เรื่อง ดนตรสี ากล
จัดทำโดย
นางสาวสรุ ษิ า แก้วสมบัติ
รหสั นกั ศกึ ษา 6412404001231
เสนอ
อาจารยป์ ลมื้ ใจ ไพจิตร
รายงานวชิ าน้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
ก
คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้ศึกษา ได้หา
ความรใู้ นเรอ่ื งในเร่อื งดนตีสากล เพอื่ นำความรู้ไปประยุกต์ใชใ้ ห้ประโยชน์กบั การเรียนและกจิ กรรมอื่นๆ
ผู้จัดทำหวงั วา่ รายงานเลม่ นจ้ี ะเป็นประโยชน์กับผูอ้ า่ น อาจารย์ และนักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเร่ืองนี้
อยู่ หากมขี ้อแนะนำหรอื ขอ้ ผิดพลาดประการใดผูจ้ ดั ทำขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ที่น้ีดว้ ย
จัดทำโดย
นางสาวสรุ ิษา แกว้ สมบตั ิ
ข
สารบัญ
เน้ือหา
คำนำ................................................................................................................................................................. ก
สารบัญ.............................................................................................................................................................. ข
สารบัญภาพ .......................................................................................................................................................ง
สารบญั ตาราง.................................................................................................................................................... ฉ
บทที่1................................................................................................................................................................ 1
ดนตรสี ากล ....................................................................................................................................................... 1
ประวัตคิ วามเป็นมาของดนตรีสากล.............................................................................................................. 1
ประเภทเครอื่ งดนตรขี องดนตรสี ากล ............................................................................................................ 2
1. เคร่ืองดนตรสี ากลประเภทสาย (String Instruments).................................................................... 2
2. เครือ่ งดนตรสี ากลประเภทเครื่องลมไม้ (Woodwind Instruments) .............................................. 3
3. เคร่อื งดนตรสี ากลประเภทเคร่ืองลมทองเหลือง (Brass Instruments) ........................................... 4
4. เครื่องดนตรสี ากลประเภทเครือ่ งล่ิมนิว้ (Keyboard Instruments)................................................ 5
5. เคร่อื งดนตรสี ากลประเภทเคร่อื งกระทบ (Percussion Instruments ............................................ 6
ประเภทของวงดนตรีสากล ........................................................................................................................... 7
1.วงแชมเบอร์มิวสิค( Chamber Music ) ............................................................................................ 7
2. วงซิมโฟนี ออรเ์ คสตร้า ( Symphony Orchestra)..................................................................... 11
3. วงป๊อปปลู ามิวสิค (Popular Music) ............................................................................................ 12
4. วงคอมโบ (Combo band) .......................................................................................................... 12
5. วงชารโ์ ด (Shadow)....................................................................................................................... 13
