแดง ประกอบด้วยคาํ ว่า (อนุมานราชธน(พระยา), 2517, หน้า 44)

Alt แปลวา่ น้าํ

Chichiltic แปลวา่ แดง

Tlacatl แปลว่า คน

Chorea แปลวา่ ร้องไห้

คําเหล่าน้ีเม่ือเอามารวมกัน บางเสียงหดหายไปบ้าง รูปภาษานี้ใช้กันในบรรดาชาว
อินเดียนแดง ชาวเอสกโิ ม ภาษาอะลองควิน (Alonquin) และชาวเกาะทะเลใต้บางแห่ง

ภ า ษ า ล ะ อ อ ง ค วิ น ( Alonquin) เ ป็ น ภ า ษ า ช า ว อิ น เ ดี ย พ ว ก น่ึ ง มี คํ า เ ช่ น
wutappesittukqunnooweh tunkquoh ซึ่งประกอบด้วยคําหลายคําเอามา ติดต่อกันคือ wut ap sit tuk
quo sun noo weht unk quoh รวมเป็นคําคําดียว แปลว่า เขาคุกเข่าแดงเคารพเค้า (He’falling on his
knees worsh knees worshipped him)

4. รูปภาษาคาโดด คือ เอาคําต้ัง (Base word) หรือคํามูลมาเรียงลําดับกันเข้าเป็น
ประโยค คําต้ังเหล่าน้ี เม่ือเรียงเข้าประโยคแล้วก็ยังคงรูปเดิม ไม่มีการเปล่ียนแปลงรูปไปเหมือนภาษามีวิภัตติ
ป๎จจัย หรือไม่มีการลงอุปสรรค (เติมหน้า) เหมือนภาษาคําติดต่อบางภาษา คําท่ีอยู่ในประโยคทุกคําต่างก็มี
อสิ ระในตัวเองไม่ผูกพันกับคาํ อนื่ เช่น “ตาํ รวจยิงโจร” มีความหมายอย่างหน่ึง ถ้าเปล่ียนลําดับในประโยคเป็น
“โจรยิงตํารวจ” ความหมายก็จะเป็นอีกอย่างหน่ึง หรือในประโยค ฉันรักเธอ / เธอรักฉัน ความหมายก็จะไม่
เหมอื นกัน และถา้ จะกล่าววา่ “รักเธอฉนั ” กส็ อ่ื ความหมายไม่เขา้ ใจ

การแบง่ ประเภทของภาษา นอกจากจะแบ่งตามรูปลักษณะภาษาหรือแบ่งโดยรูปแล้วยังมีวิธี
อีกวิธีหนึ่ง คือ การแบ่งภาษาโดยอาศัยความสัมพันธ์ของภาษาเป็นหลัก การจําแนกภาษาด้วยวิธีนี้ ทําให้เกิด
เป็นภาษาต่างๆขึ้นมา โดยตระกูลภาษานี้ไม่เกี่ยวข้องกับเชื้อชาติ เช่น คนไทยมีภาษาไทยแต่ไปเกิดใน
ภาษาองั กฤษ ยอ่ มพูดภาษาอังกฤษ เพราะส่งิ แวดล้อมคือสงั คม เป็นตัวกาํ หนดภาษา ไมใ่ ช่พันธกุ รรม

หลักเกณฑ์ในการจําแนกหรือจัดว่าภาษาอยู่ในตระกูลเดียวกันนั้นใช้วิธีเทียบเสียงภาษา ท่ีมี
ความสัมพันธ์กันฉันพี่น้อง หรือสืบทอดมาจากภาษาโบราณสังคมเดียวกัน มีประวัติและวิวัฒนาการร่วมกันมา
จะมีเสยี งเปรียบเทยี บซ่งึ เป็นเปน็ ไปอย่างมรี ะบบ การเทียบเสียงนั้นจะใช้คําเดิม ในภาษาท่ีไม่ใช่คํายืม หรือคํา
ท่ีเกิดขึน้ ใหม่ ถ้าเปน็ ภาษาทไ่ี ม่มีความสัมพันธ์กันแล้วเราจะหาเสียงเทียบไม่ได้ เช่น เสียง [b] ในภาษาไทย จะ
บอกไม่ไดว้ ่า ตรงกบั เสียงอะไรในภาษาองั กฤษ แต่จะบอกไดว้ า่ [b] ในภาษาไทย ตรงกับเสียง [m] ในภาษาไต
คาํ ตี่ (ไทยคําตี่ ไตคาํ ท่ี หรอื ไตคาํ ตี่ - เป็นคนไทยในอสั สัม (ไทยใหญ่) บางหมู่ หมู่บ้านแขวงเมือง Nefa (เนฟา)
ท่ยี ังพดู ภาษาไทยอยู่ (สุธวิ งศ์ พงศไ์ พบูลย)์

การจําแนกภาษาออกเป็นตระกูล โดยอาศัยความสัมพันธ์ของภาษานี้ ยังมีความสมบูรณ์
เพราะภาษาในโลกมีจํานวนหลายพันภาษา มีภาษาอีกจํานวนไม่น้อยท่ียังไม่ได้มีการศึกษาค้นคว้า ตระกูล
ภาษาของนักภาษาก็ยังมีความแตกต่างกัน และอาจจะมีการเปล่ียนแปลงไปเร่ือย ๆ ถ้างานศึกษาค้นคว้า
ทางดา้ นภาษายังมีอยู่

คาไทยแท้และลกั ษณะของคาไทยแท้
คําไทยที่ใช้อยูใ่ นภาษาไทยทกุ วนั น้ี มีทัง้ คาํ ไทยแท้ และคําที่มาจากภาษาอ่ืน เราจึงมีคําใช้ในภาษา

อย่างหลากหลาย เกี่ยวกับคําในภาษาไทย จะทําให้เราบอกได้ว่าคําใดเป็นคําไทยแท้ และคําใดมาจากภาษา
อืน่ จงึ ควรเรยี นร้เู พ่อื ทีจ่ ะเขา้ ใจถึงความแตกต่างและสามารถนําไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นเป็นการสืบ
สานใหภ้ าษาไทยคงอย่สู ืบไป

คาํ ไทยแท้ หมายถงึ คาํ ทคี่ นไทยหลาย ๆ ถ่ินใช้รวมกัน โดยอาจจะเปลี่ยนเสียงพยัญชนะ เสียงสระ
หรือเสยี งวรรณยุกต์ แต่มีหลกั ฐานทจี่ ะช้ีไดว้ า่ เป็นคาํ ที่มคี วามหมายเดียวกนั

ในพจนานุกรม ฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ซ่ึงทางราชการกําหนดให้ใช้เป็นบรรทัดฐานก็มี
คําไทยซึ่งมาจากภาษาต่างประเทศหลายภาษา เช่น เขมร จีน ชวา ญวน ตะเลง เบงคลี บาลี สันสกฤต
อังกฤษ ฝรั่งเศส และฮนิ ดี คําใดมาจากภาษาใด จะบอกไว้ในวงเล็บข้างสดุ ทา้ ยของคําอธิบายแต่ละคํา หากไม่มี
บอกไว้ แสดงว่าเปน็ คําไทยแทแ้ ตเ่ ดมิ

คําไทยแท้ส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว มีใช้อยู่ครบทั้ง 7 ชนิด ตามที่จําแนกทราบแน่ชัดว่าเป็นคํามา
จากภาษาใด ซ่งึ ลกั ษณะของคาํ ไทยแท้ คอื นาม สรรพนาม กริยา วเิ ศษณ์ สันธาน อทุ าน มีดงั ตวั อยา่ งตอ่ ไปน้ี

