The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือวิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriyakronja, 2021-10-24 22:43:38

หนังสือวิทยาศาสตร์

หนังสือวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

เร่ือง ระบบนเิ วศ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 49

เมื่อสิ่งมีชีวิตตายลง จะมีสิ่งมีชีวิตอีกกลุ่มหนึ่งที่มี
บทบาทเป็น ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์ (Decomposer) เช่น
เห็ด รา แบคทีเรีย ดังภาพ 5.5 ซึ่งดำรงชีวิตโดยผลิตเอนไซม์
ออกมาย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอาหารที่มีขนาด
โมเลกุลเลก็ ลง แล้วดูดซึมสารอาหรไปใช้เพียงบางส่วน ส่วนท่ี
เหลือจะอยู่ในสิ่งแวดล้อม ซึ่งผู้ผลิตสามารถนำไปใช้ในการ
ดำรงชวี ิตตอ่ ไป

ภาพ 5.5 ผูย้ อ่ ยสลายสารอนิ ทรยี ์

ผู้ย่อยสลายสารอินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทสำคัญในการทำให้เกิดการหมุนเวียนของสารเป็นวัฏจักรได้ เช่น
วฏั จักรคาร์บอนดังภาพ 5.6 จากภาพพชื ใชแ้ ก๊สคาร์บอนไดออกไซดจ์ ากบรรยากาศในกระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงเพ่ือ
สร้างสารประกอบอินทรีย์ซึ่งมีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบเช่นคาร์โบไฮเดรตไขมันโปรตีนเก็บไว้ในส่วนต่าง ๆ ของพืชเม่ือ
สิ่งมีชีวิตอื่นมากินพืชสารประกอบอินทรีย์ที่มีคาร์บอนน้ีจะถูกถ่ายทอดไปตามลำดับขัน้ ของการบรโิ ภค หลังจากสิ่งมีชีวิต
ตายลงบางสว่ นจะถูกยอ่ ยสลายโดยผู้ยอ่ ยสลายสารอินทรียส์ ว่ นท่ีไม่ถูกย่อยสลายจะทบั ถมกันเป็นเวลานานภายใต้สภาวะท่ี
เหมาะสมและเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ เช่น ถ่านหินปิโตรเลียม การหายใจของสิ่งมีชีวิต และการเผาไหม้ของ
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ทำให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์กลับคืนสู่บรรยากาศ ซึ่งพืชจะนำไปใช้ในการสังเคราะห์ด้วย
แสงจึงเกิดการหมุนเวียนต่อเนื่องเป็นวัฏจักร นอกจากวัฏจักรคาร์บอนแล้วยังมีวัฏจักรสารที่สำคัญอีกหลายวัฏจักร เชน่
วฏั จักรวฏั จักรไนโตรเจนวัฏจกั รฟอสฟอรัส

50 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

เรอื่ ง ระบบนเิ วศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

เรือ่ งที่ 2 พรี ะมิดโซ่อาภหาพา5.6รวขฎั จักอรคงารบ์สอนิ่งมชี ีวิต

คำสำคัญ

พรี ะมดิ

ภาพ 5.7 พรี ะมดิ โซ่อาหารของส่งิ มชี ีวิต
จากภาพ 5.7 มผี ผู้ ลติ กี่ชนิด และอะไรบ้าง
จากภาพ 5.7 มลี ำดบั ขน้ั ของพรี ะมิดโซ่อาหารของสิง่ มีชีวติ ก่ีข้นั อะไรบ้าง
โซอ่ าหารและสายใยอาหารแตกต่างกันอยา่ งไร
ในสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ สงิ่ มีชวี ิตมีการกนิ กนั เป็นทอดๆ ในรูปของสายใยอาหาร
ซง่ึ ประกอบด้วยโซ่อาหารหลายสารทสี่ ัมพันธก์ ัน นกั เรียนคิดว่าในแตล่ ะระบบนเิ วศมี
สายใยอาหารเหมือนกันหรือไม่ และจะเขยี นสายใยอาหารไดอ้ ย่างไร

วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 51
เรือ่ ง ระบบนเิ วศ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3