6. วงดนตรแี จ๊ส................................................................................................................................... 13
ค
7. วงโยธวาทติ (Military Band)...................................................................................................... 14
8. แตรวง (Brass Band) .................................................................................................................. 14
ความรเู้ รอ่ื งโน้ตสากล.................................................................................................................................. 15
จงั หวะ(Time)..................................................................................................................................... 15
ตวั โนต้ และตวั หยดุ (Note & Rest)................................................................................................... 16
การเปรยี บเทียบค่าของตวั โน้ต............................................................................................................ 17
บรรทดั 5 เสน้ (Staff)......................................................................................................................... 18
การแบง่ หอ้ งทางดนตรี (Measure)..................................................................................................... 19
โน้ตประจุด ( Dotted Note).............................................................................................................. 20
บรรณานกุ รม................................................................................................................................................... 21
ง
สารบญั ภาพ
รปู 1 วงนั่งบรรเลง............................................................................................................................................ 1
รปู 2 เคร่ืองดนตรเี ครอ่ื งสาย............................................................................................................................. 2
รปู 3 เครอื่ งดนตรเี ครอ่ื งลมไม้ .......................................................................................................................... 3
รปู 4 แซกโซโฟน............................................................................................................................................... 3
รปู 5 เคร่ืองดนตรเี ครอื่ งลมทองเหลือง ............................................................................................................. 4
รปู 6 รูปภาพเปา่ ยูโฟเนยี ม ............................................................................................................................... 4
รปู 7เครอ่ื งดนตรีเครื่องลิ่มนว้ิ ........................................................................................................................... 5
รปู 8เครอื่ งดนตรเี ครอ่ื งกระทบ......................................................................................................................... 6
รปู 9 บรรเลงดูโอ.............................................................................................................................................. 7
รูป 10 บรรเลงตรโิ อ.......................................................................................................................................... 7
รูป 11 บรรเลงควอรเ์ ทพ................................................................................................................................... 8
รูป 12 บรรเลงควินเตท..................................................................................................................................... 8