นาม เชน่ แมว มา้ ไก่ จาน บ้าน ลม ไฟ ฯลฯ
สรรพนาม เช่น ผม ฉัน คุณ เธอ แก เขา มัน ฯลฯ
กรยิ า เช่น นั่ง นอน กิน ด่มื เขียน พดู เดิน ฯลฯ
วิเศษณ์ เช่น ออ่ น น่มุ สงู ตาํ่ เขยี ว เลก็ เหมน็ ฯลฯ
บพุ บท เช่น ใน บน แห่ง ของ ขา้ ง รมิ กับ ฯลฯ
สันธาน เช่น แตก่ ็ ถา้ แม้ เพราะจึง ฝา่ ยว่า ฯลฯ
อทุ าน เชน่ เอ๊ะ อ้อ อา้ ว อ๊ยุ โอ๊ย ไฮ้ แหม ฯลฯ
คําไทยแท้บางคํามีหลายพยางค์ เช่น มะม่วง มะตูม ตะขบ สะใภ้ ฉะน้ัน ฯลฯ คําหลายพยางค์
เหล่านอ้ี าจเกิดขึน้ ได้ เพราะสาเหตตุ อ่ ไปนี้
1. การกลมกลนื เสียง ไดแ้ ก่ การผสานเสยี งของทา้ ยคําหน้ากับคําหลงั เช่น

อยา่ งไร เป็น ยังไง
อย่างน้ี เป็น ยังงี้
อย่างนน้ั เป็น ยงั งัน้
ทาํ ไร เป็น ทําไม
ทีเดยี ว เป็น เทยี ว
หรือไม่ เป็น ไหม
2. การกร่อนเสียง คือ คาํ สองพยางค์ ทีเ่ ดมิ เกดิ จากคาํ พยางค์เดียว 2 คําเรียงกันภายหลัง
พูดเร็ว ๆ เข้า เสียงคําแรกจึงกร่อนลง หรือเกิดจากการกร่อนเสียงของคําหน้า โดยพยางค์ท่ีกร่อนเสียงแล้ว
กลายเปน็ พยางคห์ นา้ ของคาํ หลงั เชน่
ตาปู เป็น ตะปู
ตาวนั เป็น ตะวัน
ตัวขาบ เป็น ตะขาบ
ตน้ เคยี น เป็น ตะเคียน
หมากปราง เป็น มะปราง
หมากม่วง เป็น มะม่วง
เฌอพลู เป็น ชะพลู
อันไร เป็น อะไร
อันหน่ึง เป็น อนึ่ง
3. การแทรกเสียง สันนิษฐานว่า เดิมมีคําพยางค์เดียวเรียงกัน 2 คํา ต่อมามีการแทรก
เสียง อะ เข้าตรงกลาง กลมกลืนกับเสียงตัวสะกดของคําหน้า คําที่แทรกเข้ามาใหม่จึงกลายเป็นพยางค์หน้า
ของคําหลัง เช่น
ลกู กระเดอื ก มาจาก ลูกเดอื ก
ลกู กระด่งิ มาจาก ลูกด่งิ
ลกู กระดุม มาจาก ลูกดมุ
ลกู กระพรวน มาจาก ลูกพรวน
ลูกกระท้อน มาจาก ลกู ท้อน

นกกระจบิ มาจาก นกจกิ
ผกั กระถิน มาจาก ผักถนิ
ผักกระเฉด มาจาก ผักเฉด
คําเปล่ียนแปลงใหม่ บางคํากลายเป็นคําท่ีติดอยู่ในภาษา คําเดิมอาจหายไปหรือเปล่ียน
ความหมายใหม่ เช่นคําว่า “หมาก” ซ่ึงเดิมหมายถึง ต้นไม้ท่ีมีผลหรือผลไม้ ในคําว่าหมากม่วง หมากขาม
ปจ๎ จุบัน “หมาก” หมายถึง ปาล์มชนดิ หนง่ึ ซงึ่ ผลมีรสฝาด
4. การเติมพยางค์หนา้ คามลู คาํ เหล่านีม้ กั มคี วามหมายใกล้เคียงกัน ทั้งคําท่ีเติมแล้วและ
คาํ ทย่ี ังไม่ได้เติม เช่น
ชดิ เป็น ประชิด
ทํา เป็น กระทาํ
ถด เป็น กระถด
เดย๋ี ว เป็น ประเดยี๋ ว
โดด เป็น กะโดด กระโดด
โจน เป็น กะโจน กระโจน
ดกุ ดิก เป็น กะดุกกะดกิ กระดกุ กระดกิ
คําไทยแทไ้ มใ่ ชต่ ัวการันต์ คาํ ท่ีใช้ตัวการันต์ส่วนมากมาจากภาษาอ่ืน โดยเฉพาะภาษาบาลี
สนั สกฤต และภาษาอังกฤษ
คาไทยแท้ เช่น จัน (ผลไม้ชนิดหนึ่ง) วง (รูปท่ีเส้นล้อมรอบไม่มีเหลี่ยม) รม (อบ
ด้วยควันหรือความร้อน) ปอน (ซอมซอ่ ) ไร (แมงชนดิ หนง่ึ รอยผมท่ีถอน) ฯลฯ
คามาจากภาษาบาลีสันสกฤต เช่น จันทร์ จันท์ (ดวงเดือน) วงก์ (โค้ง ลดเล้ียว)
วงศ์ (เชอ้ื สาย รมย์ (นา่ สนุก บันเทงิ ใจ) ฯลฯ
คามาจากภาอังกฤษ เช่น ปอนด์ (หน่วยเงินตราอังกฤษ) ไรย์ (ไม้ล้มลุกชนิดหน่ึง)
สแควร์ ไฮเวย์ แอร์เวย์ รันเวย์ สไตล์ ฯลฯ

เอกสารเกี่ยวขอ้ งกับคาภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ภาษาเป็นสว่ นหน่ึงของวฒั นธรรม วฒั นธรรมกบั ภาษาเกดิ จากปญ๎ ญาของมนุษย์ลักษณะธรรมชาติของ
ภาษาจะต้องมกี ารเปลยี่ นแปลงอยู่เสมอ ตรงกันข้ามถ้าภาษาใดไม่มีการเปล่ียนแปลง ภาษาน้ันย่อมเป็นภาษา
ที่ตายแล้ว เช่น ภาษาละติน และภาษาสันสกฤต ภาษาเหล่านี้ป๎จจุบันปรากฏเป็นภาษาเขียน หรือคํายืมใน
ภาษาอน่ื

ภาษาไทยเป็นภาทมี่ ีชวี ิต ยอ่ มมีการหยบิ ยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ปะปนกับภาของตนอยู่เสมอ การยืม
คาํ จากภาษาอน่ื มาใช้เปน็ การชว่ ยให้มีถ้อยคําใช้มากข้ึน และเพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อสื่อสาร การ
ยืมคํามาใชไ้ มม่ ขี อบเขตจาํ กัดตายตวั อาจจะยืมเสียง ยืมคํา หรือยืมไวยากรณ์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับความต้องการและ
ความสะดวกของผใู้ ช้

คําภาษาต่างประเทศท่ีไทยยืมมาใช้ท่ีนับว่ามีอิทธิพลต่อภาษาไทยมาก ได้แก่ ภาษาบาลีสันสกฤต
เขมร อังกฤษ และภาษอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาฝร่ังเศส ภาษาชวา ภาษามลายู ภาษาญ่ีปุ่น ภาษา
มอญ ภาษาทมิฬ ภาษาเปอรเ์ ซยี ภาษาโปตุเกส ภาษาพมา่ ฯลฯ

สาเหตุทีต้องยืมคําภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยนั้นก็เพราะว่า คําในภาไทยมีไม่พอเพียง และ
เพื่อต้องการให้ภาษาไทยมีความสมบูรณ์ย่ิงข้ึนน่ันเอง (จิรวัฒน์ เพชรรัตน์ และ อัมพร ทองใบ, 2556, หน้า
87)

ลักษณะความสมั พนั ธ์ระหว่างภาษา
ประยูร ทรงศิลป์ (2556, หนา้ 60) กลา่ วถงึ ลกั ษณะของความสัมพันธ์ของภาษาไว้สรุปได้ว่า การ

ทีภ่ าษาหนง่ึ เขา้ ไปปะปนกบั อีกภาษาหนงึ่ ซึ่งเปน็ ธรรมชาตขิ องภาษา เพราะเมื่อคนได้ติดต่อ มีคามสัมพันธ์กัน
นั้นย่อมมีผลทําให้ภาษาได้มีความสําพันธ์กันไปด้วย ซ่ึงสามารถจําแนกความสําพันธ์ของภาษาออกเป็น 3
ประการ พอสรุปไดด้ ังนี้