พรี ะมดิ โซ่อาหารของสง่ิ มชี ีวิต
การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหาร การถ่ายทอดพลังงานในโซ่อาหารอาจแสดงในในลักษณะของ

สามเหล่ียมพีรามิดของส่ิงมชี วี ิต (ecological pyramid) แบ่ง ได้ 3 ประเภทตามหน่วยที่ใช้วัดปริมาณของลำดับข้ัน
ในการกนิ

1. พีรามิดจำนวนของสิ่งมีชีวิต (pyramid of number) แสดงจำนวนสิ่งมีชีวิตเป็นหน่วยตัวต่อพื้นที่
โดยทั่วไปพีระมิดจะมีฐานกว้าง ซึ่ง หมายถึง มีจำนวนผู้ผลิตมากที่สุด และจำนวน ผู้บริโภคลำดับต่างๆ ลดลงมา
แต่การวดั ปริมาณพลงั งานโดยวธิ ีนี้ อาจมคี วามคลาดเคลื่อนไดเ้ นื่องจากส่ิงมีชีวติ ไมว่ า่ จะเป็นเซลล์เดียว หรือหลาย
เซลล์ ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เช่น ไส้เดือน จะนับเป็นหนึ่งเหมือนกันหมด แต่ความเป็นจริงนั้นในแง่ปริมาณ
พลังงานที่ได้รับหรืออาหารที่ผู้บริโภคได้ รับจะมากกว่าหลายเท่า ดังนั้นจึงมีการพัฒนารูปแบบในรูปของพิรามิด
มวลของส่งิ มีชีวติ

ภาพ 5.8 พรี ามิดจำนวนของส่ิงมีชีวิต
จากโซ่อาหารนี้ ปรมิ าณพลังงานจากสาหร่ายทถ่ี า่ ยทอดไปยงั ผู้บรโิ ภคลำดับต่างๆ เปลี่ยนไปอย่างไร

วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ

52 เรอ่ื ง ระบบนเิ วศ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3

2. พีรามิดมวลของสิ่งมีชีวิต (pyramid of mass) โดยพิรามิดนี้แสดงปริมาณของสิ่งมีชีวิตในแต่ละ
ลำดับขนั้ ของการกนิ โดยใชม้ วลรวมของนำ้ หนกั แหง้ (dry weight) ของสงิ่ มีชวี ติ ต่อพืน้ ทแ่ี ทนการนับจำนวนพีรามิด
แบบนี้มีความแม่นยำมากกว่า แบบที่ 1 แต่ในความเป็นจริงจำนวนหรือมวล ของสิ่งมีชีวิต มีการเปลี่ยนแปลงตาม
ช่วงเวลา เช่น ตามฤดูกาลหรือ ตามอัตราการเจริญเติบโต ปัจจัยเหล่านี้ จึงเป็นตัวแปร ที่สำคัญ อย่างไรก็ดีถึงแม้
มวลที่มากขึ้นเช่นต้นไม้ใหญ่ จะผลิตเป็นสารอาหารของผู้บริโภคไดม้ ากแตก่ ็ยงั นอ้ ยกว่าที่ผูบ้ รโิ ภคได้จาก สิ่งมีชีวิต
เลก็ ๆ เช่น สาหร่ายหรือแพลงก์ตอน ทงั้ ๆท่มี วล หรอื ปริมาณของสาหรา่ ยหรอื แพลงก์ตอนน้อยกว่ามาก ดังน้ัน จึงมี
การพฒั นาแนวความคิดในการแกป้ ญั หาน้ี โดยในการเสนอรูปของพีรามิดพลังงาน (pyramid of energy)

ภาพ 5.9 พรี ามิดมวลของสง่ิ มีชวี ิต

ภาพ 5.10 โซ่อาหาร
จากภาพ 5.10 ถ้าไม่มีงูในโซ่อาหารและเหยี่ยวสามารถกินไก่ทดแทนงูได้
ลำดบั ของการบรโิ ภคจะเปล่ยี นแปลอย่างไร

วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

เรื่อง ระบบนเิ วศ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3 53

3. พรี ามดิ พลังงาน (pyramid of energy) เปน็ พิรามิดแสดงปริมาณพลงั งานของแต่ละลำดับชน้ั ของการ
กนิ ซง่ึ จะมีคา่ ลดลงตามลำดับขัน้ ของการโภค

