The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ned_down, 2022-03-21 05:58:39

รายงานผลการดำเนินงาน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน

ศูนย์ดิจิทัล ชุมชน

1



คำนำ
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนโรงเรียนบ้านเนินมะปรางก่อตั้งขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนพื้นที่อำเภอ
เนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก ได้มีโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตใน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชน สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ลดความ
เหลื่อมล้ำทางด้านดิจิทัล เชื่อมโลกด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ส่งเสริมให้เกิดการ
เรยี นรู้ตามอัธยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต

ศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชนโรงเรียนบ้านเนินมะปราง

สารบัญ ข
เร่อื ง
คำนำ หน้า
สารบัญ ก
ประวตั คิ วามเปน็ มา ข
แนวทางการจัดต้ังศนู ยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน 1
สถานท่ตี ัง้ ศูนย์การเรียนรู้ 2
กิจกรรมอบรมดแู ลศูนยด์ จิ ทิ ลั ชุมชนโรงเรยี นบ้านเนินมะปราง 4
การบรกิ ารและประโยชน์ของศูนย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน 6
ภาคผนวก 7

1

ประวตั คิ วามเปน็ มา ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน

ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน โครงการสำคัญที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใช้เป็น
เครื่องมือสำคัญสำหรับการลดความเหลื่อมล้ำทางด้านดิจิทัล เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 มี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ประชาชน ชุมชนในพื้นที่ห่างไกลทั่วประเทศ ได้มีโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จาก
คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชนในชนบท และพื้นที่
หา่ งไกลด้วยการสรา้ งช่องทางการเข้าถึงขอ้ มูลข่าวสาร
แนวทางการจดั ต้ังศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ชมุ ชน / ศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน ประกอบด้วย 5 ด้าน ไดแ้ ก่

1) ความพรอ้ มของสถานท่จี ดั ตง้ั
2) ความพร้อมของเจา้ หน้าที่ใหบ้ ริการ
3) ความพร้อมเกย่ี วกบั การบรหิ ารจดั การ
4) ความพร้อมของภมู ปิ ัญญา และอาชีพในชุมชน
5) ความพร้อมของชมุ ชน

2

แนวทางการจดั ตั้งศูนยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน / ศนู ยด์ จิ ิทัลชุมชน

การจะจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนนั้น จะต้องเริ่มต้นจากความร่วมมือร่วมใจของชุมชนเป็น
สำคญั เนือ่ งจากหากมกี ารจัดตั้งศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชนแล้ว ชมุ ชนจะต้องดำเนินกิจกรรม การบริหารจัดการร่วมกัน
ให้ได้ ดังนั้นเพื่อให้การพัฒนาเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน จึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่
เกีย่ วข้องกับชุมชน เพือ่ ขบั เคลอ่ื นศูนย์ดิจิทัลชุมชนไดต้ ่อไป ซงึ่ ในเบอื้ งต้นชุมชนจะต้องจดั เตรียม และรวบรวม
ความพรอ้ มของชมุ ชน ประกอบดว้ ย 5 ด้าน ได้แก่

1) ความพร้อมของสถานที่จัดตั้ง ประกอบด้วย สถานทจ่ี ัดตัง้ (Site) จะต้องอยกู่ ลางชุมชน เพ่ือให้เกิด
รัศมีการให้บริการที่ครอบคลุมพื้นที่ สามารถเดินทางมายังศูนย์ดิจิทัลชุมชนได้สะดวก ไม่ไกลจากอาคาร
บ้านเรือน ลกั ษณะของอาคารที่เปน็ สาธารณะ มีความม่นั คง และถาวรลกั ษณะของศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน คอื ห้องท่ี
จะนำมาเป็นที่ตั้งศูนย์ดิจิทัลชุมชน มีขนาดเหมาะสมกับจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่จะติดตั้ง สำหรับพื้นท่ี
ท่ีควรจัดเตรยี มใหเ้ หมาะสมกับจำนวนเครื่องคอมพวิ เตอร์ คอื