1. สภาพชั้นลึก (Substratum) สภาพนี้เกิดจากการท่ีบุคคลกลุ่มหน่ึง เข้าไปปะปนกับ
บุคคลอีกกลุ่มหน่ึง ซ่ึงเป็นสังคมท่ีต่างภาษากัน โดยชนกลุ่มแรกเป็นชนที่มีอิทธิพลเหนือกว่า ได้นําเอาภาษา
ของตนเข้าไปเผยแพร่ ทาํ ใหช้ นกลุ่มหลังตอ้ งใชภ้ าษาของชนกลุ่มแรก แต่ลักษณะภาษาจะไม่เหมือนกับชนกลุ่ม
แรกซึ่งเป็นเจ้าของภาษา เพราะได้เอาลักษณะภาษาด้ังเดิมของตนเข้าไปปะปนอยู่ด้วย ซึ่งเป็นลักษณะตาม
ธรรมชาติที่จะเอาความรู้ความคิดดั้งเดิมของตนเองไปเทียบกับของใหม่ที่รับเข้ามาในป๎จจุบัน เม่ือเราเรียน
ภาษาต่างประเทศ เรามักจะใช้ภาษาผิดบ่อย ๆ เพราะเอาลักษณะของภาษาไทยเข้าไปปะปน ซึ่งอาจจะเป็น
ทางด้านการออกเสียง สํานวนการพูด การเรียงคํา ฯลฯ ชาวไทยภูเขา แม้จะพูดภาษาไทยได้ แต่จะมีลักษณะ
ของภาษาเดิมเขา้ มาปะปนไม่เหมอื นภาษาไทยโดยทวั่ ๆ ไป หรอื ภาษาอังกฤษท่ีใช้พูดกันในแคว้น Waies (ในส
หราชอาณาจักรอังกฤษ) และ Ireland (ประเทศไอร์แลนด์) แตกต่างจากภาอังกฤษในอังกฤษ เพราะมี
ลักษณะชั้นลึก (Substratum) ของภาษา Celtic รวมอยู่ด้วย (celt = ชาวเซลต์ที่อาศัยอยู่ในหมู่เกาะอังกฤษ
ก่อนชาวแองโกลแซกซอน ป๎จจุบันอยู่กระจัดกระจายตามสกอตแลนด์ ไอร์แลนด์ และเวลล์) ความสัมพันธ์ใน
ลักษณะ Substratum น้ี ในสมัยโบราณทม่ี กี ารลา่ อาณานิคมจะพบอยเู่ ป็นจํานวนมาก

2. สภาพช้ันผิว (Superstratum) เป็นลักษณะตรงกันข้ามกับในประการแรก กล่าวคือ
คนในสังคมหนง่ึ ไดบ้ กุ รุกเขา้ ไปปะปนกบั คนในอีกสังคมหนึ่ง ท่ีมีการใช้ภาษาแตกต่างกัน ชนในกลุ่มแรกได้เข้า
ครอบครองชนในกลมุ่ หลงั แต่เพราะชนในกลมุ่ แรกมีจํานวนน้อย หรือมีวัฒนธรรมและสภาพความเป็นอยู่ด้อย
กว่า จึงใช้ภาษาของชนกลุ่มหลังด้วย เช่น คนไทยอาหม ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ตามประวัติกล่าวว่า
เดินทางไปจากถิ่นเดิม (ซึ่งป๎จจุบันเป็นประเทศพม่า) เข้าไปในดินแดนท่ีป๎จจุบันเป็นรัฐอัสสัม ของประเทศ
อนิ เดยี เมอื่ อพยพเข้าไป ได้เข้าไปปราบพวกชนกลุ่มตา่ ง ๆ ในดินแดนแหง่ นั้นโดยไดร้ ับชัยชนะ ได้ต้ังราชวงศ์ มี
กษัตริย์ทําการปกครองคนในแถบน้ันเป็นเวลานาน แต่เนื่องจากได้เดินทางไปไกล และจํานวนผู้คนน้อยกว่า
ชาวเมืองด้งั เดมิ อยภู่ ายใต้การปกครองไปใช้ ป๎จจุบันคนไทยอาหมใช้ภาษาอัสสัม นับถือศาสนาฮินดู ยังคงพบ
ศัพท์ท่ีเป็นของคนไทยอาหม คือ ชื่อบุคคล ช่ือเมือง ชื่อตําบลบางแห่ง นามสกุลของคนอาหมท่ัว ๆ ไป และ
ศัพทท์ ีใ่ ชใ้ นการปกครองบ้างเทา่ น้นั

3. สภาพช้ันเคียง (Adstraturm) สภาพนี้ไม่ได้เกิดจากการท่ีมีผู้บุกรุกเหมือนกับสภาพท่ี
1 และ 2 แต่เกิดจาการท่ีภาษาสองภาษา มีลักษณะด้ังเดิมของภาษาแตกต่างกัน แต่มีสภาพทางภูมิศาสตร์อยู่
ใกล้เคยี งกนั ได้มวี ิวัฒนาการบางอยา่ งของภาษาเหมอื นกนั โดยท่ตี า่ งฝา่ ยตา่ งยงั คงรกั ษาลักษณะสภาพเดิมของ
ภาษาของตนไว้ เชน่ ภาษาไทย และภาเขมรจากการศกึ ษาจารกึ เขมรโบราณ ไม่ปรากฏว่ามีลักษณะนามใช้ แต่
จารกึ ในสมยั หลงั ปรากฏวา่ ลกั ษณะต่าง ๆ เหลา่ นเ้ี ป็นลักษณะท่ีเขมรไดร้ บั อทิ ธพิ ลไปจากไทย

จะกล่าวถึง “คนไทยอาหม” เพ่ือเพ่ิมความเข้าใจดังนี้ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (2536, หน้า 5)
กล่าวถึง คนไทยอัสสัม (ไทยใหญ่) ไว้ว่า อัสสัมเป็นแคว้น ๆ หนึ่ง อยู่สุดแดนตะวันออกของประเทศอินเดีย
และต่อแดนตะวันตกของพม่าบางทีเรียกว่า อาหม ภูมิประเทศเต็มไปด้วยภูเขา และยากต่อการติดต่อชนชาติ

อ่ืน ในอสั สัมนมี้ ีภาษาใชห้ ลายภาษา รวมทัง้ ภาษาไทยอยดู่ ้วย คนไดไ้ ทยอพยพลงมาสู่แคว้นน้ีหลายคราว และ
ได้มีอํานาจในแคว้นน้ีนาน เมื่อ ค.ศ. 1826 อัสสัมได้เสียเอกราชให้แก่อังกฤษ คร้ันอังกฤษคืนเอกราชให้แก่
อนิ เดยี อัสสัมกเ็ ป็นแควน้ หนงึ่ ของอนิ เดีย

มหี มู่บ้านคนไทยในอัสสมั บางหมู่ ยังพดู ภาษาไทยอยู่ม 1) หมูบ่ า้ น Namphabia
2) หมู่บ้าน Tipam 3) หมู่บ้าน Margherita (ท้ังสามหมู่บ้านนี้ อยู่แขวงเมือง Lakhimpur ไทยพวกนี้เรียก
ตนเองว่าไทยฟ้าเก้ และ 4) หมู่บ้านในแขวงเมือง Nefa (เนฟา) ซ่ึงเรียกตนเองว่าไทยคําตี่ หรือขําตี หรือไทย
หลวง

ภาษาที่ไทยกลุ่มน้ีพุดส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับภาษาไทยสยาม ผิดเพ้ียนกันบ้างไม่มากนัก เช่น
เรียก มะม่วงเปร้ียว ว่า มะม่วงส้ม นํ้าพริก เรียก น้ําผัก หญิงสาว เรียก ปะสาว ชายหนุ่ม เรียก ปะบ่าว ลิง
เรยี ก ลิง จับ เรียก กาํ เปน็ ตน้

ประเภทของการยมื
Leonard Bloomfield (1993, หน้า 444) กล่าวถึง ประเภทของการยืมภาษาซ่ึงกันและกันว่า

จําแนกออกได้ 3 ประเภท คือ
1. การยืมเน่ืองจากวัฒนธรรม (Cultural Barrowing) คือ การยืมท่ีเกิดจากคน 2 กลุ่มท่ีมี