ภาพ 5.11 พีรามิดพลงั งาน

เกร็ดนา่ รู้ กฎ 10 เปอรเ์ ซน็ ต์ (Ten percent law)

“กฎ10เปอร์เซ็นต์” (Ten percent law) พลังงาน
ศักย์ที่สะสมในรูปเนื้อเยื่อของผู้บริโภคแต่ละลำดับ
ขั้นจะน้อยกว่า พลังงานศักย์ที่สะสมในเนื้อเยื่อ
ผู้บริโภคลำดับขั้นต่ำกว่าที่ถัดกันลงมาประมาณ 10
เท่า ในสภาพธรรมชาติการถ่ายทอดพลังงานในห่วง
โซ่อาหารแต่ละลำดับขั้นอาจไม่เป็นไปตามกฎ 10
เปอรเ์ ซน็ ต์ บางครัง้ อาจนอ้ ยกว่าหรอื มากกวา่ ข้ึนอยู่
กับชนิดของสิ่งมีชวี ติ ในห่วงโซ่อาหารและวิธกี ารวัด
พืชได้รบั พลงั งานจากดวงอาทติ ย์ 10,000 kcal จากนัน้ มีต๊กั แตนมากนิ พืช ตกั๊ แตนจะได้รับพลงั งานจากพืช
แค่ 1,000 kcal เมอ่ื มกี บมากินตั๊กแตน กบจะไดพ้ ลังงานจากต๊ักแตน 100 kcal เปน็ แบบนไี้ ปเรื่อย ๆ ตาม
กฎ 10 เปอร์เซ็นต์ เพราะฉะนั้นหากมผี ้บู รโิ ภคลำดบั สงู มาก ๆ ผบู้ ริโภคลำดับน้ันจะไดร้ บั พลงั งานหรือไม่

วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ

54 เรอ่ื ง ระบบนิเวศ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ระบบนิเวศหนึ่ง ๆ จะมีส่ิงมชี ีวิตหลายชนดิ ทมี่ คี วามสัมพันธ์กันในด้านการถา่ ยทอดพลงั งานโดยการกนิ กนั
เปน็ ทอด ๆ ในรูปของสายใยอาหารซง่ึ ประกอบด้วยโซ่อาหารหลายโซ่อาหารสัมพนั ธก์ นั ในธรรมชาตสิ ายใยอาหาร
จะมคี วามซบั ซ้อนแตกต่างกนั ไปข้ึนอยกู่ บั ชนดิ และจำนวนชนิดของส่งิ มชี ีวติ ทีอ่ ยใู่ นระบบนิเวศ

ในการถา่ ยทอดพลงั งานระหว่างสิ่งมีชวี ติ ทอ่ี ย่ใู นระบบนเิ วศพลงั งานจากผผู้ ลติ ท่ีถ่ายทอดไปยงั ผบู้ รโิ ภค
ลำดับถดั ไปและจะลดลงไปเร่ือย ๆ ตามลำดับขน้ั ของการบรโิ ภคเนอ่ื งจากผ้บู ริโภคในผผู้ ลิตได้เพียงบางส่วนเชน่ วัว
กนิ หญา้ ไดเ้ พยี งสว่ นของลำต้นและใบ แต่ไมส่ ามารถกนิ สว่ นของรากไดส้ ว่ นท่ีกนิ ได้น้นั ผู้บริโภคจะนำไปใชใ้ นการ
เจริญเตบิ โตและเผาผลาญเพื่อผลิตพลงั งานสำหรบั ใช้ในการทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ของร่างกายเช่นการเคลอ่ื นไหวการ
ทำงานของอวยั วะตา่ ง ๆ และพลงั งานอีกส่วนหนง่ึ จะสญู เสียไปในรูปของความรอ้ นดังภาพ 5.12