ขนาด M 11 เครือ่ ง พื้นทท่ี เ่ี หมาะสมไม่น้อยกว่า 30 ตารางเมตร
ขนาด L 16 เครอื่ ง พ้ืนทท่ี ่เี หมาะสมไม่น้อยกวา่ 42 ตารางเมตร
ขนาด XL 21 เครอื่ ง พื้นทท่ี ่เี หมาะสมไม่น้อยกว่า 54 ตารางเมตร
การเข้าถึง (Accessibility) มีความสะดวกและเหมาะสมสำหรับผู้ใช้บริการทุกกลุ่มวัย รวมถึงผู้พิการ
และมสี ภาพแวดลอ้ มรอบขา้ งที่ดมี ีความปลอดภัย นา่ เขา้ มาใช้บรกิ าร ซึ่งสามารถปรับปรุงอาคาร หรอื สถานท่ีที่
มีอยู่ให้มีความเหมาะสมในการจัดตั้ง และให้บริการได้ เช่น การคัดเลือกห้องที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย และเก็บ
ของให้เป็นระเบียบ กั้นแยกชัดเจน เพื่อให้การเข้าใช้งานหรือการจัดกิจกรรมในศูนย์ดิจิทัลชุมชนไม่รบกวนซ่ึง
กันและกนั กบั สว่ นอ่นื ๆ

3

2) ความพร้อมของเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการ คือ เจ้าหน้าที่ที่จะให้บริการให้กับประชาชน ที่เรียกว่า
ผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ควรเป็นคนในท้องถิ่นนั้น หรือเป็นผู้ที่ยินดีและเสียสละเวลาที่จะให้ความ
ช่วยเหลอื รับผิดชอบ และบริหารจดั การศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน และควรมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ในเบ้ืองตน้ ซ่ึง
เจ้าหน้าที่ที่กำหนดไว้นั้นจะต้องเข้ารับการฝึกอบรมตามหลักศูนย์ของกระทรวง ICT เพื่อเสริมสร้างทักษะ
ความรู้การใช้เครื่องคอมพวิ เตอร์ และการบรหิ ารจัดการ

3) ความพร้อมเกี่ยวกับการบริหารจัดการ ประกอบด้วย 2 เรื่อง คือ ความพร้อมขององค์กร คือ การ
จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อร่วมกันดูแลศูนย์ โดยจัดตั้งจากตัวแทนจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อร่วมกันวางแผนการ
ให้บริการ และกจิ กรรมในรอบ 1 ปี และการบริหารจัดการจะต้องมีบุคลากรเสริม เพ่ือร่วมกับบุคลากรหลักใน
การดูแลและดำเนินงานภายในศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน

4) ความพร้อมของภูมปิ ัญญา และอาชีพในชุมชน คอื สิง่ ทีช่ มุ ชนต้องการนำเสนอ เผยแพร่ ผลิตภัณฑ์
ชุมชน โดยนำข้อมลู ด้านสินค้าเผยแพรโ่ ฆษณาผา่ นระบบอินเทอร์เนต็ หรอื เปน็ เรอ่ื งราวของเมืองและประเพณี
วัฒนธรรม ในท้องถิ่น เพื่อใช้ช่องทางการสื่อสารนี้เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ชุมชน และเกิดผลลัพธ์กลับมาใน
รูปแบบของเศรษฐกจิ ชมุ ชน

5) ความพร้อมของชุมชน หมายถึง การมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างกว้างขวาง โดยพิจารณาจาก
จำนวนคนทเ่ี ข้ารว่ ม ความหลากหลายของสายงานที่เข้ามามสี ่วนร่วม และความกระตือรือร้นของชุมชนในการ
ให้ขอ้ มลู ประกอบการพิจารณา

4

สถานที่ตง้ั ศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน เพอ่ื พ่อหลวง

ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน เพื่อพ่อหลวง โรงเรียนบ้านเนินมะปราง ที่ตั้งศูนย์เลขที่ : 9 หมู่ 2
ถนนสากเหลก็ -บา้ นมุง ตำบลเนินมะปราง อำเภอเนนิ มะปราง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก 65190 รหสั ศูนย์ : 65090602

ศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ชมุ ชน เพื่อพอ่ หลวง โรงเรยี นบา้ นเนินมะปราง กอ่ ตั้งขึ้นปี 2554 ภายใตโ้ ครงการ
จัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน เพื่อพ่อหลวง 1,000 ศูนย์ ได้รับศูนย์ชุมชนขนาดใหญ่ size L
จำนวน 15 เครือ่ ง

5

ต่อมาในปี 2563 ไดด้ ำเนินโครงการยกระดับศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ชุมชน สู่ศูนย์ดจิ ิทัลชุมชน ภายใต้ช่ือ
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนโรงเรียนบ้านเนินมะปราง ได้รับศูนย์ชุมชน size M จำนวน 12 เครื่อง ภายใต้การดูแลของ
สำนักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ กระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม

6

ศนู ย์ดจิ ิทลั ชมุ ชนโรงเรยี นบา้ นเนินมะปราง
ไดเ้ ข้าร่วมอบรมผบู้ ริหารศนู ย์ และผูด้ ูแลศนู ย์ อยา่ งตอ่ เนื่อง ดังนี้

- ปี 2557 อบรมโครงการผู้ดแู ลศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ชมุ ชนประเทศไทย จังหวัดเชยี งใหม่

- ปี 2559 อบรมโครงการสัมมนาผู้บริหารเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลชุมชนใหม่ จังหวดั ลำปาง

7
- ปี 2561 อบรมโครงการกิจกรรมพัฒนาศักยภาพศูนย์ดิจิทัลชุมชนและยกระดับศูนย์การเรียนรู้

ICT ชุมชน จงั หวัดพษิ ณุโลก

ศูนย์ดิจิทัลชุมชนโรงเรียนบ้านเนินมะปราง ได้ร่วมมือกับชุมชนเพื่อให้เข้าถึงสารสนเทศ ความรู้
บทเรยี นต่าง ๆ สรา้ งและขยายโอกาสทางการตลาดใหผ้ ู้ประกอบการชมุ ชน ในการเผยแพร่โฆษณาสินค้าชุมชน
เสรมิ สรา้ งสมรรถนะและพัฒนาบคุ ลากรท้องถ่ิน ในดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เกิดแหล่งเรียนรู้
ชุมชนก้าวทันโลก ทันต่อเหตุการณ์ ทำให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้ ICT ซึ่งศูนย์ดิจิทัลชุมชน
โรงเรยี นบ้านเนนิ มะปราง มกี ารจัดกิจกรรมดังนี้

- ปี 2555 จัดอบรมลูกเสือไซเบอร์
- ปี 2556 - 2557 การอบรมพฒั นาเครอื ข่ายการทำงานศูนย์ ICTชุมชน
- ปี 2561การอบรมใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์เพอื่ ประชาสัมพนั ธส์ นิ ค้าของชมุ ชน
- การอบรมคอมพวิ เตอรพ์ น้ื ฐานสำหรับชมุ ชน
- อบรมสื่อการเรียนรู้ MOOC ในชมุ ชน ด้านสาธารณสขุ
- ปี 2563 การอบรมทักษะดา้ นพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน
- ปี 2565 การอบรมสง่ เสรมิ ดิจิทลั ให้กับนักเรียน จากสำนกั งานสถิตจิ งั หวดั พษิ ณุโลก

8
ศูนย์ดิจิทัลชุมชนโรงเรียนบ้านเนินมะปราง อยู่ภายใต้การกำกับติดตาม ตรวจสอบครุภัณฑ์
จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ และการตรวจซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ ได้รับการสนับสนุนจากโครงการขับเคลื่อน
ศนู ย์การเรยี นร้ดู ิจิทลั ชุมชน สำนกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา โดยวิทยาลยั สารพัดช่างพิษณุโลก เป็นผู้ดูแล
รบั ผดิ ชอบ

“ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ICT ชมุ ชน” สู่ “ศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน” จากความเหล่ือมลำ้ เปน็ โอกาสและความย่งั ยืน
“ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน” โครงการสำคัญที่กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารใช้เป็น
เครื่องมือสำคัญสำหรับการลดความเหลื่อมล้ำด้านดิจิทัล เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 มีจุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ประชาชน ชุมชนในพื้นทีห่ า่ งไกลทั่วประเทศ ได้มีโอกาสในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากคอมพิวเตอร์
และอินเทอร์เน็ตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชนในชนบท และพื้นที่ห่างไกลด้วยการ
สร้างช่องทางการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ตลาด และการเชื่อมโลกด้วยอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอินเ ทอร์เน็ต
ความเร็วสูง และอินเทอร์เนต็ ผ่านดาวเทียมท่ีมีความเร็วไม่สูงนักในหลายพนื้ ท่ีเม่ือสิบปกี ่อน สง่ เสริมให้เกิดการ
เรียนรู้ตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยส่วนใหญ่ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนจะตั้งอยู่ในสถานที่ท่ี
ชุมชนสามารถเข้าถึงโดยสะดวก เช่น วัด มัสยิด ที่ทำการหมู่บ้าน สหกรณ์ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
โรงเรยี น หอ้ งสมดุ ค่ายทหาร ฯลฯ

9

ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน เป็นศูนย์กลางการให้บริการ ให้ความรู้ และพัฒนาทักษะด้าน ICT ให้คน
ในชุมชนทุกกลุ่ม เช่น ผู้นำชุมชน ผู้สูงอายุ เยาวชน กลุ่มอาชีพ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแรงงานนอกระบบ
กลุ่มคนพิการ และประชาชนทั่วไป นับเป็นเครื่องมือในการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนทุกกลุ่มให้
สามารถเข้าถึงบริการสาธารณะของรัฐได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เพื่อพัฒนาประเทศไทยให้ก้าวสู่สังคมแห่ง
ภมู ปิ ัญญาและการเรียนรู้

“จิตอาสา” คือองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดของการทำงาน จิตอาสาเป็นเครือข่ายการพัฒนาที่ทำงาน
ร่วมกบั กระทรวงมาตั้งแต่เร่ิมตน้ โครงการ จาก 40 ชีวิต และเพ่ิมจำนวนขึ้นเร่ือย ๆ ไปพรอ้ ม ๆ กับจำนวนศูนย์
ดจิ ิทลั ชมุ ชน ทข่ี ยายไปทว่ั ประเทศ เปน็ กลไกการขบั เคลื่อนนโยบายของกระทรวงในระดับพ้นื ทีก่ ารทำงานของ
จิตอาสาหลายร้อยชีวิตทำงานผ่านเครือข่ายแกนนำผู้ดูแลศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนประจำภาคร่วมกับสถิติ
จังหวดั ทำใหง้ านและนโยบายของกระทรวงส่งลงถึงพน้ื ที่ได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ ซึ่งผลที่ได้รับจาก
การทำงานร่วมมือกันคือ “มิตรภาพ” ระหว่างศูนย์ ระหว่างจังหวัด และระหว่างภาคเป็นสายใยเชื่อมโยง
ระหวา่ งจติ อาสาให้ยังทำงานเพื่อชุมชนอยา่ งมีความสุขผูกพัน และศรทั ธาในงาน

หนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ ICT
ชุมชน ไปแล้ว 2,281 แห่ง สรา้ งบุคลากร และจติ อาสาไปมากกว่า 2,000 คน ที่มุ่งม่นั ทุ่มเททำงานร่วมกันเพ่ือ
สร้างผลงานใหเ้ ป็นทป่ี ระจกั ษ์ และเปน็ ทยี่ อมรบั ทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สร้างความเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
ให้กับชีวิตของใครหลาย ๆ คน เช่น ผู้ดูแลศูนย์ดิจิทัลชมุ ชน ได้รับการเลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ประกอบการชุมชน
เป็นผู้ประกอบการลำดับต้น ๆ ของจังหวัด หรือแม้แต่ได้รับรางวัลระดับ Asia-Pacific ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็น
ผลพวงของการเปดิ รบั ICT เขา้ มาใช้ชวี ิตและสรา้ งโอกาสจากการเชอ่ื มต่อกับโลก