วัฒนธรรม และภาต่างกัน ได้มีการติดต่อกัน กลุ่มท่ีมีลักษณะทางวัฒนธรรมด้อยความเจริญกว่าจะรับเอา
วัฒนธรรม และสภาพความเป็นอยู่จากกลุ่มท่ีมีความเจริญกว่า เช่น ไทย รับเอาวัฒนธรรมทางด้านศาสนา
วรรณคดีจากอินเดีย รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารการกินจากจีน วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย ความรู้ทาง
วิทยาการ และความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ จากทางตะวันตก เมื่อรับเอาวัฒนธรรมเข้ามา
ย่อมรบั เอาภาษาเข้ามาด้วย การยืมเน่อื งจากวฒั นธรรมนี้ ฝ่ายเจรญิ กว่าเป็นฝ่ายให้ ฝ่ายด้อยกว่าเป็นฝ่ายรับไม่
จาํ เปน็ วา่ ทั้งสองฝ่ายจะต้องมอี าณาเขตอยู่ใกล้ชิดติดกนั

2. การยมื เน่อื งจากความใกลช้ ิด (Intimate Borrowing) คอื การท่กี ล่มุ คน 2 กลุ่ม ที่ใช้ภาษา
ต่างกัน อยู่ร่วมในสังคมเดียวกัน หรือมีสภาพอาณาเขตที่ใกล้ชิดติดกัน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันมากใน
ชวี ิตประจาํ วัน ได้เกิดการหยิบยืมภาษากันขึ้น โดยต่างฝ่ายต่างยืมซ่ึงกันและกันหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยืมจากอีก
ฝ่ายหนึ่งก็ได้ เช่น ไทยกับเขมรมีอาณาเขตใกล้ชิดกัน และอยู่ร่วมสังคมเดียวกันมาเป็นเวลาช้านาน ต่างฝ่าย
ต่างขอยืมภาษาซึ่งกันและกันเข้าไปใช้ในภาษาของตนเองซ่ึงเราจะพบว่ามีภาษาคําเขมรเ ข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยจํานวนไม่น้อย และถูกนํามาใช้เป็นคําศัพท์สามัญ เช่น เดิน เจริญ เรียน ระบํา ฯลฯ และใช้เป็น
ราชาศพั ท์ เช่น โปรด ตรัส เสวย เสด็จ บรรทม ฯลฯ ในขณะเดียวกันคําในภาษาไทยได้เข้าไปปะปนในภาษา
เขมร เช่น หลวง หมด หนอ หนอง เฝ้า ฯลฯ และจํานวนนับ เช่น สามสิบ ส่ีสิบ ร้อย พัน หม่ืน แสน ฯลฯ
นอกจากนัน้ ภาษาเขมรซง่ึ เปน็ ภาษาทไี่ ม่มวี รรณยกุ ต์ ยงั รบั เอาวรรณยกุ ต์จัตวาเขา้ ไปใช้ในภาษาอีกดว้ ย

นอกจากภาษาเขมรแล้ว ภาษาไทยยังมีคําภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่เป็นจํานวนมาก เช่น
เก้าอ้ี อ้ังโล่ ปุ้งก๋ี โอเลี้ยง บะหมี่ เจ๊ง ห้าง หุ้น เก๊ียะ เกี๊ยว ก๋ง(ปู่) ซีอ๊ิว ฯลฯ และคนจีนในประเทศไทยก็ได้รับ
เอาคําในภาษาไทยไปใช้มากมาย จนทําให้ภาษาจีนในไทยมีความแตกต่างจากภาษาจีนของคนจีนในประเทศ
จนี เปน็ อยา่ งมากไม่วา่ จะเปน็ จนี กลางหรอื จีนแตจ้ ๋วิ ก็ตาม

3. การยืมจากคนตา่ งกลุม่ (Dialect Borrowing) คือการยืมภาษาเดียวกันแต่เป็นภาต่างกลุ่ม
หรอื ตา่ งสภาพภูมศิ าสตร์ หรือตา่ งสภาพภูมิศาสตร์ หรอื ต่างสภาพการศึกษากันก็ได้ การยืมชนิดนี้แตกต่างจาก
ทัง้ 2 ขอ้ ท่ีได้กล่าวมาแลว้ กล่าวคอื เป็นการยมื ภาษาเดียวกัน แต่ผู้ใช้อยู่ในสภาพที่ต่างกัน ด้วยแง่ใดแง่หน่ึงท่ี
กล่าวมาแล้วข้างต้น ตัวอย่างเช่น ภาษาไทยกลางมีคําว่า “เดิน” ใช้ แต่ในขณะเดียวกันไทยถิ่นยังคงใช้คําว่า

“ย่าง” อยู่ เช่น ถิ่นอีสานใช้คําว่า “ญ่าง” แต่ป๎จจุบันไทยถ่ินอีสานจํานวนไม่น้อยใช้คําว่า “เดิน” แสดงว่าได้
เกดิ การหยบิ ยมื จากภาษาไทยกลาง

กลุ่มชนของไทยในสังคมชนบทและสังคมในเมืองจะใช้ภาษาที่แตกต่างกัน เช่น คําว่า กิน
หัว กู มึง เอ็ง ข้า เป็นภาษาที่ใช้ในสังคมชนบทตามปกติ แต่เม่ือคนในสังคมเหล่าน้ีได้มีการติดต่อกับกลุ่มชนที่
ใชภ้ าแตกตา่ งจากตัวเองไป จะเกดิ การเรียนรแู้ ละหยิบยืมคาํ ว่ารบั ประทาน ศีรษะ ผม ข้าพเจ้า คุณ ท่าน ฯลฯ
เขา้ ไปใช้ในสงั คมของตนเองด้วย

อิทธพิ ลของคายืม
คํายืมมีส่วนท่ีจะทําให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงได้มากมาย สุดแล้วแต่จํานวนคําที่ยืมจะมี

มากน้อยเทา่ ใด ส่งิ แรกทค่ี ํายมื ทาํ ให้ภาษาเปล่ยี นแปลงไปกค็ อื ทําให้จาํ นวนคําในภาษาเพ่ิมมากย่ิงขึ้น ในกรณี
ที่คําศพั ทน์ ้นั เป็นคําศพั ท์ทไี่ ม่เคยมีใช้เพื่อแทนสิ่งของ หรอื ความคดิ ในสังคมน้ัน ๆ มาก่อน แต่บางคร้ังศัพท์ที่ยืม
เข้ามาก็เป็นศัพท์ท่ีใช้พูดถึงสิ่งของ หรือความคิดที่มีอยู่แล้ว ซึ่งเดิมก็มีศัพท์สําหรับเรียกสิ่งน้ัน ๆ จะทําให้เกิด
การเปลย่ี นแปลงดา้ นอ่นื ๆ อกี ด้วย สรุปอทิ ธพิ ลของคํายืมท่มี อี ิทธพิ ลตอ่ ภาษาของผู้ยืม ดงั นี้

