The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pchburi.nso, 2021-05-05 02:06:22

รายงานการสำรวจภาวะการทำงานของประชากรจังหวัดปราจีนบุรี

ไตรมาสที่ 2 : เมษายน - มิถุนายน 2563

ISSN 1685-1641

การสารวจภาวะการทางานของประชากร

จงั หวัดปราจนี บรุ ี
ไตรมาสท่ี 2 : เมษายน – มถิ ุนายน 2563

สานกั งานสถิติจังหวัดปราจีนบรุ ี
สานักงานสถติ แิ หง่ ชาติ
กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คม

หนว่ ยงานเจ้าของเรอ่ื ง สำนักงานสถิติจงั หวัดปราจีนบุรี
ศาลากลางจงั หวัดปราจีนบุรี ช้ัน 1

อำเภอเมืองปราจนี บุรี จงั หวดั ปราจีนบรุ ี 25230
โทรศพั ท์ 0 3745 4060
โทรสาร 0 3745 4061

ไปรษณีย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

หน่วยงานทเี่ ผยแพร่ กองสถิตพิ ยากรณ์

สำนักงานสถติ แิ หง่ ชาติ
ศนู ย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภกั ดี ชนั้ 2

ถนนแจ้งวัฒนะ เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ 10210
โทรศพั ท์ 0 2141 7496
โทรสาร 0 2143 8132

ไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ : [email protected]

ปที ี่จัดพิมพ์ พ.ศ. 2564
จดั พมิ พ์โดย สำนักงานสถิติจงั หวัดปราจีนบุรี

คำนำ

จากวสิ ยั ทศั น์ของสำนักงานสถิตแิ ห่งชาติ “สังคมทกุ ภาคสว่ นใช้สถติ ิ และสารสนเทศเป็นเข็มทิศนำทาง
ในการพัฒนา เพื่อประโยชน์ของประชาชน และประเทศชาติ” และมีพันธกิจในการให้บริการข้อมูลสถิติและ
สารสนเทศ แก่ผู้ใช้บริการทุกภาคส่วน ดังน้ัน เพ่ือให้บังเกิดผลอย่างแท้จริงในทางปฏิบัติ จำเป็นต้องให้
ความสำคัญกับการเผยแพรข่ ้อมูลสถิตแิ ละสารสนเทศให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในทุกภาคสว่ นทง้ั หน่วยงานภาครัฐ
เอกชน สถาบนั การศกึ ษา และประชาชนท่วั ไป

สำนักงานสถิติจังหวัดปราจีนบุรี ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักด้านสถิติของจังหวัด จึงได้จัดทำสรุปผลการ
สำรวจภาวะการทำงานของประชากรเป็นประจำทกุ 3 เดอื น โดยมวี ตั ถุประสงค์เพอื่ ให้ทราบถงึ ภาวะการทำงาน
และการว่างงานของประชากรในจงั หวัดปราจีนบรุ ี สำหรับรายงานฉบับน้เี ป็นการเสนอผลการสำรวจภาวะการ
ทำงานของประชากร ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563 (ดำเนนิ การสำรวจระหวา่ งเดือน เมษายน – มถิ ุนายน)

สำนักงานสถิติจังหวัดปราจีนบรุ ี ยินดีรับคำแนะนำและขอ้ คดิ เห็นจากผู้ใชข้ ้อมลู สถติ ิ ซง่ึ จะเป็นประโยชน์
อย่างย่ิงในการพฒั นาและปรบั ปรงุ รายงานผลการสำรวจตอ่ ไป ทัง้ น้ีหากสนใจขอ้ มลู ของจังหวดั เพม่ิ เติมสามารถ
เข้าไปค้นหาได้ท่ี http://www.nso.go.th ศนู ยข์ ้อมูลสถติ ิจงั หวดั

สำนักงานสถิติจงั หวดั ปราจนี บรุ ี

บทสรปุ สำหรับผู้บรหิ าร

ภาวะการทำงานของประชากรไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

แผนผังการจำแนกประชากรตามสถานภาพแรงงาน สำนักงานสถิติจังหวัดปราจีนบุรีได้ทำการสำรวจ
การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ภาวะการทำงานของประชากร ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2563
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2563 เพื่อให้ทราบถึงภาวะการทำงาน และการว่างงานของ

ผ้ทู ม่ี ีอายุ 15 ปขี ึน้ ไป ประชากรซึ่งสรุปได้ดังนี้ จากจำนวนผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปี
526,394 คน ข้ึนไป 526,394 คน เป็นผ้อู ยู่ในกำลังแรงงาน 359,975 คน
(ประกอบด้วย ผู้มีงานทำ 352,592คน ผู้ว่างงาน 6,964 คน
ผู้อย่ใู นกำลังแรงงาน ผอู้ ยู่นอกกำลังแรงงาน
( ผ้พู ร้อมทำงาน ) ( ผูไ้ มพ่ ร้อมทำงาน ) ผู้รอฤดู กาล 419 คน) แล ะ ผู้ อยู่ น อก ก ำลั งแรงงาน
359,975 คน 166,419 คน (ประกอบด้วยผู้ทำงานบ้าน 61,288 คน
166,419 คน เรียนหนังสือ 31,834 คน และอื่นๆ เช่น ชรา พิการ

จนทำงานไม่ได้ 73,297 คน)

ผู้มีงานทำ 352,592 คน ทำงานบา้ น 61,288 คน
ผู้วา่ งงาน 6,964 คน เรยี นหนงั สอื 31,834 คน

ผรู้ อฤดกู าล 419 คน อ่นื ๆ 73,297 คน

แผนภมู ิ ปรี บ ที บจานวนผูม้ งี านทา จาแนกตามอตุ สาหกรรมทส่ี า ั เมอ่ื เปรียบเทยี บจำนวนผมู้ งี านทำตามอุตสาหกรรม
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ.2 2 - พ.ศ.2 3
ทส่ี ำคัญไตรมาสที่ 2 ของปี 2562 กบั 2563 พบว่า ผู้มงี านทำ
จานวน(พนั คน) ในภาคเกษตรกรรม มีผู้ทำงาน ลดลง 3.1 พั นคน
(จาก 77.5 พันคน เป็น 74.4 พันคน) ส่วน ผู้มีงานทำ
160 137.8 133.3 ป2ี 562
140 ป2ี 563 นอกภาคเกษตรกรรม เพ่ิมขึ้นใน สาขาการขนส่ง
สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม เพิ่มข้ึน 4.4 พันคน
120 (จาก 3.3 พนั คน เปน็ 7.7 พันคน) สาขาอื่น ๆ เพิ่มขนึ้ 1.1

100 77.5 74.4 พั น ค น (จ า ก 5 4 .4 พั น ค น เป็ น 5 5 .5 พั น ค น )
80 เชน่ การบรหิ ารราชการและการป้องกันประเทศ งานด้าน
62.3 54.4 55.5 สขุ ภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ การบริการส่วนบุคคล
60 50.6
อ่ืน ๆ เป็ น ต้ น ส าขาก ารผ ลิ ต ล ด ล ง 4.5 พั น ค น
40 26.9 22.4 13.2 (จาก 137.8 พันคน เป็น 133.3 พันคน) สาขาการก่อสร้าง
7.7 17.9 ลดลง 9.2 พันคน (จาก 22.4 พันคน เป็น 13.2 พันคน) สาขา
20 3.3
การขายส่ง/ขายปลีก การซ่อมแซมยานยนต์ฯ ลดลง
0 อตุ สาหกรรม 11.7 พันคน (จาก 62.3 พันคน เป็น 50.6 พันคน)
และสาขาการโรงแรม และอาหาร ลดลง 9.0 พันคน

(จาก 26.9 พนั คน เปน็ 17.9 พนั คน)

vi

เมื่อเทียบจำนวนผู้มีงานทำตามอาชีพที่สำคัญ
ไต ร ม า ส ท่ี 2 ข อ ง ปี 2 5 6 2 กั บ 2 5 6 3 พ บ ว่ า
ผู้ประกอบ อาชีพ ในภาคเกษตรมีจำนวน ลดลง
โด ย ผู้ ป ฏิ บั ติ ง าน ที่ มี ฝี มื อ ใน ด้ า น ก า ร เก ษ ต ร
และการประมงลดลง 4.3 พันคน (จาก 66.2 พันคน
เป็น 61.9 พันคน) ส่วนที่ประกอบอาชีพนอกภาคเกษตร
ล ด ล ง โด ย ผู้ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ผู้ ป ฏิ บั ติ ก า ร โร ง ง า น
และเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ
ลดลง 0.9 พันคน (จาก 70.0 พันคน เปน็ 69.1 พนั คน)
ผู้ ที่ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ พ นั ก ง า น บ ริ ก า ร แ ล ะ พ นั ก ง า น
ในร้านค้าและตลาดลดลง 14.7 พันคน (จาก 78.7 พันคน
เป็น 64.0 พันคน) ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถ
ทางฝีมือและธุรกจิ อื่น ๆ ที่เก่ียวข้อง ลดลง 13.6 พันคน
(จาก 70.5 พันคน เป็น 56.9 พันคน) อาชีพขั้นพื้นฐาน
ตา่ งๆ ในด้านการขายและการใหบ้ รกิ ารลดลง 8.0 พันคน
(จาก 46.3 พันคน เป็น 38.3 พันคน) และผู้ที่
ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ อื่ น ๆ เพ่ิ ม ข้ึ น 9.6 พั น คน
(จาก 52.8 พันคน เป็น 62.4 พันคน) เช่น ผู้ประกอบ
วชิ าชพี ด้านเทคนิคสาขาต่างๆ

แผนภูมิ 3 เปรยี บเทยี บจำนวนผู้มงี านทำ จำแนกตามระดับการศกึ ษาที่สำเร็จ เมื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้มีงานทำตามระดับ
ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2563 การศึกษาท่สี ำเร็จในไตรมาสท่ี 2 ของปี 2562 กับ 2563

จำนวน(พนั คน) พบว่า ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย มีจำนวน
คนทำงาน เพิ่มขึ้น 2.0 พันคน (จาก (จาก 78.2 พันคน
เป็น 80.2 พันคน) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับไม่มี

การศึกษาและต่ำกว่าประถมศึกษา ลดลง 14.9 พันคน
(67.6 พันคน เป็น 52.7 พันคน) ผู้มีงานทำที่สำเร็จ
การศึก ษาร ะ ดับ ประถมศึกษามีจำนวนคนทำงาน

ลดลง 4.2 พันคน (จาก 69.9 พันคน เป็น 65.7 พันคน)
ผู ้ที ่ส ำ เ ร ็จ ก า ร ศ ึก ษ า ร ะ ด ับ ม ัธ ย ม ศ ึก ษ า ต อ น ต ้น
มีจำนวนคนทำงานลดลง 15.8 พันคน (จาก 88.2 พนั คน

เป็น 72.4 พันคน) ผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับมัธยม
ปลายมีจำน วนคน ทำงาน ลดลง 3.1 พัน คน
(จาก 79.9 พันคน เป็น 76.8)

vii

เม่ือเปรยี บเทยี บจำนวนผู้มงี านทำจำแนกตาม
สถานภาพการทำงานในไตรมาสท่ี 2 ของปี 2562
กับ 2563 พบว่าผู้ที่มีสถานภาพการทำงานลูกจ้าง
เอกชน ลดลง 17.6 พันคน (จาก 196.1 พันคน
เป็ น 178.5 พั น คน ) ผู้ มี งาน ท ำที่ มี สถาน ภาพ
การทำงานช่วยธุรกิจครัวเรือน ลดลง 8.0 พันคน
(จาก 40.0 พันคน เป็น 31.2 พันคน) ผู้มีสถานภาพ
การทำงานสว่ นตวั ลดลง 6.0 พันคน (จาก 84.5 พนั คน
เป็น 78.5 พันคน) มีงานทำสถานภาพลูกจ้างรัฐบาล
เพิ่มข้ึน 3.2 พันคน (จาก 28.1 พันคน เป็น 31.3 พันคน)
และผู้ท่ี มีสถานภาพการทำงานนายจ้างมีจำนวน
ลดลง 2.6 พนั คน (จาก 35.7 พันคน เป็น 33.1 พนั คน)

- สำหรับจำนวนผู้ว่างงานในไตรมาสที่ 2
พ.ศ.2563 มีจำนวน 6,964 คน หรือคิดเป็นอัตรา
4.55 0.6 21.4.5 การว่างงาน ร้อยละ 1.9 ของกำลังแรงงานรวม
3.544 เม่ือเทียบกับปี 2562 มีจำนวนผู้วา่ งงานเพ่ิมข้ึน 5,501 คน
33 11..98 0.4 1.3 1.4 หญิง (จาก 1,463 เป็น 6,694 คน) และเมื่อเปรียบเทียบ
2.52 0.6 อัตราการว่างงานระหว่างเพศชายและเพศหญงิ พบว่า
01..44 0.7 ชาย เพศชายมีจำนวนผู้ว่างงานเพิ่มขึ้นจำนวน 3,299 คน
2 (จาก 1,463 คน เป็น 4,762 คน) หรือคิดเป็นอัตรา
1.3 1.1 1.41.3 0 รวม การว่างงาน ร้อยละ 2.4 ของกำลังแรงงานรวม
1.51 0.7 0.4 เพศหญิงมีจำนวนผู้ว่างงานเพิ่มข้ึน จำนวนทั้งสิ้น
10 0.7 หญิง 2,202 คน
0.5 0.6 รวม 0.8 ชาย 0.4 0ป2ี 563
0 2558 ป25ี2559612560 256ป1ี25265262