ภาพ 5.12 การถ่ายทอดพลังงานในลำดบั ขนั้ ของการบริโภค

คำถามชวนคดิ

การใช้สารเคมีในกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์เช่นการกำจัดศัตรูพืชการใช้สารเคมีใน
กระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมการทำเหมืองแร่สารเคมีเหล่านี้อาจเป็นสารพิษหรืออาจมี
สารพิษเจือปนอยู่ทำให้เกิดการปนเปื้อนและการสะสมของสารพิษอยู่ในแหล่งน้ำดินอากาศรวมถึง
สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในระบบนิเวศนั้น ๆ ด้วยขณะที่สิ่งมีชีวิตมีการกินต่อกันเป็นทอด ๆ จะมีการถ่ายทอด
พลังงานไปตามลำดับขั้นของการบริโภคนักเรียนคิดว่าสารพิษที่สะสมอยู่ในร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะ
ถ่ายทอดไปยงั ส่งิ มีชวี ติ อน่ื ๆ ได้หรือไม่อยา่ งไร

วิทยาศาสตรช์ วี ภาพ 55

เรื่อง ระบบนเิ วศ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3

จากภาพ 5.12 จะเห็นว่าผูผ้ ลติ ใชพ้ ลงั งานแสงจากดวงอาทิตย์ในการสังเคราะห์ดว้ ยแสงเพื่อสรา้ งอาหารที่
มีพลังงานซ่ึงสะสมอยใู่ นเน้ือเยื่อต่าง ๆ ของผู้ผลิตเมื่อผ้บู รโิ ภคลำดับที่ 1 กนิ ผ้ผู ลิตกจ็ ะได้รบั พลงั งานบางสว่ นจาก
ผผู้ ลติ และนำพลงั งานท่ไี ด้รบั บางส่วนไปสะสมในเน้ือเย่ือของตนเองเพราะพลงั งานสว่ นใหญจ่ ะสญู เสยี ไปกับการทำ
กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของรา่ งกายเมอ่ื ผู้บริโภคลำดับท่ี 2 มากินผู้บรโิ ภคลำดับท่ี 1 และผูบ้ รโิ ภคลำดับที่ 3 มากนิ ผู้บริโภค
ลำดับที่ 2 ก็จะมีการนำพลังงานส่วนหน่งึ ไปใชใ้ นกิจกรรมของรา่ งกายและเหลือพลังงานท่จี ะไปสะสมในเนื้อเยื่อ
ของผ้บู รโิ ภคเพียงส่วนหนึ่งทำให้ปรมิ าณพลังงานทส่ี ะสมในเนื้อเย่ือของผบู้ รโิ ภคแต่ละลำดับข้นั ของการบริโภค
ลดลงไปเร่ือย ๆ ดว้ ยเหตุนผ้ี ้บู รโิ ภคในแต่ละลำดบั ขน้ั จำเป็นตอ้ งกินสิง่ มชี ีวติ ในลำดบั ข้ันที่ต่ำกวา่ เป็นอาหารใน
ปรมิ าณท่ีมากเพียงพอจึงจะสามารถดำรงชีวิตและทำกิจกรรมตา่ ง ๆ ได้

ภาพ 5.13 การบริโภคของสงิ่ มีชวี ิตต่อกนั เปน็ ทอด ๆ

ปริมาณสารพษิ จะสะสมในส่งิ มชี ีวิตเพมิ่ ข้ึนของการบริโภค เน่อื งจากผู้บรโิ ภคลำดับทีส่ ูงกว่าจะกิน
ผู้ผลิต หรือผู้บริโภคลำดับต่ำหกว่าในปริมาณมาก เพื่อให้ได้รับพลังงานเพียงพอสำหรับการดำรงชีวิต การสะสม
สารพิษจะกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อสง่ิ มีชีวิต ถา้ สารพษิ สะสมในสงิ่ มีชวี ิตในปริมาณมากจนทำใหส้ ิง่ มีชีวติ นั้นตายลง ซ่ึง
ส่งผลกระทบต่อสง่ิ มีชวี ิตชนิดอน่ื ๆในระบบนิเวศและอาจทำให้ระบบนิเวศเสยี สมดลุ ได้

คำถามทบทวนความรู้ สายใยอาหารข้างล่างนี้ ค และ ง เปน็ ส่ิงมีชวี ติ กลุ่มใด ตามลำดบั

แสง ข

ก คง

56 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
เร่ือง ระบบนเิ วศ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3