1. อทิ ธิพลท่มี ีต่อเสียง
2. อทิ ธิพลที่มตี ่อวงศพั ท์
3. อทิ ธพิ ลท่มี ตี ่อความหมาย
4. อทิ ธพิ ลท่มี ีตอ่ การเรยี งคาํ
อิทธิพลท่ีมีต่อเสียง การยืมคําไม่พบว่ามีการยืมเสียง แต่เสียงเป็นผลที่พลอยได้จากการยืม
ศัพท์ โดยเฉพาะการยืมประเภทการทับศัพท์ด้วยแล้ว จะมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียงมาก
กล่าวคือ เสยี งนน้ั อาจจะเปน็ เสียงทีไ่ ม่เคยมปี รากฏในภาษานั้นมาก่อนเมื่อเกิดการยืมคําจากภาษาอ่ืนเข้าไปใช้
มาก ๆ เข้า เป็นผลทาํ ให้พลอยรับเสยี งของภาษานั้นๆ เข้าไปด้วย เช่น คําในภาษาอังกฤษ แต่เดิมไม่มีเสียง [z]
และ [v] แตเ่ มอ่ื สมัยหน่ึง องั กฤษมกี ษตั รยิ ์เปน็ ชาวฝร่ังเศส ไดย้ ืมคําจากภาษาฝร่ังเศสไปใช้เป็นจํานวนมากมาย
จึงทาํ ใหม้ เี สยี ง [z] และ[v] ในภาอังกฤษด้วย ในภาษาอังกฤษมีเสียง [f] และ [r] แต่สองเสียงน้ีไม่เคยเกิดคู่กัน
ในภาไทย ป๎จจบุ นั อิทธิพลคํายืมจากภาษาองั กฤษทําให้เรามีเสียง [fr] ใช้
อิทธิพลท่ีมีต่อวงศัพท์ ดังท่ีได้กล่าวมาแล้วว่า การยืมส่วนใหญ่นั้น เป็นการยืมคําศัพท์ย่อม
ทําให้มีผลกระทบต่อจํานวนศัพท์ในภาษาด้วย ถ้าคําศัพท์ท่ียืมเข้าไปนั้น ใช้แทนส่ิงของใหม่ ความคิดใหม่ท่ีไม่
เคยมีใช้ในภาษามาก่อน ก็จําทําให้มีศัพท์ใช้ในภาษามากย่ิงขึ้นอันเป็นการเพ่ิมพูนศัพท์ในภาษา แต่ถ้าหาก
ส่ิงของหรือความคิดนั้นมีใช้อยู่แล้ว ก็จะก่อให้เกิดการแข่งแข่งขันด้านใช้ศัพท์เก่าศัพท์ใหม่ เมื่อศัพท์นั้นใช้กัน
อยูช่ วั่ ระยะเวลาหนึ่ง ก็จะรวู้ ่าศัพทใ์ ดเป็นศพั ท์ติด อาจจะมีการเลิกใชศ้ พั ทบ์ างคําไปซ่ึงอาจจะเป็นศัพท์เก่าหรือ
ศัพท์ใหม่ก็ได้ และหากว่าศัพท์ท้ังเก่าและใหม่ ยังเป็นท่ีนิยมใช้ คือ เป็นศัพท์ติดทั้งคู่ ก็จะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านความหมายหรือฐานะของศัพท์ โอกาสในการใช้ศัพท์ ฯลฯ การที่ทั้งศัพท์เก่าและศัพท์
ใหมค่ งอยู่ร่วมกันในภาษา และส่ือความหมายเดยี วกนั แตม่ ีวาระในการใช้ต่างกัน ทําให้เกิดวิธีการพูดและการ
เขียนแบบต่าง ๆ โดยผพู้ ูดหรือผ้เู ขยี นสามารถเลอื กใช้ศัพทไ์ ด้ตามความต้องการ

บทที่ 3

วธิ ดี าเนินการวิจยั

ในการวิจัยคร้ังน้ีมุ่งศึกษาเร่ือง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
สําหรบั นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 โรงเรยี นวัดเขมาภริ ตาราม” ผ้วู ิจัยไดด้ ําเนนิ การตามข้นั ตอนดงั น้ี

1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
2. เครอื่ งมอื ทีใ่ ช้ในการวจิ ยั
3. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
4. การวิเคราะห์ข้อมูล
5. สถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูล

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง

ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการวิจัย
ประชากร
ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ แก่นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรียนวัดเขมา

ภริ ตาราม ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 โรงเรยี นวดั เขมาภริ ตาราม จาํ นวน 230 คน
กล่มุ ตัวอยา่ ง
กลมุ่ ตวั อย่างของการวิจยั คร้งั น้ี คือ นกั เรียนระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3/12 ศกึ ษา ภาคเรยี น

ที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 โรงเรียน วัดเขมาภิรตาราม จํานวน 34 คน ซึง่ ได้มาจากการสุม่ อยา่ งอยา่ งง่าย

เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั

1. แบบฝึกทกั ษะ เร่ือง “การจาํ แนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” สาํ หรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปที ่ี 3

2. แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง “การจําแนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย” จาํ นวน 5แผน
3. แบบทดสอบการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เร่ือง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะการ
จําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3”

ข้นั ตอนการสร้างเครอื่ งมือที่ใช้ในการวิจยั (ทเี่ ปน็ แบบฝกึ ทกั ษะ)
แบบฝกึ ทกั ษะสาํ หรับนักเรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โดยมขี ัน้ ตอนการสรา้ งดังน้ี

1. ศกึ ษาหลกั สูตร เอกสาร ตํารา ขอบข่าย สาระกลุ่มวิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3
2. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับคําอธิบายรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ใน
หลักสตู รและเนอ้ื หา
3. ดาํ เนินการสรา้ งแบบฝึก เรอ่ื ง การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
4. นาํ แบบฝกึ ทกั ษะ เร่อื ง การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท่ีสร้างขึ้นเสนอต่อผู้เช่ียวชาญ
จํานวน 3 ท่าน 1) ด้านนวัตกรรม 2) ด้านการสอน 3) ด้านการวัดและประเมินผล เพื่อขอคําแนะนํามาแก้ไข
ในสว่ นท่ีบกพร่อง

5. ดําเนินการแก้ไขและปรับปรุงชุดแบบฝึกหัด ตามที่ปรึกษาแล้วนําไปให้ผู้เช่ียวชาญด้านหลักสูตร
เน้อื หา กระบวนการ ภาษาและวัดประเมินผลตรวจสอบ เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
โดยกําหนดเกณฑพ์ ิจารณาคือ

+1 = เหน็ วา่ สอดคล้อง
0 = ไม่แนใ่ จ
-1 = เห็นว่าไมส่ อดคล้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมสอดคล้องของแบบฝึกทักษะ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง
(IOC) คาํ นวณตามสูตร

IOC =  R

N

 R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผเู้ ชี่ยวชาญทั้งหมด

N แทน จาํ นวนผู้เช่ียวชาญ
นําข้อมูลที่รวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญมาคํานวณหาค่า IOC โดยใช้ดัชนีความ
สอดคล้อง ของผู้เชียวชาญมาคํานวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง แล้วเลือกค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5
ขึ้นไป
6. หาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ โดยทดลองใช้กับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 โรงเรียน
วัดเขมาภิรตาราม จํานวน 34 คน โดยวิธีการเลือกแบบจับสุ่มสลากอย่างง่ายจากนักเรียนช้ันสูงกว่า ใน
อัตราส่วนเทา่ ๆกัน แลว้ หา E1 เท่ากับ 81.62 และค่า E2 เทา่ กับ 80.85 เพอ่ื แกไ้ ขปรับปรุงแบบฝกึ ทักษะ
80 ตัวแรก (E1) หมายถึง ค่าเฉล่ียร้อยละของคะแนนท่ีนักเรียนทําได้จากแบบทดสอบระหว่าง
การใช้แบบฝึกทกั ษะ
80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนท่ีนักเรียนทําได้จากแบบทดสอบ หลังการ
ใชแ้ บบฝึกทักษะ
ขนั้ ตอนในการสร้างเคร่อื งมือ (ที่เปน็ แผนการจัดการเรยี นร)ู้
1. แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง “การจําแนกภาษาต่างคําประเทศในภาษาไทยสําหรับนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3” มรี ายละเอยี ดดังน้ี
1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อท่ีจะทําความเข้าใจเกี่ยวกับ
สาระการเรียนรู้ สาระสําคัญ หลักการ เน้ือหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพ่ือเป็นแนวทางในการเขียนแผนการ
เรียนรู้
1.2 ศึกษาแนวทางการใช้หลกั สูตรของการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551
1.3 ศึกษาคู่มือเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยและคู่มือครูภาษาไทยช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และหนังสอื แบบเรยี นภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 – 3
1.4 ศกึ ษาคูม่ ือการวัดประเมินผลการเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2551 เพ่ือนําเป็น
แนวทางในดา้ นการวัดผลประเมินผล
1.5 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด วิธีการ และข้อเสนอแนะ ของเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เพอ่ื นาํ มาเป็นข้อมูลในการจัดทําแผนการจัดการเรียนรู้และการจดั การเรียนการสอน
1.6 เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และข้ันตอนการการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
เรื่อง“การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” ดังนั้นจุดประสงค์ในการกิจกรรมและเลือกกิจกรรมเตรียม