ทศวรรษที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่า ชาวบ้านในเขตบริการศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน สามารถใช้ ICT ให้
เกิดประโยชน์ต่อตนเองและชุมชน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ทั้งหมดเปลี่ยนจากการเชื่อมต่อด้วยสายทองแดงหรือ
ดาวเทยี ม ไปเป็นการเชือ่ มต่อดว้ ยไฟเบอร์ออพติคท่ีมีเสถยี รภาพ คา่ ใช้จา่ ยด้านอนิ เทอรเ์ น็ตและอุปกรณ์ดิจิทัล
ปรับลดราคาลง ส่งผลให้ประชาชนเป็นเจ้าของอุปกรณ์ดิจิทัล เช่น สมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตมากขึ้น รวมทั้ง
สามารถเชื่อมต่อโลกง่ายขึ้นผ่านโครงข่าย 3G หรือ 4G ความเหลื่อมล้ำด้านดิจิทัลที่กระทรวงพยายาม
ดำเนินการจงึ ลดลงอยา่ งเหน็ ได้ชัด

คณะรัฐมนตรีภายใต้การบริหารราชาการแผ่นดินของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา มีนโยบายเพ่ิม
ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยการส่งเสริมภาคเศรษฐกิจดิจิทัล และวางรากฐานเศรษฐกิจดิจิทัลให้
ขับเคลื่อนอย่างจริงจัง เพื่อให้ทุกภาคเศรษฐกิจก้าวหน้าทันโลกและสามารถแข่งขันในโลกสมัยใหม่จึง
ปรบั เปลย่ี นบทบาทของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารให้เปน็ หน่วยงานหลกั ของการขบั เคล่ือน
ประเทศดว้ ยนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล และได้ปรับเปล่ียนเป็น “กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคม” จึงถึง