กจิ กรรมที่ 1 การสะสมสารพิษในสงิ่ มีชวี ิตเกดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างไร

จดุ ประสงค์ แสดงบทบาทสมมติและอธบิ ายการสะสมสารพิษในโซ่อาหาร

วสั ดุและอุปกรณ์ 1. ถงั พลาสตกิ
2. แกว้ พลาสตกิ ขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่
3. ลูกปดั สเี ขยี วและลกู ปัดสแี ดง

สถานการณ์

แม่น้ำสายหนึ่งมีการปนเปื้อนของสารดีดีที (Dichlorodiphenyltrichloroethane, DDT) ซึ่งเป็นสารพิษที่เป็นอันตราย
ต่อสิ่งมชี ีวิตและเข้าไปสะสมอยู่ในเซลล์ของสาหร่ายท่ีอยู่ในแหล่งน้ำสาหรา่ ยเป็นแหล่งอาหารทีส่ ำคญั ของปลาซิวและปลาซิวเป็น
อาหารของลูกปลาช่อนนอกจากนี้ยังมีนกยางที่กินลูกปลาช่อนเป็นอาหารอาศัยอยู่ในแม่น้ำแห่งนี้ด้วยให้นักเรียนแสดงบทบาท
สมมติเพือ่ จำลองการสะสมของสารทีด่ ีท่ีในสง่ิ มชี ีวติ ของโซอ่ าหารน้โี ดยใช้ข้อมูลการบริโภคดา้ นล่าง

ข้อมูลการบรโิ ภค

ปลาซิวแต่ละตัวกนิ ลูกปลาซ่อนแต่ละตวั กนิ นกยางแตล่ ะตวั กนิ ลกู ปลา
สาหร่ายครง้ั ละ 3 เซลล์
ปลาซวิ ครง้ั ละ 2 ตัว ซอ่ นคร้ังละ 2 ตัว

วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

เรือ่ ง ระบบนเิ วศ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 57

วธิ ีการดำเนินกิจกรรม

1. อ่านสถานการณ์และเขยี นโซ่อาหารของสิ่งมชี วี ิตแตล่ ะชนดิ ในแหล่งนำ้ น้ี
2. แสดงบทบาทสมมติ โดยใหน้ กั เรียน 4 คน เปน็ ปลาซวิ 4 ตวั นักเรยี น 2 คน เป็นลกู ปลาซ่อน 2 ตัว และนกั เรียนอีก 1
คน เปน็ นกยาง 1 ตัว โดยกำหนดให้

ลกู ปดั สีเขียว แทน เซลลส์ าหร่ายทไี่ มม่ ีสารดดี ีที แกว้ พลาสติกขนาดเล็ก แทน ปลาซวิ
ลูกปดั สีแดง แทน เซลลส์ าหรา่ ยที่มสี ารดีดีที แกว้ พลาสตกิ ขนาดกลาง แทน ลกู ปลาซ่อน

แก้วพลาสตกิ ขนาดใหญ่ แทน นกยาง
3. ทำกิจกรรมตามขัน้ ตอน ดงั ต่อไป

3.1 นำลูกปดั สีเขียว 40 เม็ดและลกู ปัดสีแดง 40 เม็ดเทรวมกันในถงั พลาสตกิ
3.2 นกั เรียนทีไ่ ดร้ บั บทบาทเป็นปลาซวิ ไปกินสาหรา่ ย 3 เซลล์ โดยสมุ่ หยิบลกู ปัด