สอื่ และหาวธิ กี ารประเมนิ ผลให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ และผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวัง ในแผนการจัดการเรียนรู้
มีองคป์ ระกอบดงั นี้

- เป้าหมายการเรียนรู้ ( มาตรฐานการชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้
สมรรถนะสําคญั ของผูเ้ รียน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ )

- หลักฐานการเรียนรู้ ( ช้ินงาน/ภาระงาน การวดั และประเมนิ ผล )
- กิจกรรมการเรยี นรู้
- ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1.7 นําแผนการเรียนรู้ เรื่องเรื่อง“การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” ของหนังสือ
เรียนภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ เสนอต่อผู้เช่ียวชาญ 3 ท่านเพื่อพิจารณาประเมิน
ตรวจสอบความถกู ตอ้ งเหมาะสมและสมบรู ณ์ พร้อมให้คําปรึกษามาดําเนนิ การปรบั ปรงุ แก้ไข
1.8 ผู้วิจัยได้ทําการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาตามที่ผู้เช่ียวชาญได้ให้คําแนะนําและนําแผนการ
จัดการเรยี นรูท้ ่ไี ด้ทาํ การปรบั ปรุงแกไ้ ขแลว้ นําไปใชใ้ นการวจิ ยั กบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 โรงเรียนวัด
เขมาภิรตาราม จํานวน 34 คน แล้วดําเนินการสอนตามขั้นตอน หลังจากทดลองแล้วนําข้อบกพร่องมา
ปรับปรงุ แก้ไข เกี่ยวกบั ภาษา เวลากิจกรรมแต่ละแผนการจัดการจัดการเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสร้างเครอื่ งมือ (ทเี่ ป็นแบบทดสอบ)
แบบทดสอบการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยใช้วัดความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน เร่ือง

“การพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3”
โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยผู้วิจัยได้ดําเนินการสร้างแบบทดสอบ
ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอน ดงั นี้

1. ศกึ ษาโครงสร้าง ขอบเขต เนื้อหาในหลักสูตรข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
มัธยม รวมท้ังคู่มือเก่ียวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและคู่มือครูภาษาไทยและหนังสือ
แบบเรียนภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1-3

2. ศกึ ษาทฤษฎี งานวิจัย หลักการ แนวคิด วิธีการสร้างแบบทดสอบ
3. จัดทําข้อสอบข้อสอบจํานวน 60 ข้อให้ครอบคลุมเนื้อหา ตัวช้ีวัดและจุดประสงค์ท่ีตั้งไว้
จากนั้นนาํ มาหาค่าเฉล่ียความยากง่าย ของแบบทดสอบ (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) แล้วคัดข้อสอบให้เหลือ
40 ขอ้ เพือ่ นาํ ไปใช้จริงกับกล่มุ ตัวอย่าง จากนั้นนําแบบทดสอบทผี่ ้วู ิจัยสร้างข้นึ
ไปให้เช่ียวชาญ 3 ท่านตรวจสอบคุณภาพ และตรวจสอบความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบให้
เชี่ยวชาญลงความเหน็ ชอบว่า แบบทดสอบแตล่ ะขอ้ ตรงกับวัตถปุ ระสงค์หรือไม่ โดยกาํ หนดแนวคิดไวด้ งั น้ี

+1 แทน เหน็ วา่ สอดคล้อง
0 แทน ไมแ่ นใ่ จ
-1 แทน เห็นว่าไม่สอดคลอ้ ง
นําคะแนนรวบรวมความคิดเห็นของผู้เช่ียวชาญ ไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (ค่า IOC ) แล้วเลือก
ข้อสอบท่ีมีค่าดัชนีความสอดคล้องท่ีต้องการวัดตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป จากการหา(IOC) มีค่าเท่ากับ 0.66 – 1.00
แสดงว่า แบบทดสอบมคี วามเทย่ี งตรงทกุ ข้อ
4. หาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกเสริมทกั ษะ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์
5. นําข้อสอบที่ผ่านการคัดเลือกไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12
จํานวน 34 คน

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ผู้วิจัยได้เกบ็ รวบรวมข้อมลู จากการประเมินผลการจําแนกภาษาคําต่างประเทศในภาษาไทยของนักเรียน
โดยใชแ้ บบทดสอบก่อนเรียน จากน้ันได้สอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แล้วได้ทดสอบหลังเรียนด้วย
ตวั เองโดยมีวธิ ีการตามข้ันตอน ดงั นี้

1. ก่อนทดลองนําแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลงั เรยี น การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ไปทดสอบกบั เรียน แลว้ ประเมนิ ผลคะแนนกอ่ นเรยี น

2. ดําเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ จํานวน 5 แผนการเรียนรู้ เป็นเวลา 10 ชั่วโมง ฝึกทัก
ทกั ษะการจาํ แนกคาํ ภาตา่ งประเทศในภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ

2.1 แบบฝึกทกั ษะเร่ืองคําไทยแท้
2.2 แบบฝกึ ทักษะเรือ่ งคํายืมจากภาษาบาลี – สนั สกฤต
2.3 แบบฝึกทกั ษะเรอื่ งคํายืมจากภาษาจนี และภาษาเขมร
2.4 แบบฝึกทักษะเร่ืองคํายืมจากภาษาอังกฤษและภาษาชวา
2.5 แบบฝกึ ทกั ษะเร่ืองคํายมื จากภาษาฝร่ังเศสและภาษาพมา่
3. ทบทวนการฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยและทดสอบหลังเรียน
ประเมนิ ผลคะแนนหลงั เรยี น แล้วเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/12 ระหว่างการสอน ก่อน – หลัง การใช้แบบฝึกทักษะการจําแนก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยนําไปวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถิตติ อ่ ไป

การวิเคราะห์ข้อมลู

ในการวิเคราะห์ข้อมลู การจักการเรยี นรูภ้ าษาไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะสําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี
3 ผู้วิจยั ดําเนินการตามข้ันตอน ดังน้ี

1. หาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกเสริมทกั ษะ ใหม้ ีประสิทธิภาพตามเกณฑ์รอ้ ยละ 80/80
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยเฉล่ียของการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนนํามา
หาค่าสถติ ิ ใช้ t-test ด้วยโปรแกรมสาํ เรจ็ รูปทางสถติ ิ

สถิตทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู

จากผลการศึกษาในคร้งั นี้ ผู้วิจยั เลอื กสถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. คา่ ร้อยละ (Percentage) ใชส้ ัญลักษณ์
สูตร P = n × 100
N
เมอื่ n แทน จํานวนทตี่ ้องการเปรียบเทียบ
N แทน จํานวนข้อมูลท้งั หมด
2. คา่ เฉลี่ย (Mean) ใช้สัญลักษณ์ ̅ (โปรแกรมการวัดผลการศึกษา, 2556, หน้า 90) โดย

ใช้สูตรดังน้ี

X  X
N

เมอ่ื ̅ แทน ตัวกลางเลขคณิตหรือค่าเฉลยี่
แทน ผลรวมท้ังหมดของข้อมลู
∑ แทน จํานวนข้อมูลทง้ั หมด

N

3. ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standarn Deviation) (โปรแกรมการวัดผลการศึกษา,2556
หนา้ , 93)โดยใชส้ ูตรดังนี้

S.D.  N  x2   x2

N N 1

เมอื่ SD แทน ความเบ่ยี งเบนมาตรฐาน
แทน ผลรวมของคะแนน
∑ แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตวั ยกกําลงั
แทน จาํ นวนกลุ่มตวั อย่าง


n

4. ค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) (พวงรตั น์ ทวีรัตน์,2538 หน้า 124) โดยใช้สูตร ดังนี้

IOC  R
N
เมื่อ IOC แทน ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างคําถามกับจดุ ประสงค์

∑ แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นเชิงผเู้ ชย่ี วชาญท้งั หมด

N แทน จาํ นวนผเู้ ชย่ี วชาญ

5. หาประสิทธภิ าพของแบบฝึก

ประสทิ ธภิ าพของกระบวนการ (E1)
X

E1  N  100
A

เม่ือ E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการ

X แทน คะแนนแบบฝกึ หดั ในแตล่ ะหน่วยของแบบฝกึ ทกั ษะ

A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกึ หัดในแต่ละหน่วยของแบบฝึกทกั ษะ