หมายเหตุ : อตั ราการวา่ งงาน = ผู้ว่างงาน x 100
กำลังแรงงานรวม

สารบญั หนา้
iii
คำนำ v
บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ix
สารบญั ตาราง 1
บทท่ี 1 บทนำ 1
2
1. ความเปน็ มาและวตั ถุประสงค์ 2
2. คุ้มรวม 2
3. สปั ดาหแ์ ห่งการสำรวจ 7
4. คำอธิบายศพั ท์ แนวคิด คำจำกดั ความ 7
บทที่ 2 สรุปผลการสำรวจ 8
1. ลกั ษณะของกำลงั แรงงาน 8
2. กำลงั แรงงานทเ่ี ปน็ ผมู้ งี านทำ 9
10
2.1 อาชพี 10
2.2 อุตสาหกรรม 11
2.3 สถานภาพการทำงาน 13
3. ช่วั โมงการทำงาน 15
4. การวา่ งงาน 19
ภาคผนวก 21
ภาคผนวก ก. ระเบยี บวิธี 31
ภาคผนวก ข ตารางสถิติ
ตารางสถติ ิ
ตารางเปรียบเทียบข้อมลู ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

สารบญั ตาราง

หนา้

ตารางท่ี 1 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปี ข้นึ ไปจำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 7

จงั หวัดปราจนี บรุ ี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

ตารางท่ี 2 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามอาชีพและเพศ 8

จังหวัดปราจนี บรุ ี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2563

ตารางที่ 3 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ 9

จังหวัดปราจนี บรุ ี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

ตารางที่ 4 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ 10

จังหวดั ปราจนี บรุ ี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2563

ตารางที่ 5 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ ีงานทำ จำแนกตามชวั่ โมงทำงานต่อสปั ดาหแ์ ละเพศ 11

จังหวดั ปราจนี บรุ ี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2563

ตารางที่ 6 จำนวนและอตั ราการวา่ งงาน จำแนกตามเพศ 11

จงั หวดั ปราจีนบรุ ี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

บทที่ 1
บทนำ

1. ความเปน็ มาและวัตถปุ ระสงค์ หลงั จากเกิดภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจกลาง
ปี 2540 ความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อการวางแผน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ทำการสำรวจ และกำหนดนโยบายด้านแรงงานมีมากขึ้นและ
ภาวะการทำงานของประชากรทั่วประเทศอย่าง เรง่ ดว่ นข้นึ ในปี พ.ศ. 2544 จงึ ไดเ้ ร่มิ ดำเนนิ การ
ต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี เร่ิมตั้งแต่ปี พ.ศ.2506 สำรวจเปน็ รายเดือนแล้วนำข้อมูล 3 เดือนรวมกัน
โดยในช่วงแรกทำการสำรวจปีละ 2 รอบ และใน เพือ่ เสนอขอ้ มลู เปน็ รายไตรมาส โดยข้อมูลท่สี ำคัญ
พ .ศ .2527 ถึ ง พ .ศ.2540 ได้ ท ำ ก าร ส ำร วจ สามารถนำเสนอในระดบั จงั หวัด สำหรับข้อมลู ของ
ปีละ3 รอบ โดยรอบท่ี 1 ทำการสำรวจในเดือน เดือนที่ตรงกับรอบการสำรวจเดิม คือข้อมลู เดือน
กุมภาพันธ์ เป็นช่วงหน้าแล้งนอกฤดูการเกษตร กุมภาพันธ์ พฤษภาคม และ สิงหาคม ได้จัดทำ
รอบท่ี 2 สำรวจในเดือนพฤษภาคม เป็นช่วงที่ สรุปผลการสำรวจเฉพาะข้อมูลที่สำคัญ เพ่ือ
กำลังแรงงานใหม่ท่ีเพิ่งสำเร็จการศึกษาเริ่มเข้าสู่ สามารถเปรียบเทียบกับข้อมูลแต่ละรอบของปีที่
ตลาดแรงงาน รอบท่ี 3 สำรวจในเดือนสิงหาคม ผ่านมาได้ และการสำรวจต้ังแต่เดือนกันยายน
เป็นช่วงฤดูการเกษตร และต่อมาใน พ.ศ. 2541 พ.ศ.2544 เป็นต้นมา สามารถนำเสนอผลของการ
เป็นต้นมา ได้เพ่ิมการสำรวจอีก 1 รอบ รวมเป็น สำรวจเป็นรายเดือน ทุกเดือนโดยสามารถเสนอ
4 รอบ โดยทำการสำรวจในเดือนพฤศจิกายนของ ผลในระดับภาคเท่านั้นเน่ืองจากตัวอย่างไม่มาก
ทุกปี ซ่ึงเป็นช่วงฤดูการเก็บเก่ียวผลผลิตทาง พอที่จะนำเสนอในระดับย่อยกว่าน้ี แล ะใน
การเกษตร ทั้งนี้เพื่อเป็นการนำเสนอข้อมูลท่ี ขณะเดียวกัน ได้มีการปรับอายุผู้อยู่ในกำลัง
สะท้อนถึงภาวะการมีงานทำ การว่างงานและการ แรงงานจาก 13 ปีขึ้นไปเป็น 15 ปีข้ึนไป เพ่ือให้
ประกอบกิจกรรมต่างๆ ของประชากรท้ังประเทศ สอดคล้องกับกฎหมายการใช้แรงงานเด็ก ปรับปรุงการ
เปน็ รายไตรมาสและตอ่ เนอ่ื งครบทกุ ชว่ งเวลาของปี จัดจำแนกประเภทของอาชีพอุตสาหกรรมและ
ส ถ า น ภ า พ ก า ร ท ำ ง า น ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ
เนื่ อ ง จ า ก ค ว า ม จ ำ เป็ น ต้ อ ง ก า ร ใช้ ข้ อ มู ล มาตรฐาน สากลใน ปั จจุบัน เพื่ อให้ สามารถ
เพ่อื ใชใ้ นการวางแผนและกำหนดนโยบายในระดับ เปรยี บเทียบขอ้ มลู กนั ได้ ปรบั เขตการปกครองจาก
จังหวัดมีมากขึ้น สำนักงานสถิติแห่งชาติจึงได้ เดิ ม เข ต สุ ข า ภิ บ า ล ถู ก น ำ เส น อ ร ว ม เป็ น
ก ำ ห น ด ข น า ด ตั ว อ ย่ า ง เ พิ่ ม ข้ึ น โด ย เ ริ่ ม ต้ั ง แ ต่ นอกเขตเทศบาล มารวมเป็นในเขตเทศบาล
พ.ศ. 2537 ท้ังนี้เพื่อให้สามารถนำเสนอข้อมูลใน เน่ืองจากพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของ
ระดับจังหวัดได้ โดยเสนอเฉพาะรอบการสำรวจ สุขาภิบาลเปน็ เทศบาล พ.ศ. 2542
ของเดือนกุมภาพันธ์และเดือนสิงหาคมเท่าน้ัน
การสำรวจรอบท่ี 4 ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2541 วัต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ท่ี ส ำคั ญ ข อ ง ก าร ส ำ ร ว จ
ซ่ึงจัดทำเป็นคร้งั แรกไดเ้ สนอผลในระดบั จงั หวดั ด้วยและ ภ า ว ะ ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร เพ่ื อ ป ร ะ ม า ณ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542เป็น ต้น ม า ผลการสำรวจ จ ำน ว น แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ก ำ ลั ง แ ร ง ง า น
ทั้ง 4 รอบไดเ้ สนอผลในระดบั จังหวดั ภายในประเทศและใน

2 ความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล และสอดคล้องกับ
ม า ต ร ฐ า น ส า ก ล ข อ ง อ ง ค์ ก า ร แ ร ง ง า น ร ะ ห ว่ า ง
จังหวัดต่าง ๆ ในแต่ละไตรมาสของข้อมลู สถิติท่ีได้ ประเทศ (ILO) กับองค์การสหประชาชาติ (UN)
จากการสำรวจ แนวคิดและคำนิยามท่ีใช้ในการสำรวจไตรมาสน้ี
ได้ เร่ิ ม ใช้ ม า ต้ั งแ ต่ ร อ บ ท่ี 1 พ .ศ . 2526 มี
1. จ ำ น วน ป ร ะ ช า ก ร ใน วั ย ท ำ ง า น การปรับปรุงบ้างตามลำดับ และตั้งแต่ไตรมาส
(อ ายุ 15 ปี ข้ึ น ไป ) แ ล ะ จ ำ น วน ป ร ะ ช าก ร ที่ 1 พ.ศ. 2544 ได้กำหนดอายขุ ั้นต่ำของประชากร
นอกวัยทำงานจำแนก ตามเพศ วยั ทำงานเปน็ 15 ปี

2. จำนวนประชากรในวัยทำงาน จำแนก นิยามทีส่ ำคญั ๆ ที่ใช้ในการสำรวจ มีดงั น้ี
ตามสถานภาพแรงงาน อายุ เพศสถานภาพ
สมรสการศึกษาที่สำเร็จ ผู้มงี านทำ
ผมู้ งี านทำ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้น
3. จำนวนผู้มงี านทำ จำแนกตามลักษณะ
ที่น่าสนใจ เช่น อายุ เพศ การศึกษาที่สำเร็จ ไป และในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีลักษณะอย่าง
อาชีพ อุตสาหกรรม สถานภาพการทำงาน ช่ัวโมง หนึ่ง อย่างใด ดงั ต่อไปนี้
ทำงาน ค่าจ้าง เงินเดือน และผลประโยชน์อ่ืน ๆ
ทีไ่ ดร้ ับจากการทำงาน 1. ได้ทำงานต้ังแต่ 1 ชั่วโมงขึ้นไป โดย
ได้รับค่าจ้าง เงินเดือน ผลกำไร เงินปัน ผล
4. จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามลักษณะ ค่าตอบแทนท่ีมีลักษณะอย่างอื่นสำหรับผลงาน
บางประการที่น่าสนใจ เช่น ระยะเวลาในการหางาน ท่ที ำเปน็ เงินสด หรือสง่ิ ของ
ทำ งานท่ีทำครั้งสุดท้าย สาเหตุการว่างงาน
เป็นตน้ 2. ไม่ได้ทำงาน หรือทำงานน้อยกว่า
1 ชว่ั โมง แต่เป็นบคุ คลที่มลี ักษณะอย่างหนึ่งอย่าง
2. คมุ้ รวม ใด ดังต่อไปนี้ (ซึ่งจะถือว่าเป็น ผู้ท่ีปกติมีงาน
ประจำ)
ป ร ะ ช า ก ร ที่ อ า ศั ย อ ยู่ ใน ค รั ว เรื อ น ส่ ว น
บุคคลและครวั เรือนกลุ่มบุคคลประเภทคนงาน 2.1 ยังได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง
หรือผลประโยชน์อื่นๆ หรือผลกำไรจากงานหรือ
3. สปั ดาห์แหง่ การสำรวจ ธรุ กจิ ในระหวา่ งทีไ่ มไ่ ดท้ ำงาน

หมายถึง ระยะเวลา 7 วนั นบั จากวันก่อน 2.2 ไม่ได้รับค่าตอบแทน ค่าจ้าง
วันสัมภาษณ์ย้อนหลังไป 7 วัน เช่น วันสัมภาษณ์ หรือผลประโยชน์อื่น ๆ หรือผลกำไรจากงานหรือ
คือวนั ท่ี 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 “ระหวา่ ง 7 วัน ธุรกิจใน ระหว่างที่ไม่ได้ทำงาน แต่ยังมีงานหรือ
ก่อนวัน สัมภาษณ์ ” คือ ระหว่างวันท่ี 2 ถึง ธุรกจิ ทจี่ ะกลบั ไปทำ
วนั ที่ 8 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2561
3. ทำงานอย่างน้อย 1 ชั่วโมง โดยไม่ได้
4. คำอธบิ ายศัพท/์ แนวคิด/คำจำกดั ความ รบั ค่าจ้างในวสิ าหกิจหรือไร่นาเกษตรของหัวหน้า
ครวั เรือนหรือของสมาชิกในครวั เรือน
สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ปรับปรุง
แ น ว คิ ด แ ล ะ ค ำ นิ ย า ม ที่ ใช้ ใน ก า ร ส ำ ร วจ ภ า ว ะ
การท ำงานของประชากรห ลายคร้ัง โดยมี
วัตถุประสงค์เพ่ือให้สอดคล้องกับสภาพท่ีแท้จริง
ทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศตลอดจน

ผู้วา่ งงาน 3

ผ้วู ่างงาน หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 15 ปี ผูไ้ ม่อยใู่ นกำลังแรงงาน
ข้ึนไป และในสัปดาห์แหง่ การสำรวจมีลกั ษณะอยา่ ง
หน่งึ อย่างใด ดังตอ่ ไปนี้ ผูไ้ มอ่ ยใู่ นกำลังแรงงาน หมายถงึ บคุ คล
ท่ีไม่เข้าข่ายคำนิยามของผู้อยู่ในกำลังแรงงานใน
1. ไม่ได้ทำงานและไม่มีงานประจำ แต่ได้ สัปดาหแ์ หง่ การสำรวจ คือ
หางาน สมัครงานหรือรอการบรรจุ ในระหว่าง
30 วนั ก่อนวนั สัมภาษณ์ บุคคลซึ่งในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอายุ
15 ปีขึ้นไป แต่ไม่ได้ทำงาน และไม่พร้อมท่ีจะ
2. ไม่ ได้ท ำงานแล ะไม่มี งาน ป ระจำ ทำงานเนอ่ื งจากเปน็ ผู้ที่
และไม่ได้หางานทำในระหว่าง 30 วันก่อนวัน
สมั ภาษณ์ แต่พรอ้ มท่ีจะทำงานในสัปดาหแ์ ห่งการ 1. ทำงานบา้ น
สำรวจ 2. เรยี นหนงั สือ
3. ยังเด็กเกนิ ไป หรือชรามาก
กำลังแรงงานปัจจุบัน 4. ไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากพิการ
ทางรา่ งกายหรือจิตใจ หรอื เจบ็ ปว่ ยเรอื้ รัง
กำลงั แรงงานปัจจบุ นั หมายถงึ บุคคล 5. ไมส่ มัครใจทำงาน
ท่ีมีอายุ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งในสัปดาห์แห่งการสำรวจ 6. ทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง ผลกำไร
มีงานทำหรือว่างงาน ตามคำนิยามท่ีได้ระบุ ส่วนแบ่ง หรือส่ิงตอบแทนอื่น ๆ ให้แก่บุคคลซึ่ง
ข้างตน้ มิไดเ้ ป็นสมาชกิ ในครวั เรอื นเดียวกนั
7. ทำงานให้แกอ่ งค์การ หรือสถาบนั การ
กำลังแรงงานทร่ี อฤดกู าล กุศลต่างๆ โดยไม่ได้รบั ค่าจ้างผลกำไรส่วนแบง่ หรือ
สง่ิ ตอบแทนอยา่ งใด
กำลังแรงงานที่รอฤดูกาล หมายถึง 8. ไมพ่ ร้อมท่ีจะทำงานเนอื่ งจากเหตุผลอืน่
บุคคลที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในสัปดาห์แห่งการ
สำรวจเป็นผ้ไู ม่เขา้ ขา่ ยคำนิยามของผมู้ ีงานทำ หรอื งาน
ผ้วู ่างงาน แต่เป็นผู้รอฤดกู าลท่ีเหมาะสมเพื่อท่ีจะ
ทำงาน และเป็นบุคคลทีต่ ามปกติจะทำงานทไ่ี ม่ได้ งาน หมายถึง กิจการท่ีทำท่ีมีลักษณะ
รับสิ่งตอบแทนในไร่นาเกษตร หรือธุรกิจซึ่งทำ อย่างหนง่ึ อยา่ งใด ดังต่อไปนี้
กิจกรรมตามฤดูกาล โดยมีหัวหน้าครัวเรือน หรือ
สมาชิกคนอื่น ๆ ในครัวเรือนเป็นเจ้าของหรือ 1. กิจการท่ีทำแลว้ ได้รับค่าตอบแทนเป็น
ผดู้ ำเนินการ เงินหรือส่ิงของ ค่าตอบแทนท่เี ปน็ เงนิ อาจจา่ ยเป็น
รายเดอื น รายสัปดาห์ รายวัน หรือรายชิน้
กำลังแรงงานรวม
2. กิจการที่ทำแล้วได้ผลกำไร หรือหวังท่ี
กำลังแรงงานรวม หมายถึง บุคคลทุก จะไดร้ บั ผลกำไร หรือส่วนแบ่งเปน็ การตอบแทน
คนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ในสัปดาห์แห่งการสำรวจ
เปน็ ผู้อยู่ในกำลังแรงงานปัจจุบัน หรือเป็นผู้ถกู จัด 3. กิจการที่ทำให้กับธุรกิจของสมาชิกใน
จำแนกอยใู่ นประเภทกำลงั แรงงานท่รี อฤดกู าลตาม ครัวเรือน โดยไม่ได้รับค่าจ้างหรือผลกำไรตอบแทน
คำนยิ ามทีไ่ ดร้ ะบขุ า้ งต้น อย่างใดซึ่งสมาชิกในครัวเรือนท่ีประกอบธุรกิจนั้น
จะมีสถานภาพการทำงาน เป็นประกอบธุรกิจ
สว่ นตัว หรอื นายจ้าง

4 สถานภาพการทำงาน

อาชีพ สถานภาพการทำงาน หมายถึง สถานะ
ของบุคคลที่ทำงานในสถานที่ที่ทำงานหรือธุรกิจ
อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของ แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คือ
งานท่ีบคุ คลนนั้ ทำอยู่ บุคคลส่วนมากมอี าชีพเดียว
สำหรับบุคคลท่ีในสัปดาห์แห่งการสำรวจมีอาชีพ 1. นายจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจ
มากกว่า 1อาชีพให้นับอาชีพที่มีชั่วโมงทำงาน ขอ งต น เอ งเพื่ อห วังผ ล ก ำไรห รือส่ วน แ บ่ ง
มากท่ีสดุ ถ้าชั่วโมงทำงานแตล่ ะอาชพี เทา่ กนั ใหน้ ับ และได้จ้างบุคคลอื่นมาทำงานในธุรกิจในฐานะ
อาชีพท่ีมีรายได้มากกว่า ถ้าช่ัวโมงทำงานและ ลูกจา้ ง
รายได้ที่ได้รบั จากแต่ละอาชีพเท่ากนั ให้นับอาชีพ
ท่ีผู้ตอบสัมภาษณ์ พ อใจมากท่ีสุด ถ้าผู้ตอบ 2. ประกอบธุรกิจส่วนตัวโดยไม่มี
สมั ภาษณ์ตอบไมไ่ ด้ใหน้ บั อาชพี ทไ่ี ด้ทำมานานทส่ี ุด ลูกจ้าง หมายถึง ผู้ประกอบธุรกิจของตนเองโดย
การจัดจำแนกประเภทอาชีพ ต้ังแต่ไตรมาสท่ี 1 ลำพังผู้เดียว หรืออาจมีบุคคลอื่นมาร่วมกิจการ
พ.ศ. 2554 ปรับใช้ตาม International Standard ด้วยเพ่ือหวังผลกำไร หรือส่วนแบ่งและไม่ได้จ้าง
Classification of Occupation,2008 ( ISCO– ลูกจ้างแตอ่ าจมสี มาชิกในครัวเรอื นหรอื ผฝู้ ึกงานมา
08) ขององค์การแรงงานระหวา่ งประเทศ (ILO) ช่วยทำงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง หรือค่าตอบแทน
อย่างอน่ื สำหรบั งานท่ที ำ
ก่อน พ.ศ. 2553 การจัดประเภทอาชีพ
จำแนกตามความเหมาะสมกับลักษณะอาชีพของ 3. ช่วยธุรกิจในครัวเรือนโดยไม่ได้รับ
ประเทศไทย โดยอ้างอิง International Standard ค่าจา้ ง หมายถึง ผทู้ ชี่ ว่ ยทำงานโดยไม่ได้รับคา่ จา้ ง
Classification of Occupation,1988 (ISCO – 88) ในไร่นาเกษตร หรือในธุรกิจของสมาชิกใน
ครัวเรอื น
อุตสาหกรรม
4. ลูกจ้าง หมายถงึ ผู้ที่ทำงานโดยได้รับ
อุตสาหกรรม หมายถึง ประเภทของ คา่ จ้างเปน็ รายเดือน รายสัปดาห์ รายวัน รายชิ้น
กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ได้ดำเนินการโดยสถาน หรือเหมาจา่ ย ค่าตอบแทนที่ไดร้ ับจากการทำงาน
ประกอบการที่บุคคลนั้นกำลังทำงานอยู่ หรือ อาจจะเปน็ เงิน หรอื สงิ่ ของ
ประเภทของธุรกจิ ซ่งึ บคุ คลน้นั ไดด้ ำเนินการอยูใ่ น
สัปดาห์แห่งการสำรวจ ถ้าบุคคลหนึ่งมีอาชีพ ลูกจ้างแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท
มากกว่าหนึ่งอย่าง ให้บันทึกอุตสาหกรรมตาม 4.1 ลู ก จ้ างรั ฐบ าล ห มายถึ ง
อ าชี พ ท่ี บั น ทึ ก ไว้ ก ารจั ด จ ำแ น ก ป ร ะ เภ ท
อุตสาหกรรม ตั้งแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2554 ปรับ ข้าราชการ พนักงานเทศบาล พนักงานองค์การ
ใ ช้ ต า ม Thailand Standard Industrial บริหารส่วนจังหวัด ตลอดจนลูกจ้างประจำ และ
Classification, (TSIC 2009) ชั่วคราวของรฐั บาล

ก่ อ น พ .ศ . 2553 ก า ร จั ด ป ร ะ เภ ท 4.2 ลูกจา้ งรัฐวสิ าหกิจ หมายถงึ ผู้
อุ ต ส า ห ก ร ร ม จ ำ แ น ก ต า ม ค ว า ม เห ม า ะ ส ม กั บ ที่ทำงานใหก้ บั หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
ลักษณะอตุ สาหกรรมของประเทศไทย โดยอา้ งอิง
InternationalStandardIndustrialClassification of All 4.3 ลูกจ้างเอกชน หมายถึง ผู้ที่
Economic Activities, (ISIC : 1989) ทำงานให้กับเอกชน หรอื ธรุ กิจของเอกชน รวมทั้ง
ผทู้ ่รี ับจ้างทำงานบ้าน

5. การรวมกลุ่ม หมายถึง กลุ่มคนที่มา 5
ร่วมกันทำงานโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือพึ่งตนเอง
และช่วยเหลือซึ่งกันและกัน สมาชิกแต่ละคนมี ระยะเวลาของการหางานทำ
ความเท่าเทียมกันในการกำหนดการทำงานทุก ระยะเวลาของการหางานทำ หมายถึง
ข้นั ตอนไม่วา่ เปน็ การลงทุน การขาย งานอนื่ ๆ ของ
กจิ การท่ีทำ ตลอดจนการแบ่งรายได้ใหแ้ ก่สมาชิก ระยะเวลาทผี่ ้วู า่ งงานได้ออกหางานทำ ให้นบั ต้ังแต่
ตามท่ีตกลงกัน (การรวมกลุ่มดังกล่าวอาจจด วันท่ี เริ่มห างานท ำจนถึงวัน สุดท้ายก่อนวัน
ทะเบียนจดั ตั้งในรปู ของสหกรณห์ รอื ไม่ก็ได)้ สัมภาษณ์