ออกจากถังพลาสติก 3 เมด็ ใสล่ งในแกว้ พลาสติกขนาดเล็ก บนั ทกึ จำนวนและ
สขี องปดั ทีห่ ยิบได้
3.3 นกั เรยี นที่ไดร้ บั บทบาทเป็นลกู ปลาซอ่ น กนิ ปลาซวิ 2 ตวั โดยเทลกู ปดั จาก
แก้วพลาสตกิ ขนาดเลก็ 2 ใบ ลงในแก้วพลาสตกิ ขนาดกลาง บนั ทึกจำนวน
และสขี องลกู ปดั ทไี่ ด้
3.4 นักเรยี นท่ไี ด้รบั บทบาทเป็นนกยาง กินลกู ปลาซ่อน 2 ตัว โดยเทลูกปดั จาก
แก้วพลาสตกิ ขนาดกลาง 2 ใบ ลงในแก้วพลาสติกขนาดใหญ่ บันทกึ จำนวน
และสีของลูกปดั ท่ไี ด้
3.5 ทำซำ้ ตามขอ้ (3.1)-(3.4) ใหค้ รบ 3 รอบ
4. รวบรวมขอ้ มูล หาคา่ เฉล่ยี ปรมิ าณสารพษิ ทีส่ ะสมในสง่ิ มชี วี ิตตอ่ หนงึ่ ตัวในแตล่ ะ
ลำดับขน้ั ของการบรโิ ภค และร่วมกนั อภิปรายเก่ยี วกบั การสะสมสารพิษของสงิ่
มชี ีวิตในโซ่อาหารจากการแสดงบทบาทสมมติ

58 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

เรอ่ื ง ระบบนิเวศ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3

คำถามทา้ ยกจิ กรรม

1. โซอ่ าหารจากสถานการณ์น้ีเปน็ อย่างไร และสงิ่ มีชีวติ แต่ละชนดิ มบี ทบาทอย่างไร
2. สารพิษในระบบนเิ วศเร่ิมตน้ สะสมอยู่ในส่ิงมชี วี ติ ชนิดใดเป็นอนั ดบั แรก
3. ในลำดบั ของโซ่อาหาร สง่ิ มชี ีวติ ใดสะสมสารพิษมากทีส่ ุด เพราะเหตุใด
4. จากกจิ กรรม สรปุ ไดว้ า่ อย่างไร

ในระบบนิเวศท่มี ีการใชส้ ารดดี ีท่ีกำจัดศตั รพู ืชอย่างต่อเนือ่ งทำให้มสี ารท่ดี ที ี่ปนเป้ือนในแหล่งน้ำและสะสม
ในสาหร่ายปริมาณหนึ่งเมื่อสัตว์ต่าง ๆ มีการกินกันเป็นทอด ๆ ปริมาณสารดีดีที่จะสะสมในปลาขนาดเล็กปลา
ขนาดใหญ่และนกมากขึ้นตามลำดับโดยนกซึ่งเป็นผู้บริโภคลำดับสุดท้ายจะมีการสะสมสารดีดีที่มากที่สุดดังภาพ
7.10 ถ้ามีการสะสมสารดีดีทีในปลาขนาดเล็กของโซ่อาหารนี้ในปริมาณที่เป็นอันตรายจนทำให้ปลาขนาดเล็กตาย
ลงเป็นจำนวนมากอาจสง่ ผลให้ปลาขนาดใหญ่ขาดแคลนอาหารทำให้ระบบนิเวศเสียสมดลุ ได้นอกจากสารดีดีที่แล้ว
ยังมสี ารเคมอี ีกหลายชนดิ ทเ่ี ปน็ อันตรายและสามารถสะสมได้ในส่ิงมชี วี ิตเช่นตะกัว่ แคดเมียมปรอทดงั นั้นการใช้สาร
ตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวนั ควรคำนึงถึงความปลอดภยั และผลกระทบท่ีอาจเกิดขึ้นกับระบบนเิ วศเนื่องจากมนุษย์เป็น
ผูบ้ รโิ ภคลำดับสูงในระบบนิเวศจงึ มีโอกาสได้รบั สารพษิ สะสมอยใู่ นร่างกายในปริมาณมาก

• เพราะเหตุใดผ้บู ริโภคลำดบั ท่ีสงู กว่าจงึ มีปรมิ าณสารพิษสะสมในรา่ งกายมากกวา่ ผบู้ ริโภค
ลำดับทต่ี ำ่ กว่า

• ปริมาณพลงั งานที่ถ่ายทอดไปตามลำดบั ขน้ั ตอนของกรบรโิ ภคแตกตา่ งจากปริมาณสารพิษ
ที่สะสมในโซ่อาหารหรือไม่ อยา่ งไร

บรรณานุกรม

การถา่ ยทอดพลังงาน. โซ่อาหารและสายใยอาหาร. สบื คน้ 23 กนั ยายน 2564,
จาก https://sites.google.com/site/scipatchara/Power-relay/so-xahar-laea-sayyi-xahar