N แทน จาํ นวนผู้เรียน

ประสทิ ธภิ าพของผลผลติ (E2)
Y

E2  N  100
B

เมื่อ E2 แทน ประสทิ ธภิ าพของผลผลติ

Y แทน คะแนนของหลงั เรียน

B แทน คะแนนเตม็ ของคะแนนสอบหลงั เรียน

N แทน จํานวนผเู้ รยี น

6. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน (t - test Dependent) (โปรแกรมการ
วดั ผลการศกึ ษา,2556 หนา้ 103) โดยใช้สตู รดงั นี้

t D
N  D2   D2

N 1

เมอื่ t แทน การทดความแตกตา่ งของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
D แทน ความแตกตา่ งของคะแนนกอ่ นเรียนและหลงั เรยี นของ
นกั เรียนแตล่ ะคน
แทน ความแตกของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนของนกั เรียน
แตล่ ะคนยกกาํ ลังสอง
∑ แทน ผลรวมของความแตกตา่ งของคะแนนกอ่ นเรียนและ
หลงั เรยี นของนักเรยี นทกุ คน
∑ แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั
ของนักเรยี นแต่ละคนยกกาํ ลงั สอง
∑ แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรยี นและหลงั
เรียนของนักเรยี นทุกคนยกกําลังสอง
∑ แทน จาํ นวนนกั เรยี นคณู ผลรวมของความแตกตา่ งของความ
แตกต่างคะแนนก่อนเรยี นและหลังเรียนของนกั เรยี น
แตล่ ะคนยกกําลังสอง

บทท่ี 4

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การศึกษาวิจัยเร่ืองการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทยของระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพ่ือพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคํา
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคุณภาพในระดับดี และมี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ 80/80 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการจําแนกภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 3) เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนก
คําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ผูว้ ิจัยได้นาํ เสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล โดยแบง่ ออกเปน็ 2 ตอน ดังนี้
ตอนที่1 ผลการหาคุณภาพและประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนกคํา

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยสําหรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3
ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียนหลังจาก

เรยี นดว้ ยแบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การจําแนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่
3

ตอนที่ 1 ผลการหาคณุ ภาพและประสิทธิภาพของแบบฝกึ ทกั ษะ เรือ่ งการการจําแนกคาํ
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3

ผลการหาคุณภาพของแบบฝึกทักษะ โดยผู้เช่ียวชาญพบว่า คุณภาพด้านเนื้อหามีค่าเฉล่ียเท่ากับ
4.44 อยู่ในระดับดี คุณภาพด้านเทคนิค มคี ่าเฉลีย่ เท่ากับ 4.35อย่ใู นระดับดี

การหาประสิทธภิ าพของแบบฝึกทกั ษะทท่ี ดลองกบั นักเรียนกลุ่มตัวอย่างจํานวน 34 คนที่ได้ศึกษา
จากแบบฝึกทักษะ ผลการหาคุณภาพและประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนกคํา
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ผู้วิจัยขอเสนอผลจากการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะ ดังตารางที่
1
ตารางท่ี 1 ผลการหาประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทกั ษะ เร่อื ง การจําแนกคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

จาํ นวนกล่มุ แบบฝกึ ทักษะ แบบทดสอบหลงั เรยี น ประสทิ ธิภาพ
ทดลอง (คน) คะแนนเต็ม คะแนนเฉลี่ย คะแนนเต็ม คะแนนเฉลยี่ E1/E2

34 60 85.25 40 83.82 85.25/83.82

จากตารางที่ 1 ผลการหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย นักเรียนจํานวน 34 คน ทําแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน ที่สร้างข้ึนได้ถูกต้องร้อยละ 85.25 และ
ทําแบบทดสอบผลสําฤทธท์ิ างการเรียนได้ถกู ต้อง ร้อยละ 83.82 ดังน้ันแบบฝึกทักษะ ดังกล่าวมีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานท่ีตั้งไว้คือ 80/80 แสดงให้เห็นว่า แบบฝึกทักษะ เร่ือง การจําแนกคํา
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย มีประสทิ ธภิ าพสามารถนาํ ไปใชป้ ระกอบการเรยี นการสอนได้

ตอนท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียนและ
หลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

ผูว้ จิ ัยทําการวเิ คราะห์ข้อมูล เพ่ือเปรียบเทียบคะแนนผลสําฤทธ์ิทางการเรียนกับคะแนนทดสอบ
ก่อนเรียน ของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 34 คน จากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เร่ือง การจําแนกคํา
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2 ซ่ึงผลการวเิ คราะหป์ รากฏดังตารางท่ี 2

ตารางท่ี 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียนที่เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ
เรื่อง การจําแนกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

กลมุ่ ตัวอย่าง N df คะแนน กอ่ นอบรม หลงั อบรม t
32.51*
เต็ม ̅ S.D. ̅ S.D.

นักเรยี น 34 33 40 16.18 3.11 33.53 2.22

*คา่ t มีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 (คา่ วิกฤตของ t ที่ระดบั .01 df 33 เท่ากับ 32.51)

จากตารางที่ 2 พบว่าผลการเปรียบเทียบทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย และ
หลงั การใช้แบบฝกึ ทกั ษะการจาํ แนกคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพบว่า เมื่อเปรยี บเทียบค่า t ท่ีคํานวณได้
คือ 32.51 กับค่าวิกฤตของ t ในตาราง เท่ากับ 2.2761 ค่า t ท่ีคํานวณได้มีค่าวิกฤตของ t ในตาราง แสดงว่า
คะแนนการทดสอบหลังเรยี นสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนยั สาํ คัญทางสถิติท่ีระดบั .01

บทที่ 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

การพัฒนาแบบฝึกทกั ษะการจาํ แนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สรุปได้
ดังนี้

1. วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
2. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
3. เครือ่ งมือในการรวบรวมข้อมลู
4. สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
5. อภิปรายผล
6. ข้อเสนอแนะ

วัตถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั

การวจิ ยั ครง้ั น้ีผู้วิจยั ได้กาํ หนดวัตถปุ ระสงค์ ไว้ดังน้ี
1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ัน
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ทีม่ คี ุณภาพในระดับดี และมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่างคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคํา
ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง

ประชากร คือ ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จาํ นวน 230 คน

กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม จํานวน 34 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย

เครือ่ งมอื ในการรวบรวมขอ้ มลู

เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยมี 3 ชนิดคือ
1. แผนการจัดการเรียนรู้ เร่ือง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย จํานวน 5 แผนการ

สอน
2. แบบฝึกทักษะ เร่ือง “การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” สําหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
3. แบบทดสอบ การจาํ แนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้วัดการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลัง

เรียน เรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3” โดยการใชแ้ บบฝกึ ทักษะการจาํ แนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล

1. ประสทิ ธภิ าพของแบบฝกึ ทักษะเรื่อง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3/12 โรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่า E1/E2 เท่ากับ 85.25/83.82 ซ่ึงสูงกว่า
เกณฑ์ท่ีกําหนด แสดงว่าแบบฝึกทักษะเร่ือง การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
มธั ยมศึกษาปีท่ี 3/12 โรงเรียนวดั เขมาภิรตาราม ท่ีสร้างได้ขึ้น มีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานท่ีต้ัง
ไว้

2. คะแนนการทดสอบของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3/12 ของโรงเรียนวัดเขมาภิรตาราม หลังการ
เรยี นสงู กว่าการทดสอบกอ่ นเรียนอย่างมีนยั สาํ คญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01