10

เวลาที่ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชมุ ชนตอ้ งปรับเปล่ียนบทบาทให้เป็นไปตามภารกิจกระทรวงท่ีเกดิ ข้ึนใหม่ จากการ
“สร้างโอกาส” มาเป็น “การเพิ่มคุณค่า” ” เพื่อการขับเคลื่อนสังคมและเศรษฐกิจดิจิทัลระดับชุมชนในช่ือ
“ศูนย์ดิจิทัลชุมชน” ทำงานบนแนวคิดการบูรณการร่วมกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่าง
ประชาชนกบั รัฐเปน็ ช่องทางการรับบรกิ ารอิเล็กทรอนกิ ส์ การเรียนรู้ตลอดชวี ิตผ่านสอื่ ต่าง ๆ เชน่ โทรทศั น์เพื่อ
การเรียนรผู้ า่ นดาวเทยี ม Video on Demand และ MOOC1 และการให้ความรดู้ า้ นการทำธรุ กจิ และประกอบ
อาชีพผ่านระบบออนไลน์ ดังนั้นบทบาทสำคัญของศูนย์ดิจิทัลชุมชนจึงเป็นพื้นที่ในการทำกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมของชุมชน โดยเน้นให้บริการและแนะนำการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการดำรง
ชีวิตประจำวันและการประกอบอาชีพ การทำงานเชิงรุกด้วยกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อสร้างความแข็งแรงของ
ประชาชน การเพ่ิมรายได้ผ่านเทคโนโลยดี ิจิทัล เช่น การขายสนิ คา้ ออนไลน์ ประชาสมั พนั ธก์ ารทอ่ งเทยี่ วชมุ ชน
การรับงานไปทำที่บ้าน รวมถึงการสร้างงานลักษณะใหม่ ๆ ผ่านช่องทางดิจิทัล ฯลฯ ในปี 2559 กระทรวง
ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้ทำการพัฒนาบุคลากรศูนย์ดิจิทัลชุมชนทุกระดับ เพื่อปรับบทบาทจากศูนย์
การเรียนรู้ ICT ชุมชนไปสู่ศูนย์ดิจิทัลชุมชน และได้สร้างเครือข่ายการทำงานร่วมกับสำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) และร่วมกันจัดตั้งศูนย์ดิจิทัลชุมชน กศน.ตำบล ครบ
ทกุ ตำบลของประเทศ โดยสำนักงาน กศน. สนับสนุนสถานที่ เครอื่ งมือ และบคุ ลากร ในขณะทกี่ ระทรวงดิจิทัล
เพื่อเศรษฐกิจและสังคมสนับสนุนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง และงบประมาณการพัฒนาบุคลากรและ
จัดกิจกรรมการเรียนรูแ้ ละการค้าขายออนไลน์ โดยมีผู้ได้รับประโยชน์มากกว่า 400,000 คน ผ่าน ครู ก ครู ข
ครู ค และวิทยากรชุมชนกว่า 10,000 คน ขยายขอบเขตการทำงานไปยังระดับหมู่บ้านผ่านโครงการ
“เน็ตประชารัฐ” และยังเดินหน้าสร้างเครือข่ายพัฒนาศูนย์ดิจิทัลชุมชนร่วมกับพันธมิตรต่อไป เพื่อให้
ประชาชนไทยมากกว่าร้อยละ 90 สามารถใช้ดิจทิ ัลได้อยา่ งสรา้ งสรรค์และปลอดภัยตามแผนการพัฒนาดิจิทัล
เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คม และใหแ้ นใ่ จว่าไม่มใี ครถูกทง้ิ ไวข้ ้างหลัง

11

บริการและประโยชนข์ องศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชุมชน / ศูนยด์ ิจิทัลชุมชน
1) เป็นเครอื่ งมือในการเขา้ ถงึ สารสนเทศ ความรู้ บทเรียนตา่ ง ๆ ให้กบั ประชาชนทกุ กลุม่ วัย
2) สร้างและขยายโอกาสทางการตลาดให้ผู้ประกอบการชุมชน ในการเผยแพร่ โฆษณาสินค้าชุมชน
เกดิ ช่องทางตดิ ต่อสือ่ สารระหวา่ งผคู้ า้ ศึกษาแหล่งวตั ถุดบิ ด้วยระบบ ICT
3) เสริมสร้างสมรรถนะและพัฒนาบุคลากรท้องถ่ิน ในดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สาร
4) สร้างช่องทางการสื่อสารแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์การการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ระหว่าง
ชมุ ชนท่วั ประเทศ
5) พัฒนา รวบรวม จัดเกบ็ และเผยแพร่องค์ความรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ การอนุรักษว์ ัฒนธรรม ประเพณี
ผา่ นส่ือ ICT
6) เกิดแหล่งเรียนรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของชุมชนทำให้ประชาชนมีความรู้
ความเขา้ ใจในการใช้ ICT
7) ประชาชนสามารถใช้ ICT เปน็ เคร่ืองมอื ในการสง่ เสรมิ รายได้ของชุมชน
8) เกดิ สงั คม ICT ท่มี ีคอมพิวเตอรเ์ ป็นสอื่ กลางในการลดช่องว่างระหว่างวยั ของคนในชมุ ชน
9) เปน็ แหลง่ ข้อมลู ท่ที ำใหช้ ุมชนทันต่อเหตุการณ์ เกดิ การเรยี นรูไ้ ดก้ ้าวทันโลก

12

ภาคผนวก

13

แบบการรายงานการประชมุ อบรม สัมมนา

เร่อื งการอบรมผ้ดู แู ลศนู ยก์ ารเรียนรู้ ICT ชุมชนประเทศไทย ปงี บประมาณ พ.ศ.
2557