การจัดจำแนกประเภทสถานภาพการ คาบการแจงนับ
ทำงาน ต้ังแต่ไตรมาสท่ี 1 พ.ศ. 2544 ใช้ตาม
International Classification of Status in คาบการแจงนับ หมายถึง ระยะเวลาท่ี
Employment, 1993 (ICSE – 93) ขององค์การ พ นั ก ง าน อ อ ก ไป สั ม ภ าษ ณ์ บุ ค ค ล ใน ค รั วเรือ น
แรงงานระหว่างประเทศ (ILO) มีสถานภาพการ ตัวอยา่ ง ซง่ึ โดยปกติเป็นวันที่ 1 - 12 ของทุกเดือน
ท ำงาน เพิ่ ม ข้ึน อีก 1 กลุ่ มคื อ การรวมกลุ่ ม
(Member of Producers’ Cooperative) ประเภทของครัวเรือนทีอ่ ยใู่ นขอบขา่ ยการสำรวจ
ครัวเรือนที่อยใู่ นขอบข่ายการสำรวจแบ่ง
ช่ัวโมงทำงาน
ได้เปน็ 2 ประเภท คอื
ช่ัวโมงทำงาน หมายถึง จำนวนชั่วโมง 1. ครัวเรือนส่วนบุคคล ประกอบด้วย
ทำงานจริงท้ังหมด ในสัปดาห์แห่งการสำรวจ
สำหรับบุคคลท่ีมีอาชีพมากกว่าหนึ่งอาชีพ ช่ัวโมง ครัวเรือนหนึ่งคน คือ บุคคลเดียวซ่ึงหุงหาอาหาร
ทำงาน หมายถึง ยอดรวมของชั่วโมงทำงานทุก และจัดหาส่ิงอุปโภคบริโภคที่จำเป็นแก่การครอง
อาชีพ สำหรับผู้ที่มีงานประจำซ่ึงไม่ได้ทำงานใน ชพี โดยไมเ่ ก่ียวกับผู้ใดซ่ึงอาจพำนกั อยู่ในเคหสถาน
สปั ดาห์แห่งการสำรวจให้บนั ทกึ จำนวนชั่วโมงเป็น เดยี วกนั หรือครวั เรือนท่มี ีบคุ คลตั้งแต่สองคนขึ้นไป
0 ชวั่ โมง ร่วมกันจัดหาและใช้สิ่งอุปโภคบริโภคท่ีจำเป็นแก่
การครองชีพรว่ มกนั ครวั เรือนสว่ นบคุ คลอาจอาศยั
การสำรวจก่อนปี พ.ศ. 2544 ผู้ท่ีมีงาน อยู่ในเคหะท่ีเป็นเรือนไม้ ตึกแถว ห้องแถว ห้อง
ประจำซงึ่ ไม่ไดท้ ำงานในสัปดาห์แห่งการสำรวจ ให้ ชุด เรือแพ เปน็ ตน้
นบั จำนวนช่วั โมงทำงานปกติตอ่ สปั ดาห์เป็นชั่วโมง
ทำงาน 2. ครัวเรือนกลุ่มบคุ คล
2.1 ป ร ะ เ ภ ท ค น ง า น ได้ แ ก่
รายไดข้ องลกู จ้าง
รายได้ของลกู จา้ ง หมายถงึ รายได้ของผู้ ครัวเรือนซ่ึงประกอบด้วย บุคคลหลายคนอยู่กิน
รว่ มกันในที่อย่แู ห่งหน่ึง เช่น ท่พี ักคนงาน เป็นต้น
ท่ีมีสถานภาพการทำงานเป็น ลูกจ้าง ที่ได้รับมา
จากการทำงานของอาชีพท่ีทำในสัปดาห์แห่งการ 2.2 ประเภทสถาบัน ซ่ึงหมายถึง
สำรวจ ซ่ึงประกอบด้วยค่าจ้างและผลประโยชน์ บุคคลหลายคนอยู่ร่วมกันในสถานท่ีอยู่แห่งหน่ึง
ตอบแทนอืน่ ๆ สำหรับลูกจ้าง เช่น สถานที่กักกัน วดั กรมทหาร โดยไมแ่ ยกที่อยู่
เป็นสัดส่วนเฉพาะคนหรือเฉพ าะครัวเรื อน
นั ก เรี ย น ท่ี อ ยู่ ป ร ะ จ ำ ที่ โ ร ง เรี ย น ห รื อ ใ น ห อ พั ก
นักเรยี น เป็นตน้

6 วิชาการ โดยได้รับวุฒิบัตรระดับอนุปริญญ า
ปรญิ ญาตรี โท เอก
ระดบั การศกึ ษาที่สำเร็จ
6.2 สายวิชาชีพ หมายถึง บุคคลที่
ไดจ้ ำแนกการศึกษาตามระดบั การศึกษาที่ สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา หรือสาย
สำเรจ็ ดังนี้ วชิ าชีพท่ีได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือ
เทยี บเทา่ อนุปรญิ ญา ปริญญาตรี
1. ไม่มีการศึกษา หมายถึง บุคคลท่ีไม่
เคยเข้าศึกษาในโรงเรียน หรือไม่ เคยได้รับ 6.3 สายวชิ าการศกึ ษา หมายถงึ บุคคล
การศกึ ษา ท่สี ำเรจ็ การศกึ ษาประเภทวชิ าการศึกษา และได้รับ
ประกาศนียบัตรระดบั อนปุ ริญญาและปรญิ ญาตรี
2. ต่ำกวา่ ประถมศึกษา หมายถงึ บคุ คล
ที่สำเร็จการศึกษาต่ำกว่าช้ันประถมปีที่ 6 หรือ 7. อา ชีว ศึ ก ษ า ระยะสั้น ห ม ายถึง
ชน้ั ประถมปที ี่ 7 หรือชั้น ม.3 เดมิ บุคคลทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษาหรอื การฝกึ อบรมประเภท
อาชีวศึกษาที่มีหลักสูตรไม่เกิน 1ปี และได้รับ
3. สำเรจ็ ประถมศกึ ษา หมายถงึ บุคคล ประกาศนยี บัตรหรือใบรับรองเมอื่ สำเร็จการศกึ ษา
ท่ีสำเร็จการศึกษาต้ังแต่ช้ันประถมปีท่ี 6 หรือ พ้ืนความรูข้ องผเู้ ข้าเรียนได้กำหนดใหแ้ ตกต่างตาม
ชั้นประถมปีท่ี 7 หรือชั้น ม.3 เดิมขึ้นไป แต่ไม่ วิชาเฉพาะแต่ละอย่างท่ีเรียน แต่อย่างต่ำต้องจบ
สำเร็จระดบั การศกึ ษาท่สี งู กวา่ ประถมปที ่ี 4 หรือเทยี บเท่า

4. สำเร็จมธั ยมศกึ ษาตอนต้น หมายถึง 8. อ่ืน ๆ หมายถึง บุคคลท่ีสำเร็จการศึกษา
บคุ คลท่สี ำเร็จการศึกษาตั้งแต่ช้ัน ม.3 ม.ศ.3 หรือ ท่ไี ม่สามารถเทยี บช้นั ได้
ม.6 เดมิ ขนึ้ ไป แต่ไมส่ ำเร็จระดบั การศกึ ษาท่ีสงู กวา่

5. สำเร็จมธั ยมศึกษาตอนปลาย
5.1 สายสามัญ หมายถึง บุคคลที่

สำเร็จการศกึ ษาประเภทสามญั ศึกษาต้ังแต่ชนั้ ม.6
ม.ศ.5 หรือ ม.8 เดิมขึ้นไป แต่ไม่สำเร็จระดับ
การศกึ ษา ท่สี ูงกวา่

5.2 อาชีวศึกษา หมายถึง บุคคลที่
สำเร็จการศึกษาประเภทอาชีวศึกษาหรือวิชาชพี ที่
เรี ย น ต่ อ จ า ก ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ต้ น ห รื อ
เทียบเท่า โดยมีหลักสตู รไม่เกิน 3 ปี และไมส่ ำเร็จ
ระดับการศกึ ษาที่สงู กวา่

5.3 วิชาการศึกษา หมายถงึ บุคคลท่ี
สำเร็จการศึกษาประเภทวิชาการศกึ ษา (การฝึกหัด
ครู) ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า
ขึ้นไปแตไ่ มส่ ำเรจ็ ระดับการศึกษาทีส่ งู กวา่

6. อดุ มศกึ ษา
6.1 สายวิชาการ หมายถึง บุคคลที่

สำเร็จการศึกษาประเภทสามัญศึกษาหรือสาย

บทท่ี 2
สรุปผลการสำรวจ

1. ลักษณะของกำลงั แรงงาน

ผลการสำรวจ พบว่า ประชากรอายุ 15 ปี สำหรับผูอ้ ยใู่ นกำลงั แรงงานประกอบด้วย
ข้ึน ไป 526,394 คน เป็ น ผู้ อ ยู่ ใน ก ำลั งแ รงงาน - ผู้มีงานทำ 352,592 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 67.0
359,975 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 68.4 (ชายร้อยละ
78.3 และหญิงร้อยละ 59.2) และผู้อยู่นอกกำลัง ของผู้อยู่ในกำลงั แรงงาน (ชายรอ้ ยละ 76.4 และหญิง
แรงงาน ได้แก่ ผู้ทำงานบ้าน เรียนหนังสือ และอื่น ๆ รอ้ ยละ 58.2)
เช่นยังเด็ก/ชรา ป่วย พิการจนไม่สามารถทำงานได้
เป็นต้น 166,419 คน หรือ คิดเป็นร้อยละ 31.6 (ชาย - ผู้วา่ งงาน 6,964 คน หรือคิดเป็นอัตราการว่างงาน
รอ้ ยละ 21.7 และหญงิ ร้อยละ 40.8) รอ้ ยละ 1.3 (ชายร้อยละ 1.9 และหญิงร้อยละ 0.8)

ตารางท่ี 1 จำนวนของประชากรอายุ 15 ปี ข้ึนไปจำแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ
จังหวัดปราจีนบุรี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

สถานภาพแรงงาน รวม ชาย หญงิ

ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 526,394 253,410 272,984
กำลังแรงงานรวม 359,975 198,362 161,613
1. กำลงั แรงงานปจั จบุ ัน 359,556 198,362 161,194
352,592 193,600 158,992
1.1 ผมู้ งี านทำ
1.2 ผวู้ า่ งงาน 6,964 4,762 2,202
2. กำลงั แรงงานทีร่ อฤดูกาล 419 - 419
ไมอ่ ยูใ่ นกำลังแรงงานอายุ 15 ปีข้ึนไป 166,419 55,048 111,371
1. ทำงานบ้าน 61,288 4,048 57,240
2. เรยี นหนังสือ 31,834 17,021 14,813
3. อน่ื ๆ (เด็ก ชรา/ไมส่ ามารถทำงานได)้ 73,297 33,979 39,318
1.9 2.4 1.4
อัตราการว่างงาน

หมายเหตุ อตั ราการว่างงาน = ผวู้ า่ งงาน x 100
ผูอ้ ย่ใู นกำลังแรงงาน

8

2. กำลงั แรงงานทเี่ ป็นผู้มงี านทำ

2.1 อาชีพ

ผู้มีงานทำส่วนใหญ่ 69,111 คน หรือ ร้อยละ 19.6 เพศหญิง ผูป้ ฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและ

เป็นผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงาน ธรุ กิจอ่ืนๆ ที่เก่ียวขอ้ ง 56,856 คน หรือร้อยละ 16.1

ดา้ นการประกอบ โดยมีสัดส่วนเป็นเพศชายมากกว่า โด ย มี สั ด ส่ วน เป็ น เพ ศ ชาย ม าก ก ว่าเพ ศ ห ญิ ง

เพศหญิง รองลงมาเปน็ พนักงานบริการและพนักงาน ผู้ปฏิบัติงานอาชีพขั้นพ้ืนฐานต่างๆ ในด้านการขาย

ในร้านค้าและตลาด 63,974 คน หรือ ร้อยละ 18.1 และการให้บริการ 38,336 คน หรอื ร้อยละ 10.9 โดย

โดยมีสัดส่วนเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ผู้ปฏิบัติงาน มีสัดส่วนเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง นอกจากนั้น

ทม่ี ฝี ีมือในด้านการเกษตรและการประมง 61,924 คน ประกอบอาชีพอืน่ ๆ (ตาราง 2)

หรือร้อยละ 17.6 โดยมีสัดส่วนเป็นเพศชายมากกว่า

ตารางที่ 2 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามอาชพี และเพศ จงั หวัดปราจีนบรุ ี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ.2563

อาชีพ รวม ชาย หญงิ

จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

ยอดรวม 352,592 100.0 193,600 100.0 158,992 100.0
1. ผู้บัญญัติกฎหมาย ขา้ ราชการระดบั อาวโุ ส

และผจู้ ดั การ 11,842 3.4 6,977 3.6 4,865 3.1

2. ผู้ประกอบวิชาชพี ด้านตา่ งๆ 19,058 5.4 5,385 2.8 13,673 8.6

3. ผู้ประกอบวชิ าชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ

และอาชพี ท่เี กี่ยวข้อง 16,361 4.6 10,023 5.2 6,338 4.0

4. เสมียน 15,130 4.3 2,477 1.3 12,653 8.0

5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด 63,974 18.1 30,072 15.5 33,902 21.3

6. ผปู้ ฏิบัติงานท่ีมีฝีมือในด้านการเกษตร

และการประมง 61,924 17.6 39,599 20.5 22,325 14.0

7. ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานด้านความสามารถทางฝีมือ

และธรุ กิจอ่ืนๆทเ่ี กย่ี วข้อง 56,856 16.1 36,584 18.8 20,272 12.8

8. ผปู้ ฏิบตั ิการโรงงานและเครอื่ งจักร

และผ้ปู ฏิบตั งิ านด้านการประกอบ 69,111 19.6 41,826 21.6 27,285 17.2

9. อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย

และการใหบ้ รกิ าร 38,336 10.9 20,657 10.7 17,679 11.0

10.คนงานซงึ่ มไิ ด้จำแนกไว้ในหมวดอ่ืน -- -- --

9

2.2 อุตสาหกรรม

เม่ื อ พิ จ าร ณ าอุ ต ส า ห ก ร ร ม ห รื อ ป ร ะ เภ ท ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 50,599 คน
กจิ การของสถานทท่ี ี่ผมู้ ีงานทำอยู่ในจังหวัดปราจีนบรุ ี หรือร้อยละ 14.4 สาขากิจกรรมโรงแรมและ
พบว่าผู้ทำงานในสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และ อาหาร 17,855 คน หรือ ร้อยละ 5.1 สาขาการ