การอภปิ รายผล

จากผลวจิ ัย เรอื่ ง การพฒั นาแบบฝึกทักษะการจาํ แนกคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน
มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ในคร้ังน้ีพบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนสรุปได้ว่า การสอนโดยการพัฒนาทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย โดยการใช้แบบฝึกทกั ษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เป็นการเรียนท่ีเปิดโอกาสให้
นักเรียนได้ลงมือฝึกทักษะ ทําให้นักเรียนสนุกไม่เบื่อเหมือนการเรียนแบบปกติ ดังนั้นจึงทําให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้ฝึกทักษะโดยการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
มีคะแนนสูงกว่าก่อนเรียน ซงึ่ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านทต่ี ัง้ ไว้ นอกจากนีย้ งั สอดคล้องกบั แนวคดิ ของ
อกนษิ ฐ์ กรไกร (2549, หนา้ 17) ไดด้ ําเนนิ การสร้างแบบฝึกทักษะ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล ในความคาดหวงั ต้องการให้เด็กที่ใช้แบบฝึกทักษะมพี ฤติกรรม ดงั นี้

1. Active Responding ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระฉับกระเฉง ไม่ว่าจะเป็นคิด
ในใจหรือแสดงออกมาด้วยการพดู หรอื เขยี น นักเรียนอาจเขยี นรปู ภาพเติมคําแตง่ ประโยคหรือหาคําตอบในใจ

2. Minimal Error ในการเรียนแตล่ ะคร้ังเราหวังว่า นกั เรียนจะตอบคาํ ถามได้ถูกต้องเสมอ แต่ใน
กรณที นี่ ักเรียนตอบคาํ ถามผิด นักเรียนควรมีโอกาสฝึกฝนและเรียนรู้ในสิ่งที่เขาทําผิดเพื่อไปสู่คําตอบท่ีถูกต้อง
ต่อไป

3. Knowledge of Results เมอื่ นักเรียนสามารถตอบถูกต้องเขาควรได้รับเสริมแรง ถ้านักเรียน
ตอบผิดเขาควรได้รับการช้ีแจง และให้โอกาสท่ีจะแก้ไขให้ถูกต้องเช่นเดียวกับประสบการณ์ท่ีเป็นความสําเร็จ
สาํ หรับมนุษยแ์ ลว้ เพียงไดร้ วู้ า่ ทาํ อะไรสาํ เรจ็ ก็ถือเป็นการเสรมิ แรงในตวั เอง

4. Small Step การเรียนจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปทีละน้อยด้วยตนเอง โดยให้
ความร้ตู ามลําดับขั้นและเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนใครค่ รวญตามซ่ึงจะเป็นผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก แม้ท่ี
เรียนออ่ นก็จะสามารถเรยี นได้

ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย พบว่าหลังจากนักเรียนได้รับการฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย มีคะแนน
สูงกวา่ ก่อนได้รับการฝกึ ทักษะอยา่ งมีนยั สาํ คัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ทําให้นักเรียนมีความสามารถทางด้านการ
อา่ นจบั ใจความสงู ข้ึนทง้ั นี้มาจากการท่นี ักเรียนได้รับการเรยี นรู้จากประสบการณ์ตรงและได้รับฝึกบ่อยๆ จึงทํา
ให้นกั เรียนสามารถจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ในบทเรียนได้ดีขึ้น ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีหลักการ
เรียนรู้ของเลวิน (Lewin’s Field Theory) ท่ีว่า “การเรียนรู้เกิดจากการเปล่ียนแปลงความรู้ความเข้าใจเดิม

เกดิ จากการกระทาํ ซ้าํ ๆ ไดจ้ ากการแก้ป๎ญหาหรือมีการเปลี่ยนแรงจูงใจ ทําให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแจ่ม
แจง้ ”

ด้านการพัฒนาผู้เรียนผู้วิจัยได้ยึดหลักทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ่งมีความเช่ือว่า
สามารถควบคุมบุคคลให้ทําตามความประสงค์หรือแนวทางที่กําหนดโดยไม่ต้องคํานึงถึงความรู้ สึกทางด้าน
จติ ใจของบคุ คลผู้นนั้ ว่าจะร้สู กึ นึกคดิ อย่างไร เขาจึงได้ทดลองและสรุปว่าบุคคลสามารถเรียนรู้ด้วยการกระทํา
โดยมีการเสริมแรงเป็นตัวการ เป็นบุคคลตอบสนองการเร้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม สิ่งเร้า
นนั้ จะรกั ษาระดับหรอื เพ่มิ การตอบสนองใหเ้ ข้มขึน้

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการนาไปใช้
การจาํ แนกคาํ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยควรมีแบบฝึกท่ีหลากหลาย เพราะคําท่ีไทยยืมมาจาก

ภาษาต่างประเทศเป็นคําที่ใช้อยู่ทั่วไปจนลืมไปว่าคําเหล่าน้ันไม่ใช่คําไทยแท้แต่เป็นคําท่ีไทยยืมจาก
ต่างประเทศมาใช้ นักเรียนต้องอาศัยความจําในการทําแบบฝึกหัดในการจําแนกคําภาษาต่างประเทศท่ีปะป น
อยกู่ บั คาํ ไทย เพ่ือใหน้ ักเรียนสามารถจาํ คาํ เหลา่ นีไ้ ดแ้ ม่นจึงจําเป็นต้องมีการสร้างแบบฝึกที่มีความหลากหลาย

ขอ้ เสนอแนะในการวิจัยคร้ังต่อไป
1. ควรมีการวิจยั เกย่ี วกับการเปรียบเทียบการสอนระหว่างสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ

กบั การสอบแบบปกติ
2. ควรนําแบบทดสอบไปฝึกกับนักเรียนโรงเรียนอื่น เพื่อหาข้อสรุปผลของการศึกษาค้นคว้าให้

กวา้ งขน้ึ
3. ควรท่ีจะมีการศึกษาพื้นฐานความสามารถในการเรียนรู้ของเด็กในห้องเรียนเพื่อนําข้อมูลที่

ได้มาสร้างแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะตามระดับความสามารถของเด็ก
4. ควรมกี ารวจิ ัยเก่ียวกบั การสอนโดยใชเ้ ทคนิคตา่ ง ๆ ในวิชาภาษาไทยตอ่ ไป

บรรณานกุ รม

กตญั ํู ชูชืน่ . (2543). คายมื ภาษาตา่ งประเทศ ชดุ ภาษาเขมรในภาษาไทย. กรงุ เทพฯ :
โอเดียนสโตร์.

กมลรัตน์ หลา้ สุวงษ.์ (2528). จติ วทิ ยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ : ศรีเดชา.
กระทรวงศึกษิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางขัน้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551.

กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กําชัย ทองหล่อ. (2552). หลกั ภาษาไทย. (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ : อมรการพมิ พ์.
ขันธชยั มหาโพธ์ิ. (2535). รายงานการวจิ ยั เร่ืองการเปรียบเทียบผลการเขียนสะกดคาของนักเรยี นช้ัน

ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 ในสังกดั สานักงานการประถมศกึ ษาอาเภอ จงั หวัดอดุ รธานี โดยใชแ้ บบฝกึ การ
เขยี นสะกดคากบั การเขียนตามคาตอบ. อุดรธานี : หนว่ ยศึกษานเิ ทศก์สํานกั งานการประถมศกึ ษา
อําเภอ จงั หวัดอุดรธาน.ี
จิตตาภา สารพดั นกึ ไชยป๎ญญา. (2547). เอกสารประกอบการสอนชุดวชิ า 208322 ภาษาบาลแี ละ
สันสกฤตในภาษาไทย. คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ : มหาวทิ ยาลัยบูรพา.
จริ วัฒน์ เพชรรัตน์ และ อมั พร ทองใบ. (2556). ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย.
กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร.์
ประคอง นิมมานเหมินท์ และคณะ. (2552). บรรทัดฐานภาษาไทย เลม่ 4: วัฒนธรรมการใช้
ภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : สถาบันภาษาไทย สาํ นักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร.
ประทีป แสงเปีย่ มสุข. (2538). พฤตกิ รรมการสอนภาษาไทย ระดับชนั้ ประถมศึกษา “ทฤษฎแี ละแนว
ปฏบิ ตั ิ”. กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.์
ประยูร ทรงศิลป์. (2526). การเปลย่ี นแปลงของภาษา : คายมื ในภาษาไทย. คณะมนุษยศาสตรแ์ ละ
สงั คมศาสตร์ : วทิ ยาลัยครธู นบรุ ี.


Click to View FlipBook Version