รูป 13 บรรเลงเซกซ์เตท ................................................................................................................................... 9
รูป 14 บรรเลงเซปเตท...................................................................................................................................... 9
รปู 15 บรรเลงออกเตท................................................................................................................................... 10
รูป 16 บรรเลงโนเนท...................................................................................................................................... 10
รูป 17 วงออรเ์ คสตรา้ ..................................................................................................................................... 11
รูป 18 วงป๊อบปูลามวิ สคิ ................................................................................................................................ 12
รูป 19 วงคอมโบ............................................................................................................................................. 12
รูป 20 วงชารโ์ ด.............................................................................................................................................. 13
รูป 21 วงดนตรีแจส๊ ........................................................................................................................................ 13
รูป 22 วงโยธวาทิต ......................................................................................................................................... 14
รปู 23 วงแตรวง.............................................................................................................................................. 14
รปู 24 โนต้ ดนตรี ............................................................................................................................................ 15
รปู 25 อตั ราจังหวะ ........................................................................................................................................ 16
รปู 26 ตวั โน้ต
รปู 27 ตวั โน้ตและตวั หยดุ .............................................................................................................................. 16
รูป 28 ขนั้ ของโนต้ .......................................................................................................................................... 17
รูป 29 บรรทดั 5 เสน้ ..................................................................................................................................... 18
จ
รปู 30 Time Signature................................................................................................................................. 19
รปู 31 โน้ตจดุ ................................................................................................................................................. 20
รูป 32 ตวั อย่างโนต้ จุด.................................................................................................................................... 20
ฉ
สารบญั ตาราง
ตาราง 1 ตารางประเภทของเครื่องดนตรี.......................................................................................................... 2
ตาราง 2 ตารางระดับเสยี ง................................................................................................................................ 6
1