การปา่ ไม้ 74,410 คน หรอื ร้อยละ 21.1 และนอกภาค บริหารราชการ และการป้องกันประเทศ 15,349 คน
เกษตรกรรม 278,182 คนหรอื ร้อยละ 78.9 โดยส่วน หรือร้อยละ 4.4 สาขาการก่อสร้าง 13,190 คน
ใหญ่ เป็นผู้ทำงานในสาขาการผลิต 133,336 คน หรือ หรือร้อยละ 3.7 สาขาการศึกษา 9,046 คน หรือ

ร้อยละ 37.8 รองลงมา คือ สาขาการขายส่ง การขาย ร้อยละ 2.5 ตามลำดับ ท่ีเหลือกระจายอยู่ใน
ปลีกการซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ของใช้ สาขาอนื่ ๆตามลำดับ (ตาราง 3)

ตารางท่ี 3 จำนวนและร้อยละของผ้มู ีงานทำ จำแนกตามอตุ สาหกรรมและเพศ

จงั หวดั ปราจนี บุรี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

อตุ สาหกรรม รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ

ยอดรวม 352,592 100.0 193,600 100.0 158,992 100.0
1. เกษตรกรรม การล่าสตั วแ์ ละการป่าไม้ 74,410 21.1 48,559 25.1 25,851 16.3
2. การทำเหมอื งแร่ และเหมืองหนิ 0.2 0.4
3. การผลติ 573 37.8 - - 573 43.8
4. การไฟฟา้ กา๊ ซ และไอน้ำ 133,336 0.9 63,722 32.9 69,614 0.1
5 การจัดหาน้ำ บำบัดนำ้ เสีย 0.6 2,951 1.5 0.5
6. การกอ่ สรา้ ง 3,137 3.7 1,466 0.8 186 0.8
7. การขายสง่ การขายปลกี การซอ่ มแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ 2,200 14.4 11,828 6.1 734 14.4
13,190 27,694 14.3 1,362
ของใช้ส่วนบคุ คล และของใช้ในครัวเรือน 50,599 2.2 22,905 0.3
8. การขนสง่ สถานทเ่ี กบ็ สนิ ค้า และการคมนาคม 5.1 7,281 3.7 8.1
9. โรงแรม และ อาหาร 7,686 0.2 4,981 2.6 405 0.3
10. ข้อมลู ขา่ วสารและการสอื่ สาร 17,855 0.4 0.2 12,874 0.7
11. กจิ การทางการเงนิ และการประกันภยั 0.6 294 0.1 0.8
12. กิจการดา้ นอสงั หาริมทรพั ย์ 697 0.1 173 0.4 403 0.1
13 .กิจกรรมทางวชิ าชีพและเทคนิค 1,341 1.4 758 0.1 1,168 1.1
14. การบรหิ ารและสนบั สนุนและการป้องกนั ประเทศ 1,951 4.4 213 1.7 1,193 4.0
15. การบรหิ ารราชการและการป้องกันประเทศ 2.5 3,240 4.6 3.1
16. การศกึ ษา 311 1.6 8,958 2.0 98 2.1
17. งานด้านสุขภาพ และงานสงั คมสงเคราะห์ 5,065 0.4 3,927 1.3 1,825 0.5
18. กจิ กรรมด้านศลิ ปะความบันเทงิ นนั ทนาการ 15,349 2.3 2,579 0.3 6,391 2.3
19. การบรกิ ารส่วนบุคคลอน่ื ๆ 9,046 0.1 518 2.2 5,119 0.3
20 ลกู จา้ งในครวั เรือนสว่ นบคุ คล 5,914 4,352 0.1 3,335
21. องคก์ ารระหว่างประเทศและองคก์ ารตา่ งประเทศอ่นื ๆและสมาชกิ 1,235 - 106 -
22. ไม่ทราบ 8,072 - - 717 -
- - 3,720
625 -
- 519
- -
-

หมายเหตุ : 0.0 คอื มีข้อมลู จำนวนเลก็ นอ้ ย

10

2.3 สถานภาพการทำงาน ทำงานส่วนตัว 78,490 คน หรือร้อยละ 22.3
ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ช่วย
เม่ือพิจารณาสถานภาพการทำงาน พบว่า ธุรกิจครัวเรือน 31,233 คน หรือร้อยละ 8.8
ส่วนใหญ่ทำงานในฐานะลกู จ้าง จำนวน 209,755 คน ส่วน ให ญ่เป็น เพ ศห ญิงมาก กว่าเพ ศชาย
ใน จ ำ น วน นี้ เป็ น ลู ก จ้ า งเอ ก ช น 178,496 ค น นายจ้าง 33,114 คน หรือร้อยละ 9.4 ส่วนใหญ่เป็น
หรือ ร้อยละ 50.6 ส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศ ชายมากกวา่ หญงิ (ตาราง 4)
หญิง ลกู จ้างรัฐบาล 31,259 คน หรอื ร้อยละ 8.9 ส่วน
ใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง รอ งล งม า คือ

ตารางที่ 4 จำนวนและรอ้ ยละของผู้มีงานทำ จำแนกตามสถานภาพการทำงานและเพศ
จังหวัดปราจีนบุรี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

สถานภาพการทำงาน รวม ชาย หญงิ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ

ยอดรวม 352,592 100.0 193,600 100.0 158,992 100.0

1. นายจา้ ง 33,114 9.4 22,872 11.8 10,242 6.4

2. ลูกจา้ งรัฐบาล 31,259 8.9 17,071 8.8 14,188 8.9

3. ลกู จ้างเอกชน 178,496 50.6 95,441 49.3 83,055 52.3

4. ทำงานสว่ นตัว 78,490 22.3 42,844 22.2 35,646 22.4

5. ชว่ ยธุรกจิ ครัวเรือน 31,233 8.8 15,372 7.9 15,861 10.0

6. การรวมกลมุ่ -- -- --

3. ช่วั โมงการทำงาน เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ผ้มู ีงานทำระหวา่ งเวลา
50 ชั่วโมงขึ้นไปต่อสปั ดาห์ 35,412 คน หรือร้อยละ 10.0
ในจำนวนผู้มีงานทำทง้ั หมด 325,592 คน มีผูม้ ีงาน เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง ผู้มีงานทำระหว่างเวลา
ทำระหว่างเวลา 40-49 ช่ัวโมงต่อสัปดาห์มากที่สุด 20-29 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ 24,043 คน หรือร้อยละ 6.8
176,280 คน หรอื ร้อยละ 50.0 เป็นเพศชายมากกว่า เป็นเพศหญิงมากว่าเพศชาย ผู้มีงานทำระหว่างเวลา
เพศหญิง รองลงมาคอื ผูท้ ่ีมีงานทำระหว่างเวลา 35-39 0 ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์ 13,028 คน หรือรอ้ ยละ 3.7 เป็น
ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ 61,405 คน หรือร้อยละ 17.4 เพศชายมากกวา่ เพศหญงิ ตามลำดบั (ตาราง 5)
เป็นเพศหญิงมากกวา่ เพศชาย ผมู้ ีงานทำระหวา่ งเวลา
30-34 ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ 36,468 คน หรือร้อยละ 10.3

11

ตารางท่ี 5 จำนวนและรอ้ ยละของผมู้ งี านทำ จำแนกตามชว่ั โมงทำงานตอ่ สปั ดาห์ และ เพศ
จงั หวดั ปราจีนบุรี ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2563

ชวั่ โมงการทำงาน รวม ชาย หญงิ ร้อยละ
จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน

ยอดรวม 352,592 100.0 193,600 100.0 158,992 100.0
1. 0 ชว่ั โมง 13,028 3.7 8,504 4.4 4,524 2.8
2. 1-9 ช่วั โมง 1,237 0.4 553 0.3 684 0.4
3. 10-19 ชั่วโมง 4,719 1.4 1,764 0.9 2,955 1.9
4. 20-29 ชั่วโมง 24,043 6.8 10,309 5.4 13,734 8.6
5. 30-34 ชัว่ โมง 36,468 10.3 18,871 9.7 17,597 11.1
6. 35-39 ช่วั โมง 61,405 17.4 33,296 17.2 28,109 17.7
7. 40-49 ช่วั โมง 176,280 50.0 52.2 75,233 47.3
8. 50 ชวั่ โมงขึน้ ไป 35,412 10.0 101,047 9.9 16,156 10.2
19,256

4. การวา่ งงาน ผู้ว่างงานเป็นเพศชาย 4,762 คน หรือร้อยละ 2.4
ผวู้ า่ งงานเป็นเพศหญงิ 2,202 คน หรือร้อยละ 1.4
สำหรับอัตราการว่างงานของประชากรในจังหวัด (ตารางท่ี 6)
ปราจีนบุรี หมายถึง อัตราของผู้ว่างงานต่อจำนวน
ประชากรที่อยู่ในกำลังแรงงาน ในไตรมาสที่ 2 ปี
2 5 6 3 มีผู้ว่างงานท้ังสั้น 6,964 คน หรือร้อยละ 1.9

ตารางที่ 6 จำนวนและอัตราการวา่ งงาน จำแนกตามเพศ จงั หวัดปราจีนบรุ ี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ.2563

เพศ ผ้อู ยู่ในกำลังแรงงาน ผวู้ ่างงาน อัตรา
1.9
ยอดรวม 359,975 จำนวน
ชาย 198,362 6,964 2.4
หญงิ 161,613 4,762 1.4
2,202

หมายเหตุ อตั ราการว่างงาน = ผวู้ า่ งงาน x 100
ผู้อยใู่ นกำลังแรงงาน

การปดั ตวั เลข ข้อมลู ในตารางสถิติที่นำเสนอในรายงานฉบับน้ี เป็นค่าทป่ี ระมาณได้ตามวิธกี ารประมวลผลทางสถิติ
ซงึ่ ผลรวมจากยอดย่อยแตล่ ะรายการอาจไมเ่ ทา่ กบั ยอดรวมในแต่ละตาราง หรอื ระหว่างตาราง ทงั้ น้ี เน่ืองจากการปดั
เศษทศนยิ ม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
ระเบียบวิธี



ภาคผนวก ก
ระเบียบวธิ ี

1. วิธกี ารสำรวจ

การสำรวจนป้ี ระชากรเปา้ หมาย ได้แก่ ครวั เรือนสว่ นบคุ คลและครัวเรอื นกลมุ่ บคุ คลประเภทครวั เรอื น
คนงานที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลและนอกเขตเทศบาลทกุ จังหวัดทั่วประเทศ ยกเว้น ครวั เรือนชาวต่างชาติท่ี
ทำงานในสถานทูตหรอื องคก์ ารระหวา่ งประเทศท่มี เี อกสิทธ์ิทางการทตู

การสำรวจแตล่ ะเดือน สำนกั งานสถติ แิ ห่งชาติได้ดำเนินการสำรวจในทุกจงั หวัดทั่วประเทศ แผนการ
เลือกตัวอย่างท่ีใช้เป็นแบบ Stratified Two-stage Sampling โดยหน่วยตัวอย่างข้ันที่หนึ่ง คือ เขตแจงนับ
(Enumeration Area : EA) จำนวน 1,990 EA ตัวอยา่ ง จากทั้งสิ้นจำนวน 127,460 EA และหน่วยตัวอย่าง
ขั้นท่ีสอง คือ ครัวเรือนส่วนบุคคลและสมาชิกในทุกครัวเรือนกลุ่มบุคคลประเภทครัวเรือนคนงาน จำนวน
27,960 ครัวเรือนตวั อยา่ ง หรอื คิดเปน็ จำนวนประชาชนตัวอยา่ งประมาณ 95,000 คน ซง่ึ ขนาดตัวอยา่ งในแต่
ละเดือนสามารถนำเสนอผลการสำรวจในระดับภาค (กรุงเทพมหานคร และ 4 ภาค) โดยจำแนกตาม
เขตการปกครอง คือ ในเขตเทศบาล และนอกเขตเทศบาล แต่ไม่เพียงพอสำหรับนำเสนอผลการสำรวจใน
ระดบั จังหวัดหรอื พ้ืนท่ีย่อยกวา่ น้ี สำหรับการนำเสนอผลการสำรวจในระดับจังหวัดได้ใช้ขอ้ มูลของการสำรวจ
จำนวน 3 เดอื น เพ่ือใหไ้ ดข้ นาดตัวอยา่ งเพียงพอ เชน่ กรณสี รปุ รายงานผลการสำรวจระดบั จงั หวดั ในไตรมาสที่
4 ของปี พ.ศ. 2562 กไ็ ดน้ ำขอ้ มลู ของเดอื นตุลาคม พฤศจกิ ายน และธันวาคม 2562 มารวมกัน เปน็ ต้น

สำหรับขนาดตัวอย่างของจังหวัดปราจีนบุรี ใช้หน่วยตัวอย่างข้ันท่ีหน่ึง จำนวน 264 EA ตัวอย่าง
หนว่ ยตัวอยา่ งข้นั ที่สอง จำนวน 3,648 ครัวเรอื นตวั อยา่ ง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์หัวหน้าครัวเรือนหรือสมาชิกในครัวเรือนตัวอย่าง
โดยเจ้าหน้าท่ีของสำนักงานสถิติแห่งชาติ/สำนักงานสถิติจังหวัด โดยผู้ทำการสัมภาษณ์ทุกคนจะมีคู่มือ
การปฏิบัตงิ านเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรบั ใช้ในการปฏิบัตงิ าน ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหท้ กุ คนปฏิบตั ิงานไปในทางเดยี วกนั