3-8 สิงหาคม 2557
ณ โรงแรมเชียงใหม่ ออรค์ ิด

นางสาวจุฑาทิพย์ ชนะเคน
ครผู ชู้ ว่ ยโรงเรยี นบ้านเนนิ มะปราง
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาพิษณโุ ลก เขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

14

ลงทะเบียน ทำบตั รประจำตัว และรว่ มพิธเี ปดิ การอบรมเครอื ขา่ ย ICT

15

แลกเปล่ียนเรยี นรู้ปญั หาเกีย่ วกบั เครือขา่ ย ICT ชมุ ชนแตล่ ะหน่วยงาน

16

เรียนร้เู รอื่ งการซอ่ มบำรุงระบบคอมพิวเตอร์

17

แยกกลมุ่ เรยี นร้กู ารดแู ลระบบต่างๆของ ICT ชมุ ชนในแตล่ ะฐาน

18

ร่วมกจิ กรรมสมั พนั ธข์ องผ้ดู แู ลระบบเครอื ขา่ ย ICT ชุมชมุ

19

รบั มอบเกยี รติบัตร และปดิ การอบรมเครอื ขา่ ย ICT ชมุ ชน

20

แบบการรายงานการประชุม อบรม สมั มนา

เรอ่ื งโครงการสมั มนาผู้บริหารเทคโนโลยีดิจทิ ลั ชมุ ชนใหม่
วนั ที่ 5-8 กนั ยายน 2559
ณ โรงแรมบุษยน์ ้ำทอง

นางสาวจุฑาทิพย์ ชนะเคน
ครโู รงเรยี นบ้านเนินมะปราง

สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาพิษณุโลก เขต 2
สำนักงำนคณะกรรมกำรสถำนศึกษำข้นั พื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

21

ลงทะเบยี น และรายงานตวั พิธเี ปิดและแนะนำโครงการ
โดย ผู้วา่ ราชการจังหวดั ลำปาง

22

ศกึ ษาดงู าน ณ สำนกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

23

แนะนำการใชง้ านสือ่ ดจิ ิทลั ( Social Media )

24

นำเสนอผลงานแตล่ ะกลุ่ม /ตอบขอ้ ซักถามกจิ กรรมการดำเนนิ งาน

25

กจิ กรรมกลมุ่ เสริมความสมั พนั ธ์

26

งานเลยี้ งรบั รองเพือ่ หารือแนวทางการดำเนนิ งาน

27

ปดิ การประชมุ และรับวุฒิบตั ร

28

การดแู ลตรวจเช็คคอมพิวเตอรจ์ ากสารพัดชา่ ง จงั หวัดพษิ ณโุ ลก
โดยศนู ย์ ICT ร่วมกับอาชวี ะ

29

แบบการรายงานการประชุม อบรม สัมมนา

เรือ่ งกิจกรรมพัฒนาศักยภาพศูนย์ดิจทิ ัลชุมชนและยกระดบั ศนู ยก์ ารเรียนรู้ ICT
ชมุ ชน

วนั ที่ 6-10 สงิ หาคม 2561
ณ โรงแรมอมรนิ ทรล์ ากลู

นำงสำวจุฑำทิพย์ ชนะเคน
ครูโรงเรียนบ้ำนเนินมะปรำง
สำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำประถมศึกษำพษิ ณโุ ลก เขต 2
สำนักงำนคณะกรรมกำรสถำนศึกษำข้นั พื้นฐำน กระทรวงศึกษำ

30

ลงทะเบยี น และรายงานตัว

31

การดำเนินงานศนู ยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชนหรอื ศูนยก์ ารเรียนรู้ไอซที ี

32

การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือพฒั นาการค้าในยุค 4.0 โดยบริษทั ไมโครซอฟต์

33

รบั มอบเกียรติบัตร และปดิ การอบรมพัฒนาศกั ยภาพศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชนและ
ยกระดับศนู ย์การเรยี นรู้ ICT ชมุ ชน

34


Click to View FlipBook Version