บทท1ี่
ดนตรสี ากล
ประวัติความเป็นมาของดนตรีสากล
ดนตรีก่อเกิดเพราะการได้ยินเสียงจากธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์ มีการรับรู้
เลียนแบบ ศึกษาจงั หวะ ระดบั เสียง ความดงั -เบา ความกลมกลืนและแตกต่างของเสียงแตล่ ะประเภท
จากใกล้ตัวที่สุดคือชีพจรการเต้นของหัวใจ การเคลื่อนไหวร่างกาย ไปถึงเสียงจากธรรมชาติและสัตว์
นานา ดนตรสี ากลหรอื ดนตรีตะวันตกมพี ื้นฐานจากความมุ่งหวงั ไปสชู่ ีวติ ทดี่ ีกวา่ จากหลักปรัชญากรีก
โบราณในราวช่วงปี 800 ก่อนคริสตกาล ที่เน้นความสำคัญของการสร้างร่างกายให้แข็งแรงด้วยการ
เล่นกฬี า และงดงามของจิตใจดว้ ยศิลปะ บทกวี ดนตรี การละคร และระบำรำฟ้อน เพ่อื สร้างสรรค์ให้
มนุษย์สมบูรณ์ เมื่อปี 585-479 ก่อนคริสตกาล ชาวกรีกชื่อ ปิธากอรัส คิดค้นทฤษฎีการเกิดเสียงข้ึน
จากการคำนวณรอบการสน่ั สะเทือนของสายเสียง ได้ขอ้ สรปุ วา่ "ถา้ สายสนั้ กวา่ จะได้เสยี งที่สูงกว่า ถ้า
สายยาวกว่าจะได้เสียงที่ต่ำกว่า" วิชาความรู้และแนวคดิ นี้กระจายแพร่หลาย ชื่อเสียงปิธากอรัสเลื่อง
ลือทั่วยุโรป (ไกรนรา, 2557)
รูป 1 วงน่งั บรรเลง
2
ประเภทเครือ่ งดนตรีของดนตรสี ากล
มีเป็น 5 ประเภท ดังนี้
ประเภท ดนตรี
1. เครื่องดนตรสี ากลประเภทสาย ไวโอลิน วิโอลา เชลโล ดับเบลิ เบส
(String Instruments) ฮารพ์ ไลร์ ลูท แบนโจ กีตา้ ร์ แมนโดลิน
2. เครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องลมไม้ เรคอร์เดอร์ ปิคโคโล ฟลูท คลาริเน็ต แซก
(Woodwind Instruments) โซโฟน
3. เครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องลม คอร์เน็ต ทรัมเป็ต บิวเกิล ฟลูเกิลฮอร์น เฟรนช์
ทองเหลือง (Brass Instruments) ฮอร์น ทรอมโบน บาริโทน ยูโฟเนียม ทูบา ซู
ซาโฟน
4. เครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องลิ่มน้ิว เปียโน ออร์แกน ฮาร์พซิคอร์ด คลาวิคอร์ด
(Keyboard Instruments) แอคคอร์เดียน อเิ ลคโทน
5. เครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องกระทบ ไซโลโฟน ไวบราโฟน มาริมบา ระฆังราว กลอง
(Percussion Instruments) ทิมปานี กลองใหญ่ กลองแต๊ก ฉาบ กิ๋ง แทมบู
ริน เคาเบลล์ คาบาซา บองโก คองการ์ กลองชุด
ตาราง 1 ตารางประเภทของเครอ่ื งดนตรี
1. เครื่องดนตรีสากลประเภทสาย (String Instruments)
เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสาย สายของเครื่องดนตรีประเภทนี้มีทั้งสายที่ทำมาจากเส้นลวด
เส้นเอ็น เส้นไหม ไนล่อน หรือโลหะอย่างใดอย่างหนึ่ง นำมาขึงให้ตึง ความดังของเสียงขึ้นอยู่กับ
รูปร่าง และวัสดุที่นำมาใช้ทำกะโหลกเครื่องดนตรี กะโหลกเครื่องดนตรีทำหน้าท่ีเป็นตัวขยายเสียงที่
เกิดจากการสัน่ สะเทือนของ สาย เครือ่ งดนตรีประเภทเครอ่ื งสายท่ีนำมาใช้ในการประสมวงดนตรี
ประเภทเครือ่ งสี ไดแ้ ก่ ไวโอลิน วโิ อลา เชลโล ดบั เบลิ เบส
ประเภทเคร่อื งดีด ไดแ้ ก่ ฮารพ์ ไลร์ ลทู แบนโจ กีต้าร์ แมนโดลิน (zazana, 2015)
รปู 2 เครอ่ื งดนตรีเครื่องสาย
3
2. เครอื่ งดนตรีสากลประเภทเคร่ืองลมไม้ (Woodwind Instruments)
รปู 3 เครือ่ งดนตรีเครือ่ งลมไม้
เคร่ืองดนตรี ประเภทนี้ เกิดเสยี งโดยการเปา่ ลมผา่ นช่องแคบๆ ใหเ้ ขา้ ไปภายในทอ่ ซง่ึ ทำหน้าที่
เป็นตัวขยายเสียงให้ดังขึ้น คุณลักษณะของเสียงที่เกิดขึ้นจะแตกต่างกัน ตามขนาดของท่อ ความส้ัน
ยาวของท่อ และความแรงของลมทเ่ี ปา่ เข้าไปภายในทอ่
เครื่องดนตรีแต่ละชนิดยังมีขนาดต่างกันออกไป เครื่องดนตรีขนาดเล็กจะให้ระดับเสียงสูง
เครื่องดนตรีขนาดใหญ่จะให้เสียงต่ำ ผู้บรรเลงจะต้องเลือกใช้เครื่องดนตรีให้เหมาะสมกับบทเพลง
ตามทผี่ ้ปู ระพนั ธเ์ พลงไดก้ ำหนดไว้ ประกอบไปดว้ ยเคร่อื งดนตรดี ังตอ่ ไปนี้
ประเภทเปา่ ลมผา่ นช่องลม ไดแ้ ก่ เรคอรเ์ ดอร์ ปิคโคโล ฟลทู
ประเภทเปา่ ลมผา่ นลนิ้ ไดแ้ ก่ คลาริเนต็ แซกโซโฟน
รปู 4 แซกโซโฟน
4
3. เคร่ืองดนตรีสากลประเภทเคร่ืองลมทองเหลอื ง (Brass Instruments)
รปู 5 เครอ่ื งดนตรีเครอื่ งลมทองเหลือง
เคร่อื งดนตรีประเภทนีม้ ักทำด้วยโลหะผสมหรือโลหะทองเหลือง เสียงของเครอ่ื งดนตรีประเภท