ส่วนการประมวลผลข้อมูลน้ันดำเนินการในส่วนกลางตามหลักวิชาการสถิติ โดยนำข้อมูลที่ได้จาก
ตัวอย่างมาประมาณค่า โดยมีการถ่วงน้ำหนัก (Weighty) ซ่ึงค่าถ่วงน้ำหนักคำนวณได้จากสูตรการประมาณค่า
ท่ีสอดคลอ้ งกบั วธิ กี ารเลอื กตัวอย่าง เพ่ือใหไ้ ดค้ า่ ประมาณประชากรใกลเ้ คียงกบั ค่าทีแ่ ทจ้ ริง

2. คาบการเก็บรวบรวมข้อมลู

การสำรวจได้ดำเนินการพร้อมกันทั่วประเทศ ในระหว่างวันที่ 1 – 12 ของเดือน เมษายน –
มิถุนายน พ.ศ. 2563

3. การปัดตัวเลข

ข้อมูลในตารางสถิติที่นำเสนอในรายงานฉบับนี้ เป็นค่าประมาณท่ีได้จากการถ่วงน้ำหนัก
ซึง่ ผลรวมจากยอดย่อยในแตล่ ะรายการอาจไม่เทา่ กับยอดรวม ทงั้ นเ้ี นอื่ งจากการปัดเศษทศนยิ มโดยอิสระจากกัน

ภาคผนวก ข
ตารางสถิติ

ตารางสถิติ

หนา้

ตารางที่ 1 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไป 23
ตารางที่ 2 จำแนกตามสถานภาพแรงงาน และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-ม.ิ ย.) 2563 24
ตารางท่ี 3 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป 25
ตารางท่ี 4 จำแนกตามระดับการศกึ ษาทีส่ ำเรจ็ การศึกษา ไตรมาส 4 (เม.ย.-ม.ิ ย.) 2563 26
ตารางที่ 5 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ท่มี งี านทำ 27
ตารางท่ี 6 จำแนกตามอาชพี และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-ม.ิ ย.) 2563 28
ตารางที่ 7 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ทม่ี ีงานทำ 29
จำแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-มิ.ย.) 2563
จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไป ท่มี ีงานทำ
จำแนกตามสถานภาพการทำงาน และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-มิ.ย.) 2563
จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป ที่มีงานทำ
จำแนกตามชวั่ โมงการทำงานตอ่ สปั ดาห์ และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-ม.ิ ย.) 2563
จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีข้นึ ไป ที่มงี านทำ
จำแนกตามระดบั การศกึ ษาทสี่ ำเรจ็ และเพศ ไตรมาส 2 (เม.ย.-มิ.ย.) 2563

ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ 23
ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2563
หญงิ
สถานภาพแรงงาน รวม ชาย
จานวน 272,984
161,613
ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 526,394 253,410 161,194
1. ผอู้ ยู่ในกำลงั แรงงำน 359,975 198,362 158,992
359,556 198,362
1.1 กำลังแรงงำนปัจจุบัน 352,592 193,600 2,202
1.1.1 ผมู้ ีงำนทำ 419
1.1.2 ผวู้ ำ่ งงำน 6,964 4,762
419 - 111,371
1.2 ผู้ท่ีรอฤดูกำล 57,240
2. ผ้ไู ม่อยู่ในกำลงั แรงงำน 166,419 55,048 14,813
2.1 ทำงำนบ้ำน 61,288 4,048 39,318
2.2 เรยี นหนังสือ 31,834 17,021
2.3 อ่นื ๆ 73,297 33,979 100.0
59.2
รอ้ ยละ 59.0
58.2
ผู้มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 100.0 100.0 0.8
1. ผู้อยู่ในกำลังแรงงำน 68.4 78.3 0.2
68.3 78.3 40.8
1.1 กำลงั แรงงำนปัจจบุ ัน 67.0 76.4 21.0
1.1.1 ผมู้ ีงำนทำ 1.3 1.9 5.4
1.1.2 ผ้วู ำ่ งงำน 0.1 - 14.4
31.6 21.7
1.2 ผู้ที่รอฤดูกำล 11.6 1.6
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลงั แรงงำน 6.1 6.7
2.1 ทำงำนบ้ำน 13.9 13.4
2.2 เรียนหนังสือ
2.3 อื่นๆ

หมำยเหตุ : 0.0 คือ มีข้อมูลจำนวนเล็กน้อย

24

ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป จาแนกตามระดับการศกึ ษาท่ีสาเร็จการศึกษา
ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2563

ระดับการศกึ ษาทสี่ าเร็จ รวม ชาย หญงิ

จานวน

ยอดรวม 526,394 253,410 272,984
1. ไม่มีการศึกษา 8,976 3,929 5,047
40,905 67,619
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 108,524 45,186 43,668
3. ประถมศึกษา 88,854 66,330 49,948
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 116,278 47,977 55,334
103,311 32,897 40,570
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 73,467 15,080 14,764
5.1 สายสามัญ 29,844 - -
5.2 สายอาชีวศึกษา
5.3 สายวชิ าการศึกษา - 48,131 50,490
98,621 14,467 23,317
6. มหาวทิ ยาลยั 37,784 31,170 20,235
6.1 สายวชิ าการ 51,405 2,494 6,938
6.2 สายวชิ าชีพ
6.3 สายวชิ าการศึกษา 9,432 - -
- 952 878
7. อืนๆ ร้อยละ
8. ไม่ทราบ 1,830

ยอดรวม 100.0 100.0 100.0
1. ไม่มีการศึกษา
1.7 1.6 1.8
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา
3. ประถมศึกษา 20.6 16.1 24.8
4. มัธยมศึกษาตอนต้น
16.9 17.8 16.0
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย
5.1 สายสามัญ 22.1 26.2 18.3
5.2 สายอาชีวศึกษา
5.3 สายวชิ าการศึกษา 19.7 18.9 20.3

6. มหาวทิ ยาลยั 14.0 13.0 14.9
6.1 สายวชิ าการ
6.2 สายวชิ าชีพ 5.7 6.0 5.4
6.3 สายวชิ าการศึกษา
---
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ 18.8 19.0 18.4

7.2 5.7 8.5

9.8 12.3 7.4

1.8 1.0 2.5

---

0.2 0.4 0.4

หมายเหตุ : 0.0 คือ มีข้อมูลจา่ นวนเลก็ น้อย

ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป ที่มีงานทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 25
ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2563
หญงิ
อาชีพ รวม ชาย
158,992
จานวน 4,865
13,673
ยอดรวม 352,592 193,600 6,338
1. ผบู้ ัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส 12,653
11,842 6,977 33,902
และผจู้ ัดการ 19,058 5,385 22,325
2. ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 20,272
3. ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ 16,361 10,023 27,285
15,130 2,477 17,679
และอาชีพทีเ่ ก่ยี วข้อง 63,974 30,072 -
4. เสมียน
5. พนักงานบริการและพนักงานในรา้ นค้า และตลาด 61,924 39,599 100.0
6. ผปู้ ฏบิ ตั ิงานทีม่ ีฝีมือในด้านการเกษตร 3.1
56,856 36,584 8.6
และการประมง 4.0
7. ผปู้ ฏบิ ตั ิงานด้านความสามารถทางฝีมือ 69,111 41,826 8.0
21.3
และธุรกิจอ่นื ๆที่เกี่ยวข้อง 38,336 20,657 14.0
8. ผปู้ ฏบิ ัติการโรงงานและเคร่ืองจักร - - 12.8
17.2
และผปู้ ฏิบตั ิงานด้านการประกอบ 100.0 ร้อยละ 11.0
9. อาชีพขน้ั พื้นฐานต่างๆ ในด้านการขาย 100.0 -
3.4
และการให้บรกิ าร 5.4 3.6
10.คนงานซ่ึงมิได้จาแนกไว้ในหมวดอ่นื 2.8
4.6
ยอดรวม 4.3 5.2
18.1 1.3
1. ผบู้ ญั ญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโส 15.5
และผจู้ ัดการ 17.6
20.5
2. ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 16.1
3. ผปู้ ระกอบวิชาชีพด้านเทคนิคสาขาต่างๆ 18.8
19.6
และอาชีพท่ีเกยี่ วข้อง 21.6
4. เสมียน 10.9
5. พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้า และตลาด - 10.7
6. ผปู้ ฏิบตั ิงานทีม่ ีฝมี ือในด้านการเกษตร -

และการประมง
7. ผปู้ ฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝมี ือ

และธุรกิจอ่ืนๆทเ่ี ก่ียวข้อง
8. ผปู้ ฏบิ ตั ิการโรงงานและเครื่องจักร

และผปู้ ฏิบัติงานด้านการประกอบ
9. อาชีพขน้ั พ้นื ฐานต่างๆ ในด้านการขาย

และการใหบ้ ริการ
10. คนงานซ่งึ มิได้จาแนกไว้ในหมวดอ่ืน

26

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึน้ ไป ทมี่ ีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ

ไตรมาสท่ี 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2563

อุตสาหกรรม รวม ชาย หญงิ

ยอดรวม 352,592 จานวน 158,992
1. เกษตรกรรม การลา่ สัตวแ์ ละการป่าไม้ 74,410 25,851
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหนิ 193,600
3. การผลิต 573 48,559 573
4. การไฟฟา้ ก๊าซ และไอนา 133,336 69,614
5 การจัดหานา บาบัดนาเสยี -
6. การกอ่ สร้าง 3,137 63,722 186
7. การขายส่ง การขายปลีกการซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ 2,200 2,951 734
13,190 1,466 1,362
ของใช้ส่วนบคุ คล และของใช้ในครัวเรือน 11,828
8. การขนส่ง สถานท่เี ก็บสินคา้ และการคมนาคม 50,599 22,905
9. โรงแรม และ อาหาร 7,686 27,694 405
10.ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 17,855 7,281
11.กิจการทางการเงนิ และการประกนั ภยั 4,981 12,874
12.กจิ การดา้ นอสงั หารมิ ทรพั ย์ 697 403
13.กจิ กรรมทางวชิ าชีพและเทคนิค 1,341 294
14. การบริหารและสนับสนุนและการป้องกนั ประเทศ 1,951 173 1,168
15. การบรหิ ารราชการและการป้องกันประเทศ 758 1,193
16. การศกึ ษา 311 213
17. งานดา้ นสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 5,065 3,240 98
18. กิจกรรมดา้ นศลิ ปะความบันเทิงนันทนาการ 15,349 8,958 1,825
19. การบริการสว่ นบุคคลอ่นื ๆ 9,046 3,927 6,391
20 ลกู จ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 5,914 2,579 5,119
21. องคก์ ารระหวา่ งประเทศและองคก์ ารตา่ งประเทศอน่ื ๆและสมาชิก 1,235 518 3,335
22. ไม่ทราบ 8,072 4,352
106 717
ยอดรวม 625 3,720
1. เกษตรกรรม การลา่ สัตวแ์ ละการปา่ ไม้ - -
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน - - 519
3. การผลติ รอ้ ยละ -
4. การไฟฟ้า กา๊ ซ และไอนา 100.0 -
5. การจดั หานา บาบดั นาเสีย 21.1 100.0
6. การกอ่ สรา้ ง 0.2 25.1 100.0
7. การขายสง่ การขายปลกี การซอ่ มแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์ 37.8 16.3
0.9 - 0.4
ของใช้สว่ นบคุ คล และของใช้ในครัวเรอื น 0.6 32.9 43.8
8. การขนสง่ สถานทเ่ี ก็บสนิ คา้ 3.7 1.5 0.1
9. โรงแรม และ ภัตตาคาร 0.8 0.5
10. ข้อมูลข่าวสารและการสอ่ื สาร 14.4 6.1 0.8
11. กิจการทางการเงนิ และการประกันภัย 2.2
12. กจิ การดา้ นอสงั หาริมทรัพย์ 5.1 14.3 14.4
13. กิจกรรมทางวชิ าชีพและเทคนิค 0.2 3.7 0.3
14. การบรหิ ารและการสนับสนุน 0.4 2.6 8.1
15. การบริหารราชการ และการป้องกนั ประเทศ 0.6 0.2 0.3
16. การศกึ ษา 0.1 0.1 0.7
17. งานดา้ นสขุ ภาพ และงานสงั คมสงเคราะห์ 1.4 0.4 0.8
18. กิจกรรมดา้ นศลิ ปะความบันเทงิ นันทนาการ 4.4 0.1 0.1
19. การบรกิ ารส่วนบคุ คลอื่นๆ 2.5 1.7 1.1
20. ลูกจา้ งในครวั เรือนส่วนบุคคล 1.6 4.6 4.0
21. องคก์ ารระหวา่ งประเทศและองคก์ ารตา่ งประเทศอน่ื ๆและสมาชิก 0.4 2.0 3.1
22. ไม่ทราบ 2.3 1.3 2.1
0.1 0.3 0.5
หมายเหตุ : 0.0 คือ มีข้อมูลจานวนเล็กน้อย 2.2 2.3
- 0.1 0.3
-
- -
- -