คลังความรู้SaiMath. การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนิเวศ. สบื คน้ 23 กันยายน 2564,
จาก https://www.scimath.org/lesson-biology/item/9642-2018-12-14-08-29-47

คลงั ความรู้SaiMath. ระบบนิเวศ. สบื ค้น 27 กนั ยายน 2564,
จาก https://www.scimath.org/lesson-biology/item/7028-2017-05-21-14-25-17

โครงการสารานุกรมไทย (2560). ประชากรในระบบนเิ วศ. โครงการสารานุกรมไทยสำหรบั เยาวชนโดยพระราช
ประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว. สบื คน้ เม่ือวันที่ 27 กันยายน 2564. [เวบ็ ไซต์]

จาก http://saranukromthai.or.th .html
มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง (2560). ประชากรในระบบนเิ วศ.มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. สืบค้นเมื่อวนั ที่ 27 กนั ยายน

2564. [เว็บไซต์] จาก http://old-book.ru.ac.th/e- /.pdf

มรตุ เทพ วงษ์วาโย (2560). ประชากรในระบบนเิ วศ.มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง.สืบคน้ เมื่อวันที 1
พฤศจิกายน 2564. [เว็บไซต์ ] จาก https://www.trueplookpanya.com/

ระบบนิเวศของสิ่งมชี ีวติ . บทบาทของสิ่งมีชวี ิตในระบบนเิ วศ. สบื คน้ 23 กันยายน 2564,
จาก https://sites.google.com/site/cmsfgnsrmgbsjsvgjm4/rabb-niwes-thang-na

โรงเรยี นน้ำพองศึกษา. การถ่ายทอดพลังงานในระบบนเิ วศ. สืบค้น 23 กนั ยายน 2564,
จาก https://sites.google.com/a/nps.ac.th/sawai2558/withyasastr/kar-thaythxd-phlangngan-

ni-rabb-niwes
โรงเรียนมหดิ ลวิทยานุสรณ์ (2560). ประชากรในระบบนิเวศ.มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. สืบคน้ เมอื่ วนั ท่ี 27

กนั ยายน 2564. [เว็บไซต์ ] จาก https://biology.mwit.ac.th.pdf
สวทช. ระบบนิเวศ คอื อะไร. สืบคน้ 27 กันยายน 2564,

จาก https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/ecosystem/

สำนกั หอสมดุ และศูนยส์ ารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกรมวทิ ยาศาสตรบ์ ริการกระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีกนั ยายน 2558. สาหร่าย(Algae). สบื คน้ 23 กันยายน 2564,จาก

http://siweb1.dss.go.th/repack/fulltext/IR%2035.pdf
Environment สง่ิ แวดลอ้ ม. ระบบนิเวศ. สืบคน้ 27 กนั ยายน 2564,

จาก https://www.tungsong.com/Environment/Eco/Eco03.asp
IPST Thailand. บทบาทของส่งิ มชี ีวติ ในระบบนิเวศ. สืบค้น 23 กันยายน 2564,

จาก https://www.ipst.ac.th/knowledge/10594/ecosystem.html
NatinalGeographicฉบับภาษาไทย. หนา้ ที่ของระบบนเิ วศ (Ecosystem Function). สบื ค้น 27 กนั ยายน 2564,

จาก https://ngthai.com/science/25312/ecosystem-function/
NatinalGeographicฉบบั ภาษาไทย. ความสมั พนั ธข์ องสิ่งมีชวี ติ ในระบบนเิ วศ. สบื คน้ 4 ตุลาคม 2564,

จาก https://ngthai.com/science/31096/organism-relations/
Nature Education(2560). ประชากรในระบบนิเวศ.มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง. สบื คน้ เม่ือวนั ที่ 27 กันยายน

2564. [เวบ็ ไซต์] จาก https://www.nature.com
Trueปลกู ปญั ญา. ลำดบั ผ้บู ริโภคทไ่ี ด้รบั พิษสงู สุด. สืบค้น 23 กนั ยายน 2564,

จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/72812/-sci-scibio-


Click to View FlipBook Version