นี้เกิดจากการเป่าผ่านท่อโลหะ ความส้ันยาวของท่อโลหะทำให้ระดบั เสยี งเปล่ียนไป การเปลี่ยนความ
สนั้ ยาวของท่อโลหะจะใชล้ ูกสบู เป็นตวั บงั คบั
เครื่องดนตรี บางชนิดจะใชก้ ารชกั ท่อลมเข้าออก เปลยี่ นความส้นั ยาวของท่อตามความต้องการ
ลักษณะเด่นของเครื่องดนตรีประเภทนี้ มีปากลำโพงสำหรับใช้ขยายเสียงให้มีความดังเจิดจ้า เรามัก
เรียกเคร่ืองดนตรีประเภทนรี้ วมๆ กนั ว่า “แตร” ขนาดของปากลำโพงข้ึนอยูก่ บั ขนาดของเครื่องดนตรี
ปากเป่าของเครื่องดนตรีประเภทนี้เรียกว่า “กำพวด” (Mouthpiece) ทำด้วยท่อโลหะ ทรงกรวย
ด้านปากเป่ามีลักษณะบานออก คล้ายรูปกรวย มีขนาดต่างๆ กัน ตามขนาดของเครื่องดนตรีนั้นๆ
ปลายทอ่ อีกดา้ นหนึ่งของกำพวด ตอ่ เข้ากับท่อลมของเครือ่ งดนตรี
เครื่องดนตรีสากลประเภทเครื่องลมทองเหลือง ได้แก่ คอร์เน็ต ทรัมเป็ต บิวเกิล ฟลูเกิลฮอร์น เฟ
รนช์ฮอร์น ทรอมโบน บารโิ ทน ยโู ฟเนียม ทบู า ซซู าโฟน
กกก
ก
ก
ก
ก
ก
ก
ก
รูป 6 รูปภาพเป่ายโู ฟเนียม
5
4. เคร่ืองดนตรสี ากลประเภทเครื่องลมิ่ นิว้ (Keyboard Instruments)
รปู 7เครื่องดนตรีเครือ่ งลิม่ น้วิ
เครื่องดนตรีในยุคนี้ มักนิยมเรียกทับศัพท์ในภาษาอังกฤษว่า “เครื่องดนตรีประเภทคียบ์ อร์ด”
ลกั ษณะเด่นของเครือ่ งดนตรีทอ่ี ยู่ในกลุ่มนกี้ ค็ อื มลี ิ่มนิว้ สำหรับกด เพอ่ื เปลย่ี นระดบั เสียงดนตรี ลิ่มน้ิว
สำหรับกดนั้นนิยมเรียกว่า “คีย์” (Key) เครื่องดนตรีแต่ละชนิดมีจำนวนคีย์ไม่เท่ากัน โดยปกติสีของ
คียเ์ ป็นขาวหรือดำ คยี ์สีดำโผล่ขึน้ มากกวา่ คียส์ ีขาว
การเกิดเสียง ของเครื่องดนตรีในกลุ่มนี้มีหลายลักษณะ เปียโน ฮาร์ปซิคอร์ด คลาวิคอร์ด เกิด
เสียง โดยการกดคีย์ที่ต้องการ แล้วคีย์นั้นจะส่งแรงไปที่กลไกต่างๆ ภายในเครื่องเพื่อที่จะทำให้สาย
โลหะที่ขึงตึงสั่นสะเทือน ทำให้เกิดเสียงให้ดังขึ้น เครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดบางชนิดให้ลมผ่านไป
ยังล้ินโลหะใหส้ ่นั สะเทอื น ทำให้เกิดเสยี งดังขน้ึ เครื่องดนตรีประเภทคยี บ์ อรด์ บางชนิดให้ลมผ่านไปยัง
ล้ินโลหะใหส้ ่ันสะเทือนทำให้เกดิ เสยี ง ในปจั จบุ ันไมน่ ยิ มใช้แล้วจะมบี างเปน็ บางโอกาส
ในปัจจุบนั เครอื่ งดนตรีประเภทคยี ์บอรด์ ที่เกดิ เสยี งโดยใช้วงจรอิเล็คทรอนกิ ส์ ไดรบั ความนิยม
มาก เพราะสามารถเลียนแบบเสียงเครื่องดนตรีตา่ งๆ ได้หลายชนิด ซ่ึงไดพ้ ัฒนามาจากออร์แกนไฟฟ้า
นน่ั เอง มีชอื่ เรียกหลายชอื่ แตล่ ะชือ่ มีลักษณะแตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ เครื่องสตริง (String Machine)
คือ เครื่องประเภทคีย์บอร์ด ทีเลียนเสียงเครื่องดนตรีในตระกูลไวโอลินทุกชนิด อิเล็คโทน คือ เครื่อง
ดนตรปี ระเภทคีย์บอรด์ ท่มี จี งั หวะในตวั สามารถบรรเลงเพลงตา่ งๆ ได้ดว้ ยนกั ดนตรเี พยี งคนเดยี ว
ในยุคของ คอมพิวเตอร์ เครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดได้วิวัฒนาการไปมาก เสียงต่างๆ มีมาก
ขนึ้ นอกจากเสยี งดนตรีแลว้ ยังมีเสียงเอฟเฟ็คต์ (Effect) ต่างๆ ให้เลือกใช้มาก เสยี งต่างๆ เหล่าน้ีเป็น
เสียงที่สังเคราะห์ข้ึนมาดว้ ยระบบ อิเล็คทรอนกิ ส์ ดังนั้นเคร่ืองดนตรีประเภทนี้จึงถูกเรียกว่า “ซินธีไซ
เซอร”์ (Synthesizer)
เครื่องดนตรีที่จัดอยู่ในกลุ่มเครื่องลิ่มนิ้ว ได้แก่ เปียโน ออร์แกน ฮาร์พซคิ อร์ด คลาวิคอร์ด แอคคอร์
เดียน อเิ ลคโทน
6
5. เครื่องดนตรสี ากลประเภทเคร่อื งกระทบ (Percussion Instruments
รปู 8เคร่อื งดนตรีเครอ่ื งกระทบ
เครื่อง ดนตรีประเภทเครื่องกระทบ ได้แก่ เครื่องดนตรีที่เกิดเสียงจากการตี การสั่น การเขยา่
การเคาะ หรือการขดู การตีอาจจะใชไ้ ม้ตีหรอื อาจจะใชส้ ่ิงหนงึ่ กระทบเข้ากับอีกสิ่งหน่ึงเพ่ือทำ ให้เกิด
เสียง เครื่องกระทบประกอบขึ้นด้วยวัสดุที่เป็นของแข็งหลายชนิด เช่น โลหะ ไม้ หรือแผ่นหนังขึงตึง
แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท ดงั ตารางตอ่ ไปน้ี
ตารางระดบั เสียง
เครือ่ งดนตรีท่ีมรี ะดบั เสยี งแน่นอน ประเภทเครอื่ งดนตรที ี่มรี ะดบั เสยี งไมแ่ นน่ อน
(Definite Pitch Instruments) (Indefinite Pitch Instruments)