27
ตารางท่ี 5 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป ท่ีมีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ

ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน) 2563

สถานภาพการทางาน รวม ชาย หญงิ
จานวน

ยอดรวม 352,592 193,600 158,992
1. นายจ้าง 33,114 22,872 10,242
2. ลูกจ้างรฐั บาล 31,259 17,071 14,188
3. ลูกจ้างเอกชน 178,496 95,441 83,055
4. ทางานส่วนตวั 78,490 42,844 35,646
5. ชว่ ยธรุ กิจครัวเรอื น 31,233 15,372 15,861
6. การรวมกลุ่ม
- - -

รอ้ ยละ

ยอดรวม 100.0 100.0 100.0
1. นายจ้าง
2. ลกู จ้างรฐั บาล 9.4 11.8 6.4
3. ลกู จ้างเอกชน
4. ทางานส่วนตวั 8.9 8.8 8.9
5. ช่วยธรุ กจิ ครัวเรอื น
6. การรวมกล่มุ 50.6 49.3 52.3

22.3 22.2 22.4

8.8 7.9 10.0

---

28

ตารางที่ 6 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ท่มี ีงานทา จาแนกตามชวั่ โมงการทางาน
ต่อสัปดาหแ์ ละเพศ ไตรมาสที่ 2 (เมษายน - มิถนุ ายน) 2563

ช่ัวโมงการทางาน รวม ชาย หญิง
จานวน

ยอดรวม 352,592 193,600 158,992
1. 0 ช่ัวโมง 13,028 8,504 4,524
2. 1-9 ชั่วโมง 1,237 553 684
3. 10-19 ช่ัวโมง 4,719 1,764 2,955
4. 20-29 ชั่วโมง 24,043 10,309 13,734
5. 30-34 ชั่วโมง 36,468 18,871 17,597
6. 35-39 ช่ัวโมง 61,405 33,296 28,109
7. 40-49 ช่ัวโมง 176,280 75,233
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 35,412 101,047 16,156
19,256
ยอดรวม 100.0 ร้อยละ 100.0
1. 0 ชั่วโมง 3.7 2.8
2. 1-9 ชั่วโมง 0.4 100.0 0.4
3. 10-19 ชั่วโมง 1.4 4.4 1.9
4. 20-29 ช่ัวโมง 6.8 0.3 8.6
5. 30-34 ช่ัวโมง 10.3 0.9 11.1
6. 35-39 ช่ัวโมง 17.4 5.4 17.7
7. 40-49 ชั่วโมง 50.0 9.7 47.3
8. 50 ช่ัวโมงข้ึนไป 10.0 17.2 10.2
52.2
9.9

29

ตารางที่ 7 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึน้ ไป ท่ีมีงานทา จาแนกตามระดบั การศกึ ษาท่ีสาเร็จและเพศ
ไตรมาสที่ 2 ( เมษายน - มิถุนายน ) 2562

ระดบั การศกึ ษาที่สาเร็จ รวม ชาย หญิง

จานวน

ยอดรวม 352,592 193,600 158,992
2,234 555 1,679
1. ไม่มีการศึกษา 54,923 27,450
2. ตา่ กวา่ ประถมศึกษา 65,696 27,474 28,232
3. ประถมศึกษา 72,425 37,464 23,055
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 76,794 49,370 39,141
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 55,556 37,655 27,911
21,238 27,646 11,230
5.1 สายสามัญ - 10,009 -
5.2 สายอาชีวศึกษา 80,157 39,436
5.3 สายวชิ าการศึกษา 32,213 - 20,206
6. มหาวทิ ยาลัย 42,249 40,991 15,497
6.1 สายวชิ าการ 5,695 12,007 3,733
6.2 สายวชิ าชีพ - 26,752 -
6.3 สายวชิ าการศึกษา 93 2,232 -
7. อืน ๆ
8. ไม่ทราบ -
93
รอ้ ยละ

ยอดรวม 100.0 100.0 100.0
1. ไม่มีการศึกษา
2. ต่ากวา่ ประถมศึกษา 0.6 0.3 1.1
3. ประถมศึกษา 15.7 14.2 17.3
4. มัธยมศึกษาตอนต้น 18.6 19.4 17.8
5. มัธยมศึกษาตอนปลาย 20.6 25.5 14.5
21.8 19.4 24.6
5.1 สายสามัญ 15.8 14.3 17.6
5.2 สายอาชีวศึกษา 6.0 5.2 7.0
5.3 สายวชิ าการศึกษา
6. มหาวทิ ยาลยั - - -
6.1 สายวชิ าการ 22.7 21.2 24.7
6.2 สายวชิ าชีพ 9.1 6.2 12.7
6.3 สายวชิ าการศึกษา 12.0 13.8 9.7
7. อนื ๆ 1.6 1.2 2.3
8. ไม่ทราบ
- - -
หมายเหตุ : 0.0 คือ มีข้อมูลจ่านวนเลก็ น้อย #V0A.0LUE! 0.0 0.0 - 0.0

ตารางเปรียบเทยี บขอ้ มลู หน้า
ไตรมาสท่ี 2 ปี 2562 และ ปี 2563
33
ตารางท่ี 1 จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป 34
จำแนกตามสถานภาพแรงงาน ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563 35
36
ตารางที่ 2 จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขน้ึ ไป 37
จำแนกตามระดบั การศึกษาที่สำเรจ็ ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563 38
39
ตารางที่ 3 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขน้ึ ไป ที่มีงานทำ
จำแนกตามอาชพี ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ตารางท่ี 4 จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึน้ ไป ทีม่ งี านทำ
จำแนกตามอตุ สาหกรรม ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ตารางที่ 5 จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป ทีม่ งี านทำ
จำแนกตามสถานภาพการทำงาน ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ตารางท่ี 6 จำนวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป ที่มีงานทำ
จำแนกตามชว่ั โมงการทำงานตอ่ สัปดาห์ ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ตารางที่ 7 จำนวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป ท่ีมีงานทำ
จำแนกตามระดับการศึกษาทสี่ ำเรจ็ ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563

33

ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี นึ้ ไป จาแนกตามสถานภาพแรงงานและเพศ
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562- 2563

สถานภาพแรงงาน ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
ผูม้ ีอายุ 15 ปขี นึ้ ไป
1. ผู้อยใู่ นกำลังแรงงำน จานวน จานวน

1.1 กำลงั แรงงำนปัจจุบัน 518,482 249,792 268,690 526,394 253,410 272,984
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 386,084 200,635 185,449 359,975 198,362 161,613
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน 385,969 200,520 185,449 359,556 198,362 161,194
384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 158,992
1.2 ผู้ท่ีรอฤดกู ำล
2. ผู้ไม่อยู่ในกำลงั แรงงำน 1,463 1,463 - 6,964 4,762 2,202
2.1 ทำงำนบำ้ น 115 115 - 419 - 419
2.2 เรียนหนังสือ 83,241
2.3 อื่นๆ 132,398 49,157 37,392 166,419 55,048 111,371
41,026 3,634 13,490 61,288 4,048 57,240
ผ้มู ีอายุ 15 ปีขน้ึ ไป 28,855 15,365 32,359 31,834 17,021 14,813
1. ผู้อย่ใู นกำลงั แรงงำน 62,517 30,158 73,297 33,979 39,318
ร้อยละ ร้อยละ
1.1 กำลังแรงงำนปจั จบุ ัน
1.1.1 ผู้มีงำนทำ 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
1.1.2 ผู้ว่ำงงำน
74.5 80.3 69.0 68.4 78.3 59.2
1.2 ผู้ท่ีรอฤดกู ำล
2. ผู้ไม่อยใู่ นกำลังแรงงำน 74.5 80.3 69.0 68.3 78.3 5.9
2.1 ทำงำนบำ้ น
2.2 เรียนหนังสอื 74.2 79.7 69.0 67.0 76.4 58.2
2.3 อ่ืนๆ
0.3 0.6 - 1.3 1.9 0.8

--- 0.1 - 0.2

25.5 19.7 31.0 31.6 21.7 40.8

7.9 1.5 13.9 11.6 1.6 21.0

5.5 6.1 5.1 6.1 6.7 5.4

12.1 12.1 12.0 13.9 13.4 14.4

34
ตารางท่ี 2 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเรจ็ การศึกษา

ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ระดบั การศกึ ษาที่สาเร็จ ไตรมาส 2/ 2562 ไตรมาส 2 / 2563 หญงิ
รวม ชาย หญิง รวม ชาย

จานวน จานวน

ยอดรวม 518,482 249,791 268,690 526,394 253,410 272,984
1. ไม่มีการศกึ ษา 5,939 1,316 4,622 8,976 3,929 5,047
2. ต่ากว่าประถมศกึ ษา 53,466 72,392 40,905 67,619
3. ประถมศกึ ษา 125,858 42,368 42,594 108,524 45,186 43,668
4. มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 84,962 67,341 52,940 88,854 66,330 49,948
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 120,281 46,423 48,543 116,278 47,977 55,334
94,966 31,488 41,032 103,311 32,897 40,570
5.1 สายสามัญ 72,520 14,935 7,511 73,467 15,080 14,764
5.2 สายอาชีวศกึ ษา 22,446 - - 29,844 - -
5.3 สายวิชาการศกึ ษา 38,745 46,854 48,131 50,490
6. มหาวิทยาลยั - 16,077 16,997 - 14,467 23,317
6.1 สายวิชาการ 85,599 20,580 21,143 98,621 31,170 20,235
6.2 สายวิชาชีพ 33,074 2,088 8,714 37,784 2,494 6,938
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 41,723 - - 51,405 - -
7. อืนๆ 10,802 132 745 9,432 952 878
8. ไม่ทราบ
- ร้อยละ 100.0 - ร้อยละ 100.0
ยอดรวม 877 100.0 1,830
100.0
100.0 100.0

1. ไม่มีการศกึ ษา 1.1 0.5 1.7 1.7 1.6 1.8
2. ตา่ กว่าประถมศกึ ษา 24.3 21.4 26.9 20.6 16.1 24.8
3. ประถมศกึ ษา 16.4 17.0 15.9 16.9 17.8 16.0
4. มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 23.2 27.0 19.7 22.1 26.2 18.3
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 18.3 18.6 18.1 19.7 18.9 20.3
14.0 12.6 15.3 14.0 13.0 14.9
5.1 สายสามัญ 4.3 6.0 2.8 5.7 6.0 5.4
5.2 สายอาชีวศกึ ษา
5.3 สายวิชาการศกึ ษา ------
6. มหาวิทยาลยั 16.5 15.4 17.4 18.8 19.0 18.4
6.1 สายวิชาการ 6.4 6.4 6.3 7.2 5.7 8.5
6.2 สายวิชาชีพ 8.0 8.2 7.9 9.8 12.3 7.4
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 2.1 0.8 3.2 1.8 1.0 2.5
7. อืนๆ
8. ไม่ทราบ ------
0.2 0.1 0.3 0.2 0.4 0.4

ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ท่ีมีงานทา จาแนกตามอาชีพและเพศ 35
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563
หญงิ
อาชพี ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญงิ รวม ชาย 158,992
4,865
จานวน จานวน 13,673
6,338
ยอดรวม 384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 12,653
1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมาย ขา้ ราชการระดบั อาวุโส 33,902
11,410 7,247 4,163 11,842 6,977 22,325
และผู้จัดการ 15,053 5,754 9,299 19,058 5,385 20,272
2. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ 27,285
3. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ 10,073 3,679 6,394 16,361 10,023 17,679
16,284 5,795 10,489 15,130 2,477 -
และอาชีพที่เกี่ยวขอ้ ง 78,743 33,328 45,415 63,974 30,072
4. เสมียน 100.0
5. พนักงานบรกิ ารและพนักงานในร้านคา้ 66,160 40,087 26,073 61,924 39,599 3.1
8.6
และตลาด 70,517 38,093 32,424 56,856 36,584 4.0
6. ผู้ปฏบิ ตั งิ านที่มีฝีมือในดา้ นการเกษตร 8.0
70,003 39,705 30,298 69,111 41,826 21.3
และการประมง 14.0
7. ผู้ปฏบิ ตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝมี ือ 46,263 25,369 20,894 38,336 20,657 12.8
17.2
และธุรกิจอื่นๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง -- - -- 11.0
8. ผู้ปฏิบตั กิ ารโรงงานและเครอ่ื งจักร รอ้ ยละ 100.0 รอ้ ยละ -
100.0 100.0 --
และผู้ปฏิบัตงิ านดา้ นการประกอบ 100.0 100.0
9. อาชีพข้ันพ้ืนฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย 3.4 3.6
3.0 3.6 2.2 5.4 2.8
และการใหบ้ รกิ าร 3.9 2.9 5.0
10.คนงานซ่ึงมิไดจ้ าแนกไว้ในหมวดอื่น 4.6 5.2
2.6 1.9 3.4 4.3 1.3
ยอดรวม 4.3 2.9 5.7 18.1 15.5
1. ผู้บัญญัตกิ ฎหมาย ขา้ ราชการระดบั อาวุโส 20.5 16.7 24.5
17.6 20.5
และผู้จดั การ 17.2 20.1 14.1
2. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นตา่ งๆ 16.1 18.8
3. ผู้ประกอบวิชาชีพดา้ นเทคนิคสาขาตา่ งๆ 18.3 19.2 17.5
19.6 21.6
และอาชีพท่ีเก่ียวขอ้ ง 18.2 19.9 16.3
4. เสมียน 10.9 10.7
5. พนักงานบริการและพนักงานในรา้ นคา้ 12.0 12.8 11.3 --
-- --
และตลาด ---
6. ผู้ปฏิบัตงิ านท่ีมีฝมี ือในดา้ นการเกษตร