เครื่องดนตรกี ลมุ่ นม้ี รี ะดบั เสยี งสูงต่ำเหมอื นกบั เครอ่ื งดนตรกี ลุ่มน้ไี ม่มีระดบั เสียงทแี่ น่นอน
เคร่ืองดนตรปี ระเภทอน่ื เกดิ เสยี งโดยการตี หนา้ ท่ีสำคัญคือ ใช้เป็นเคร่ืองดนตรีประกอบ
กระทบ สว่ นใหญต่ กี ระทบเป็นทำนองเพลงได้ จังหวะ เกดิ เสียงโดยการตี ส่นั เขย่า เคาะ หรือ
ขูด
ไซโลโฟน ไวบราโฟน มารมิ บา ระฆังราว กลอง กลองใหญ่ กลองแต๊ก ฉาบ ก๋ิง แทมบูรนิ เคา
ทมิ ปานี เบลล์ คาบาซา บองโก คองการ์ กลองชดุ
ตาราง 2 ตารางระดับเสยี ง
7
ประเภทของวงดนตรีสากล
มนุษย์เรารู้จักเคาะ ตี และนำสิ่งต่างๆ มาเป่าให้เกิดเสียง แล้ววิวัฒนาการให้เป็นเครื่องดนตรี
ชนิดต่างๆ ขึ้นมาใชจ้ นถึงปจั จุบัน วงดนตรที ีเ่ กิดข้นึ ในศตวรรษตน้ ๆ จนถึงปัจจบุ นั มีลกั ษณะตา่ งกันไป
เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงก็มีจำนวนและชนิดต่างกันตามสมัยนิยมต่างๆ ดังต่อไปนี้ (teacherpuii,
2558)
1.วงแชมเบอรม์ วิ สิค( Chamber Music )
เป็นลักษณะการผสมวงในราชสำนักหรือผสมวงเล่นในห้องโถงเป็นลักษณะของวงแบบง่ายๆ
ตามปกตมิ ีนกั ดนตรี 2 ถงึ 9 คนจะมีช่ือต่าง กันไปตามจำนวนผู้บรรเลง มีชอื่ เรียกดังน้ี
1.จำนวนผบู้ รรเลง 2 คน เรียกวา่ ดโู อ (Duo)
รูป 9 บรรเลงดโู อ
2.จำนวนผบู้ รรเลง 3 คน เรียกวา่ ตรโิ อ (Trio)
รูป 10 บรรเลงตริโอ
8
3.จำนวนผบู้ รรเลง 4 คน เรียกวา่ ควอร์เทท (Quaret)
รูป 11 บรรเลงควอร์เทพ
4.จำนวนผบู้ รรเลง 5 คน เรยี กวา่ ควนิ เตท (Quintet)
รปู 12 บรรเลงควนิ เตท
9
5.จำนวนผบู้ รรเลง 6 คน เรียกวา่ เซกซเ์ ตท (Sextet)
รูป 13 บรรเลงเซกซ์เตท
6.จำนวนผบู้ รรเลง 7 คน เรียกวา่ เซปเตท (Septet)
รูป 14 บรรเลงเซปเตท
10
7.จำนวนผู้บรรเลง 8 คน เรยี กวา่ ออกเตท (Octet)
รูป 15 บรรเลงออกเตท
8.จำนวนผู้บรรเลง 9 คน เรยี กวา่ โนเนท (Nonet)
รูป 16 บรรเลงโนเนท
11
2. วงซมิ โฟนี ออรเ์ คสตร้า ( Symphony Orchestra)
วงประเภทนี้มีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีครบทุกกลุ่ม ขนาดของวงมีขนาดเล็ก 40-
60 คนขนาดกลาง 60-80 คนและวงใหญ่ 80-110 คนหรือมากกว่านั้น ขนาดของวงจะใหญ่หรือเล็ก
ขึ้นอยู่กับเครื่องสายเป็นหลัก และ ผู้เล่นต้องมีฝีมือดี รวมถึงวาทยากร(conductor)ก็ต้องมี
ความสามารถอยา่ งยอดเย่ยี มถ้าใชเ้ ฉพาะเครื่องสายของวง Symphony Orchestra กเ็ รียกว่า String
Orchestra
รปู 17 วงออรเ์ คสตร้า
12
3. วงป๊อปปลู ามวิ สคิ (Popular Music)
วงดนตรลี ลี าศ ใชบ้ รรเลงตามงานรื่นเริงทัว่ ไป
รปู 18 วงปอ๊ บปูลามิวสคิ
4. วงคอมโบ (Combo band)
สตรงิ คอมโบ เป็นวงทเ่ี อาเครอ่ื งดนตรีบางส่วนมาจาก Popular Music อีกท้งั ลกั ษณะของ
เพลงและสไตลก์ ารเล่นกเ็ หมือนกนั จำนวนเครอื่ งดนตรสี ว่ นมากอยรู่ ะหวา่ งประมาณ 3 –10 ช้นิ
รปู 19 วงคอมโบ
13
5. วงชาร์โด (Shadow)
วงดนตรีขนาดเล็ก เริ่มก่อตั้งเมื่อประมาณ 20 ปีมานี่เองในอเมริกาวงดนตรีประเภทนี้ที่ได้รับ
ความนยิ มสงู สดุ คอื คณะThe Beattle หรือสี่เตา่ ทอง
รปู 20 วงชาร์โด
6. วงดนตรีแจ๊ส
เป็นวงดนตรีขนาดเล็ก ใช้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่าเป็นหลัก เกิดขึ้นครั้งแรกที่เมือง นิวออร์ลนี
ประเทศสหรฐั อเมริกา ลกั ษณการบรรเลง จะใช้เครื่องดนตรแี ตล่ ะชนดิ บรรเลงโตต้ อบกันโดยมีทำนอง
สั้นๆ Blues Jazz เพลงบลูส์ เป็นเพลงเก่าแก่ของ แจ๊ส มาจากเพลงสวดอันโหยหวลของพวกนิโกร
เพลงบลูส์มีอายรุ ว่ ม100 ปี Swing แบบนี้กู๊ดแมน เป็นผู้ให้กำเนิดจังหวะนี้ เมื่อกอ่ นกู๊ดแมนเล่นคลา
ริเน็ทกับพวกผิวดำต่อมาได้แยกออกมาเล่นกับพวกผิวขาวด้วยกันและเขาได้แต่งเพลงใหม่ขึ้น และได้
ให้ชื่อเพลงใหม่นี้ว่า Swing Rock n’ Roll ก็แตกแขนงจาก แจ๊ส เมื่อราว พ.ศ. 2493 ได้รับความ
นิยมสูงสุดในหมู่วัยรุ่นและแพร่หลายอย่างรวดเร็วในอเมริกาผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นราชาเพลงร๊อคก็คือ
เอลวิส เพรสลี่ (เสยี ชีวิตเมือ่ ส.ค. 2520)
รปู 21 วงดนตรีแจส๊
14
7. วงโยธวาทติ (Military Band)
ประกอบด้วยเครื่องเป่าครบทุกกลุ่ม คือ เครื่องลมไม้ เครื่องทองเหลืองและกลุ่มเครื่อง
กระทบ ได้แก่เครื่องดนตรีที่ให้จังหวะทั้งหลาย วงโยธวาทิตมีมาตั้งแต่สมัยโรมันใช้บรรเลงเพลงเดิน
แถวเพ่อื ปลกุ ใจทหารในสมยั สงครามครเู สด
รูป 22 วงโยธวาทิต
8. แตรวง (Brass Band)
วงที่ประกอบดว้ ยเครอ่ื งดนตรีประเภทเครอื่ งทองเหลืองและเครอ่ื งกระทบแตรวงเหมาะสำหรับ
ใชบ้ รรเลงกลางแจ้ง การแห่ต่างๆ เช่น ในประเทศไทยใช้แห่นาค แหเ่ ทยี นพรรษา เปน็ ต้น
รปู 23 วงแตรวง
15
ความร้เู ร่ืองโนต้ สากล
โน้ต กค็ ือ สัญลักษณท์ ่ีใช้บนั ทกึ แทนเสียงดนตรี ซึ่งแสดงถึงความสั้น-ยาว และความสูง-ต่ำของ
เสียงดนตรี ตัวโน้ตเปรียบเหมือนกับตัวอักษรที่ใช้บันทึกแทนภาษาพูด คนที่เล่นดนตรีเป็นแต่ไม่
สามารถอา่ นโน้ตไดก้ เ็ หมอื นกับคนที่พดู ได้แต่อ่านหนังสอื ไมอ่ อก (teacherpuii, 2558)
รูป 24 โน้ตดนตรี
สำหรับเสียงเครือ่ งดนตรที ่ีเราดดี ,สี,ตี,เป่า ออกมาเปน็ เพลงไดน้ น้ั จะประกอบไปดว้ ย
1. ความสนั้ -ยาว ของเสยี ง หรือท่เี ราเรยี กว่า จังหวะ (Time)
2. ความสูง-ตำ่ ของเสยี ง หรือที่เราเรยี กวา่ ระดบั เสียง (Pitch)
ถ้าเรามีความเข้าใจใน 2 ข้อ นี้ก็สามารถอ่านโน้ตได้เร็วขึ้น เพราะโน้ตจะบันทึกรวมทั้ง 2 ข้อนี้ไว้
ดว้ ยกัน
จงั หวะ(Time)
ความหมายของคำวา่ จงั หวะ (Time)
จังหวะ หมายถึง ช่วงเวลาที่ดำเนนิ อยู่ในขณะทีบ่ รรเลงดนตรี จะสิ้นสุดลงก็ต่อเมือ่ จบบท
เพลงนั้นๆแล้ว จังหวะมีหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนที่ของทำนองเพลงและแนวประสานเสียงต่างๆ ให้มี
ความสัมพันธ์กัน การเดินของจังหวะจะเป็นไปอย่างสม่ำเสมอ จะเหมือนกับการเดินของนาฬิกา ซึ่ง
นาฬิกาปกติจะเดินเป็นจังหวะตัวดำเท่ากับ 60 ตัวอย่างเช่น หากเราตั้ง metronome(เครื่องเคาะ
จังหวะ) เป็นจังหวะตัวดำเท่ากบั 120 กค็ อื ในหนง่ึ นาทีจะมีตัวดำทัง้ หมด 120 ตัว หรอื ใน 1 วนิ าทีของ
นาฬิกาปกติ จะมตี ัวดำท้ังหมด 2 ตวั นน่ั เอง
16
จังหวะเราจะแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท
1 .จังหวะเคาะ (Beat) เป็นหน่วยบอกช่วงเวลาของดนตรี ปฏิบัติโดยการเคาะจังหวะให้ดำเนินไป
อยา่ งสมำ่ เสมอ จนกวา่ จะจบบทเพลง
2. จังหวะทำนอง (Rhythm) เป็นช่วงเวลาที่เสยี งดังออกมา มีทัง้ เสียงส้นั เสยี งยาวสลบั กันไปดว้ ยความ
เงียบ ซึ่งแล้วแตบ่ ทเพลงน้นั ๆ
รปู 25 อัตราจงั หวะ
ตัวโนต้ และตัวหยดุ (Note & Rest)
ตัวโน้ต (Note) เป็นสญั ลักษณ์ทีบ่ กั ทึกแทน ความส้ัน-ยาว ของเสียง
ตวั หยดุ (Rest) เปน็ สญั ลกั ษณท์ ่บี กั ทกึ แทน ความสัน้ -ยาวของความเงยี บ
รปู 26 ตวั โนต้ รูป 27 ตวั โน้ตและตวั หยดุ
17
การเปรยี บเทยี บคา่ ของตวั โน้ต
โน้ต ตวั ขาว มคี า่ เทา่ กับ ½ ของโนต้ ตัวกลม
โนต้ ตัวดำ มีคา่ เทา่ กบั ¼ ของโนต้ ตวั กลม
โนต้ ตวั เขบต็ 1 ช้นั มีค่าเทา่ กบั 1/8 ของโน้ต ตัวกลม
โน้ต ตัวเขบ็ต 2 ชั้น มีค่าเท่ากับ 1/16 ของโน้ต ตัวกลม หรือ 1 ตัวกลม = 2 ตัวขาว = 4 ตัวดำ = 8
ตัวเขบ็ต 1 ชัน้ = 16 ตวั เขบ็ต 2 ช้ัน
สว่ นตัวหยุด ใหเ้ ปรยี บเทียบคา่ เหมือนตวั โนต้
รปู 28 ขนั้ ของโนต้
18
บรรทดั 5 เส้น (Staff)
เกิดจากเสน้ ตรง 5 เส้น ขีดซอ้ นกนั ในแนวดง่ิ ซ่ึงจะบอกใหท้ ราบถึงระดับเสยี งของดนตรี
หรือตัวโน้ตนั้นว่าเป็นเสียงอะไร โดยที่แต่ละเส้นและช่องระหว่างเส้นทั้ง 5 นั้นจะมีค่าเสียงที่ต่างกัน
เสียงต่ำไปหาสูงถ้าไล่จากเส้นล่างไปหาเส้นบน และจะกำหนดค่าของเสียงด้วยกุญแจ ( Key
Signature) สำหรบั กีตารจ์ ะเป็นกุญแจซอล (treble clef หรือ G-clef) ซึง่ กำหนดใหเ้ ส้นท่ี 2 จากล่าง
มคี า่ เป็นเสยี งซอล ดงั นนั้ จะได้เสยี งประจำเส้นและช่องต่าง ๆ ของ staff ดังน้ี
บรรทัด 5 เสน้ (Staff)
รปู 29 บรรทดั 5 เส้น
โดยที่ระดับเสียงต่ำจะอยู่ด้านล่างของ staff และเมื่อระดับเสียงนั้นสูง หรือต่ำเกินกว่าใน
บรรทัด 5 เสน้
ปกติ จะเขียนเส้นขนานเล็ก ๆ ที่ด้านบนเพื่อบันทึกโน้ตเมื่อระดับเสียงสูงกว่าในบรรทดั 5 เส้น
ปกติ และในทางตรงกันข้ามถ้าระดับเสียงต่ำกว่าปกติก็จะเขียนเส้นดังกล่าวขนานกับบรรทัด 5 เส้น
ด้านลา่ ง ซ่ึงเสน้ ดังกลา่ วนี้เรียกว่า"เส้นนอ้ ย" ( Leger Line)
สำหรับระดับเสียงของดนตรีสากลนั้นมี 7 เสียง แทนด้วยตัวอักษร 7 ตัวแรกของ