และการประมง
7. ผู้ปฏิบตั งิ านดา้ นความสามารถทางฝีมือ

และธุรกจิ อ่ืนๆที่เกี่ยวขอ้ ง
8. ผู้ปฏบิ ตั กิ ารโรงงานและเครอ่ื งจักร

และผู้ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการประกอบ
9. อาชีพขั้นพ้ืนฐานตา่ งๆ ในดา้ นการขาย

และการให้บรกิ าร
10. คนงานซ่ึงมิไดจ้ าแนกไว้ในหมวดอื่น

36

ตารางท่ี 4 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป ทมี่ ีงานทา จาแนกตามอุตสาหกรรม และเพศ
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562- 2563

อตุ สาหกรรม ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญิง
รวม ชาย หญิง
จานวน จานวน

ยอดรวม 384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 158,992
48,517 29,015
1. เกษตรกรรม การล่าสัตวแ์ ละการปา่ ไม้ 77,532 74,410 48,559 25,851
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน 801 801 - 573 - 573
3. การผลิต 137,754 62,900 74,854
133,336 63,722 69,614
4. การไฟฟา้ ก๊าซ และไอนา 711 70 641 3,137 2,951 186
5 การจดั หานา บาบัดนาเสีย 1,341 1,246 95 2,200 1,466 734
6. การก่อสร้าง 22,411 19,190 3,221 13,190 11,828
7. การขายสง่ การขายปลีกการซ่อมแซมยานยนต์ รถจกั รยานยนต์ 1,362
31,644 30,607
ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครัวเรือน 62,251 3,281 - 50,599 27,694 22,905
8. การขนส่ง สถานทเ่ี ก็บสินคา้ และการคมนาคม 3,281 10,954 7,686 7,281 405
9. โรงแรม และ อาหาร 26,891 15,937 17,855 4,981
57 57 12,874
10.ข้อมูลข่าวสารและการสือ่ สาร 114 1,359 495 697 294 403
11.กิจการทางการเงนิ และการประกันภัย 1,854 1,341 173
12.กจิ การดา้ นอสังหารมิ ทรัพย์ 3,170 577 2,593 1,951 758 1,168
13.กิจกรรมทางวชิ าชีพและเทคนิค 1,973 230 1,743 213 1,193
14. การบริหารและสนับสนุนและการป้องกนั ประเทศ 3,401 1,749 1,652 311 3,240
15. การบรหิ ารราชการและการป้องกันประเทศ 14,040 8,082 5,958 5,065 8,958 98
16. การศกึ ษา 10,784 2,394 8,390 15,349 3,927 1,825
331 2,182 9,046 2,579 6,391
17. งานดา้ นสขุ ภาพ และงานสงั คมสงเคราะห์ 2,513 800 5,914 518 5,119
18. กิจกรรมดา้ นศลิ ปะความบนั เทงิ นันทนาการ 1,561 4,767 761 1,235 4,352 3,335
19. การบรกิ ารส่วนบุคคลอนื่ ๆ 10,698 108 5,931 8,072 106
20 ลูกจา้ งในครวั เรือนส่วนบุคคล 1,425 1,317 717
21. องคก์ ารระหวา่ งประเทศและองคก์ ารตา่ งประเทศอืน่ ๆและสมาชิก - - 625 - 3,720
22. ไม่ทราบ - - - - -
รอ้ ยละ - - รอ้ ยละ 519
-
ยอดรวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 -
21.1 25.1
1. เกษตรกรรม การลา่ สตั วแ์ ละการป่าไม้ 20.2 24.4 15.6 0.2 100.0
37.8 - 16.3
2. การทาเหมืองแร่ และเหมืองหิน 0.2 0.4 - 0.9 32.9 0.4
0.6 1.5 43.8
3. การผลติ 35.8 31.6 40.4 3.7 0.8 0.1
6.1 0.5
4. การไฟฟ้า กา๊ ซ และไอนา 0.2 0.0 0.3 0.8

5. การจัดหานา บาบดั นาเสีย 0.3 0.6 0.1

6. การกอ่ สร้าง 5.8 9.6 1.7

7. การขายส่ง การขายปลกี การซ่อมแซมยานยนต์ รถจักรยานยนต์

ของใช้ส่วนบุคคล และของใช้ในครวั เรือน 16.2 15.9 16.5 14.4 14.3 14.4
2.2 3.7 0.3
8. การขนส่ง สถานที่เก็บสนิ คา้ 0.9 1.6 - 5.1 2.6 8.1
0.2 0.2 0.3
9. โรงแรม และ ภตั ตาคาร 7.0 5.5 8.6 0.4 0.1 0.7
0.6 0.4 0.8
10. ข้อมูลข่าวสารและการส่ือสาร 0.0 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1
1.4 1.7 1.1
11. กจิ การทางการเงนิ และการประกันภยั 0.5 0.7 0.3 4.4 4.6 4.0
2.5 2.0 3.1
12. กิจการดา้ นอสงั หาริมทรพั ย์ 0.8 0.3 1.4 1.6 1.3 2.1
0.4 0.3 0.5
13. กิจกรรมทางวชิ าชีพและเทคนิค 0.5 0.1 0.9 2.3 2.2 2.3
0.1 0.1 0.3
14. การบรหิ ารและการสนับสนุน 0.9 0.9 0.9
---
15. การบรหิ ารราชการ และการป้องกันประเทศ 3.7 4.1 3.2 ---

16. การศกึ ษา 2.8 1.2 4.5

17. งานดา้ นสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 0.7 0.2 1.2

18. กิจกรรมดา้ นศลิ ปะความบนั เทงิ นันทนาการ 0.4 0.4 0.4

19. การบรกิ ารสว่ นบคุ คลอน่ื ๆ 2.8 2.4 3.2

20. ลกู จา้ งในครวั เรือนส่วนบคุ คล 0.3 0.1 0.8

21. องคก์ ารระหวา่ งประเทศและองคก์ ารตา่ งประเทศอื่นๆและสมาชิก - - -

22. ไม่ทราบ ---

37

ตารางที่ 5 จานวนและร้อยละของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป ที่มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางานและเพศ
ไตรมาสท่ี 2 พ.ศ. 2562 - 2563

สถานภาพการทางาน ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง

จานวน จานวน

ยอดรวม 384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 158,992
1. นายจ้าง 35,748 26,770 8,978 33,114 22,872 10,242
2. ลกู จ้างรัฐบาล 28,063 11,985 16,078 31,259 17,071 14,188
3. ลูกจ้างเอกชน 196,108 103,493 92,615 178,496 95,441 83,055
4. ทางานสว่ นตวั 84,544 39,038 45,506 78,490 42,844 35,646
5. ช่วยธุรกิจครวั เรือน 40,043 17,771 22,272 31,233 15,372 15,861
6. การรวมกลุ่ม -
- - - - -
ยอดรวม ร้อยละ 100.0 ร้อยละ
1. นายจา้ ง 100.0 4.8 100.0 100.0
2. ลกู จ้างรฐั บาล 9.3 100.0 8.7 9.4 100.0 6.4
3. ลูกจ้างเอกชน 7.3 13.4 49.9 8.9 11.8 8.9
4. ทางานสว่ นตวั 51.0 6.0 24.5 50.6 8.8 52.3
5. ช่วยธุรกิจครวั เรอื น 22.0 52.0 12.1 22.3 49.3 22.4
6. การรวมกลุ่ม 10.4 19.7 - 8.8 22.2 10.0
- 8.9 - 7.9 -

- -

38

ตารางที่ 6 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปขี น้ึ ไป ท่ีมีงานทา จาแนกตามชว่ั โมงการทางาน

ตอ่ สัปดาหแ์ ละเพศ ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ช่ัวโมงการทางาน ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง
ยอดรวม
1. 0 ชั่วโมง จานวน จานวน
2. 1-9 ช่ัวโมง
3. 10-19 ช่ัวโมง 384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 158,992
4. 20-29 ชั่วโมง 3,434 1,051 2,383 13,028 8,504 4,524
5. 30-34 ช่ัวโมง - - - 1,237 553 684
6. 35-39 ชั่วโมง 283 78 205 4,719 1,764 2,955
7. 40-49 ช่ัวโมง 7,852 7,999 24,043 10,309 13,734
8. 50 ช่ัวโมงขึ้นไป 15,851 12,040 36,468 18,871 17,597
25,184 13,144 61,405 33,296 28,109
ยอดรวม 48,608 23,005 25,603 176,280 75,233
1. 0 ช่ัวโมง 175,670 98,259 77,411 35,412 101,047 16,156
2. 1-9 ชั่วโมง 115,476 56,772 58,704 19,256
3. 10-19 ช่ัวโมง ร้อยละ 100.0 ร้อยละ 100.0
4. 20-29 ช่ัวโมง 100.0 100.0 100.0 3.7 100.0 2.8
5. 30-34 ช่ัวโมง 0.9 1.3 0.4 0.4
6. 35-39 ช่ัวโมง - 0.5 - 1.4 4.4 1.9
7. 40-49 ช่ัวโมง 0.1 - 0.1 6.8 0.3 8.6
8. 50 ช่ัวโมงขนึ้ ไป 4.1 4.3 10.3 0.9 11.1
6.5 0.0 7.1 17.4 5.4 17.7
12.6 3.9 13.8 50.0 9.7 47.3
45.7 6.0 41.7 10.0 17.2 10.2
30.1 11.6 31.7 52.2
49.4 9.9
28.5

หมายเหตุ : 0.0 คือ มีข้อมูลจานวนเล็กน้อย

39

ตารางที่ 7 จานวนและรอ้ ยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ที่มีงานทา จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จและเพศ
ไตรมาสที่ 2 พ.ศ. 2562 - 2563

ระดบั การศกึ ษาที่สาเร็จ ไตรมาส 2 / 2562 ไตรมาส 2 / 2563
รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญงิ

จานวน จานวน

ยอดรวม 384,506 199,057 185,449 352,592 193,600 158,992
1. ไม่มีการศกึ ษา 813 694 119 2,234 555 1,679
2. ต่ากว่าประถมศกึ ษา 54,923 27,450
3. ประถมศกึ ษา 66,737 32,257 34,480 65,696 27,474 28,232
4. มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 69,874 39,682 30,192 72,425 37,464 23,055
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 88,174 52,186 35,988 76,794 49,370 39,141
79,937 37,341 42,596 55,556 37,655 27,911
5.1 สายสามัญ 62,842 27,334 35,508 21,238 27,646 11,230
5.2 สายอาชีวศกึ ษา 17,095 10,007 7,088 - 10,009
5.3 สายวิชาการศกึ ษา 80,157 39,436
6. มหาวิทยาลัย - - -- 32,213 - 20,206
6.1 สายวิชาการ 78,226 36,897 41,329 42,249 40,991 15,497
6.2 สายวิชาชีพ 29,848 15,068 14,780 5,695 12,007 3,733
6.3 สายวิชาการศกึ ษา 39,847 19,951 19,896 - 26,752
7. อืนๆ 8,531 1,878 6,653 93 2,232 -
8. ไม่ทราบ -
- - - -
745 - 745 93
ร้อยละ ร้อยละ

ยอดรวม 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
1. ไม่มีการศกึ ษา
2. ต่ากว่าประถมศกึ ษา 0.2 0.3 0.1 0.6 0.3 1.1
3. ประถมศกึ ษา
4. มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 17.4 16.2 18.6 15.7 14.2 17.3
5. มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
18.2 19.9 16.3 18.6 19.4 17.8
5.1 สายสามัญ
5.2 สายอาชีวศกึ ษา 22.9 26.3 19.4 20.6 25.5 14.5
5.3 สายวิชาการศกึ ษา
6. มหาวิทยาลัย 20.8 18.8 22.9 21.8 19.4 24.6
6.1 สายวิชาการ
6.2 สายวิชาชีพ 16.3 13.7 19.1 15.8 14.3 17.6
6.3 สายวิชาการศกึ ษา
7. อืนๆ 4.4 5.1 3.8 6.0 5.2 7.0
8. ไม่ทราบ
------

20.3 18.5 22.3 22.7 21.2 24.7

7.8 7.6 8.0 9.1 6.2 12.7

10.4 10.0 10.7 12.0 13.8 9.7

2.1 0.9 3.6 1.6 1.2 2.3

------

0.2 - 0.4 0.0 0.0 -


Click to View FlipBook Version