ภาษาอังกฤษคือ A, B, C, D, E, F และ G แต่ในการอ่านจะเริ่มจาก C และอ่าน C = โด , D = เร , E
= มี , F = ฟา , G = ซอล , A = ลา , B = ที จากนั้นก็จะวนกลับไปที่ C ( โด) แต่จะมีระดับเสียงที่
สงู กว่า C ตวั แรก (เรียกว่าเสยี งสูงกว่า 1 อ๊อกเท็ป [Octave])
19
การแบ่งหอ้ งทางดนตรี (Measure)
ในการบันทึกโน้ตดนตรีจะต้องแบ่ง staff ออกเป็นส่วน ๆ เท่า ๆ กันด้วยเส้นกั้นแต่ละห้อง
ในแนวดง่ิ ทีเ่ รยี กวา่ bar line โดยทีผ่ ลรวมของจังหวะทั้งหมดในแตล่ ะหอ้ งตอ้ งมคี วามยาวหรือจงั หวะ
เทา่ กัน และ 1 หอ้ ง จะเรียกว่า 1 bar
Time Signature
ตอนนี้เราทราบระดับเสียงของโน้ตจาก staff (C, D, E ฯลฯ) ทราบความสั้นยาวของโน้ต
จากลักษณะของตัวโน้ต ( ตัวดำ , ตัวขาว ฯลฯ) คราวนี้มาทำความรู้จักตัวท่ีกำหนดจังหวะให้ตัวโน้ต
โดยทั่วไปอัตราส่วนของตัวโน้ตที่รู้กันรู้เพียงแค่ว่า ตัวขาวมีความยาวเป็น 1/2 ของตัวกลมแต่เป็น 2
เท่าของตัวดำ แตเ่ รายังไม่รู้วา่ ไอค้ วามยาวเสยี งนน้ั มันยาวเทา่ ไหนถึงเรยี กวา่ ครบ 1 จังหวะ ซง่ึ สง่ิ ที่จะ
กำหนดให้เราทราบค่าดังกล่าวจากเลขกำหนดจังหวะ (Time Signature) โดยจะเขียนเป็นเหมือน
ตัวเลขเศษสว่ น แตค่ วามจรงิ แล้วไม่ใชเ่ ลขเศษสว่ น เช่น
รูป 30 Time Signature
ความหมายของตัวเลขกำหนดจังหวะ
- ตัวเลขตัวบน หมายถึง จำนวนจังหวะใน 1 ห้อง( 1 bar) ว่าใน 1 ห้องดังกล่าวนั้นมีกี่จังหวะ
นบั เชน่ 2 หมายถงึ ในหอ้ งน้นั มี 2 จังหวะนับ ถา้ 3 คอื มี 3 จงั หวะนบั ใน 1 ห้อง
- ตัวเลขตัวล่าง หมายถึง การกำหนดว่าจะให้สัญลักษณ์โน้ตประเภทใดมีค่าเป็น 1 จังหวะ
เช่นเลข 4 จะหมายถึงให้โน้ตตัวดำ ( quarter note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ และมผี ลให้โน้ตตวั ขาว (half
note) มีค่าเป็น 2 จังหวะนับ โน้ตตัวกลม whole note) มีค่าเป็น 4 จังหวะนับ และโน้ตเขบ็ต 1 ช้ัน
( eighth note) มีค่า 1/2 จังหวะนับ เป็นต้น หรือถ้าเป็น 8 หมายถึงให้โน้ตเขบ็ต 1 ชั้น ( eighth
note) มีค่าเป็น 1 จังหวะ โน้ตตัวดำ ( quarter note) มีค่าเป็น 2 จังหวะ และมีผลให้โน้ตตัวขาว
( half note) มีค่าเป็น 4 จังหวะนับ โน้ตตัวกลม whole note) มีค่าเป็น 8 จังหวะนับ และโน้ต
เขบต็ 2 ช้ัน ( sixteenth note) มีค่า 1/2 จงั หวะนบั เป็นต้น
20
โนต้ ประจุด ( Dotted Note)
ในบางกรณที เี ราตอ้ งการใหค้ า่ ตวั โน้ตนนั้ มีจังหวะยาวขึ้นมาอกี คร่ึงหนง่ึ ของตวั มันเอง เราจะใช้
จุด ( dot) แทนค่าให้เพิ่มจงั หวะอีกคร่งึ นงึ ของตวั เองโดยเขยี นจุดไว้ด้านขา้ งของตัวโนต้ ที่ต้องการเพิ่ม
จังหวะ เช่น เมื่อต้องการสร้างโน้ต 3 จังหวะจากโน้ตตัวขาวที่มีค่า 2 จังหวะ(กรณีที่ time signature
เป็น 4/4 โน้ตตัวขาวมีค่า 2 จังหวะ) เราก็ประจุดโน้ตตัวขาวซึ่งมีผลให้มีจังหวะเพิ่มขึ้นครึ่งนึงของ 2
คือ 1 รวมเป็น 3 จงั หวะ หรือเท่ากับโน้ตตวั ดำ 3 ตวั หรือเม่ือให้โน้ตตวั ดำ(มคี วามยาว 1 จงั หวะ)ประ
จุดก็จะหมายถึงจังหวะจะเพ่ิมขึ้นอีกครึ่งนึงของ 1 คือ 1/2 รวมเป็น 1 1/2 หรือ 1 จังหวะครึ่งน่ันเอง
ซ่ึงมีค่าเท่ากับโน้ตเขบต็ 1 ชน้ั 3 ตัว ลองดูจากการเปรยี บเทียบข่างล่างน้ี
รปู 31 โน้ตจุด
Tied Note
สำหรับโน้ตประจุดนั้นจะใช้เพิ่มจังหวะที่อยู่ในห้องเดียวกัน แต่เมื่อต้องการให้จังหวะของโน้ต
ตัวนั้นยาวข้ามไปยังอีกห้องหรืออีก bar นึงนั้นเราจะใช้สัญลกั ษณ์ tie หรือเส้นโยงโน้ตข้ามไปอีกห้อง
โดยที่โน้ตตวั ที่อยู่ทางทา้ ยเส้นโยงน้ันไม่ต้องเล่น แตเ่ ล่นที่ตัวทางหวั เส้นโยงแล้วนับจังหวะรวมไปถึงตัว
ที่อยู่ท้ายเส้น ( ดูจากรูปนะครับแล้วลองฝึกนับในใจดู โดยอาจเคาะมือหรือเท้าเป็นจังหวะนับก็ได้)
อย่างไรก็ตาม tied note สามารถใช้ร่วมในห้องเดียวกันก็ได้ความหมายก็เช่นเดียวกันคือเล่นโน้ตตัว
แรก แล้วนบั จังหวะรวมกับโนต้ ท่อี ยทู่ ้ายเสน้ โยง
รูป 32 ตัวอย่างโน้ตจดุ
21
บรรณานุกรม
teacherpuii. (2558, ต.ค. 11 ). teacherpuii. Retrieved from teacherpuii www.sites.google.com
zazana. (2015, พ.ย. 18). zazana. Retrieved from zazana www.zazana.com
ไกรนรา, ส. (2557, ตุลาคม 1 ). sites. Retrieved from sites.google www.sites.google.com