แผนการจดั การเรียนรู้
ช่อื วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ รหัสวิชา 2101–2005
สาขาวชิ าช่างยนต์ หลักสตู ร ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
จดั ทาโดย
นายชยั พร วชิ ยั คา
ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะชานาญการ
สาขาวชิ าเทคนคิ เครอ่ื งกล สาขางานยานยนต์
สานกั งานคะะกรรกการการอาชวี ึกกาา กระทรวงึกก าาธิการ
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารึกกาา 2562
คานา
แผนการจดั การเรียนรู้ “งานไฟฟา้ รถยนต”์ รหัสวิชา 2101-2005 เรียบเรียงข้ึนตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
เน้ือหาภายในแบ่งออกเป็น 11 บท ประกอบด้วยเน้ือหาเก่ียวกับทฤษฎีไฟฟ้าเบื้องต้น งานพื้นฐาน
ทางไฟฟ้ารถยนต์ แบตเตอร่ี ระบบสตาร์ท ระบบจุดระเบิด ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์ ระบบ
ไฟชาร์จ ระบบไฟแสงสว่าง ระบบสัญญาณ ระบบเครื่องมือวัด และระบบอานวยความสะดวก เป็น
ต้น โดยแต่ละหน่วยการเรียนจะประกอบด้วยเนื้อหาทางทฤษฎี กิจกรรมฝึกปฏิบัติงานเพ่ือเพิ่มทักษะ
การเรียนรู้
สาหรับแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชานี้ ผู้เรียบเรียงได้ทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจ และเวลาใน
การศึกษาค้นคว้า รวบรวม ปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นปัจจุบัน โดยได้มุ่งเน้นสมรรถนะอาชีพและบูรณ า
การปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพ่ือใหท้ ันตอ่ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ซง่ึ มรี ายละเอียดเร่ิมตั้งแต่
ความรู้พ้ืนฐานจนถึงระดับมืออาชีพทางด้านงานไฟฟ้ารถยนต์ โดยมีความมุ่งหวังท่ีจะให้เกิด
ประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน และเป็นแนวทางสาหรับผู้ท่ีเร่ิมจะศึกษา หรือผู้ที่ต้องการข้อมูล
เพิ่มเติมเพื่อการแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึนระหว่างการใช้งานทางด้านระบบไฟฟ้าของรถยนต์ และ
นอกจากน้ันนักเรียนยังสามารถนาส่ิงท่ีได้เรียนรู้ในรายวิชาไปใช้ และนาไปปฏิบัติในชีวิตประจาวันได้
อย่างสมบูรณ์
ท้ายที่สุดนี้ ผู้เรียบเรียงขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้ และผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องต่าง ๆ ซ่ึงเป็น
ส่วนสาคัญที่ทาให้แผนการจัดการเรียนรูร้ ายวิชา งานไฟฟ้ารถยนต์นี้เสร็จสมบูรณ์เป็นท่ีเรียบร้อย และ
หากผู้ท่ีศึกษาพบข้อบกพร่องหรือมีข้อเสนอแนะประการใด ขอได้โปรดแจ้งผู้เรียบเรียงทราบด้วยจัก
ขอบคณุ ย่ิง
ชัยพร วชิ ยั คา
ผจู้ ดั ทา
วิทยาลัยเทคนิคลาพูน
รหสั และชื่อวิชา ลักาะะรายวิชา
ระดบั รายวชิ า 2101–2005 วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์
เวลาการศึกษา ชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) ชน้ั ปที ่ี 2
จานวนหนว่ ยกติ 126 ชว่ั โมง ตลอด 18 สปั ดาห์ ทฤษฎี 2 ชัว่ โมง ตอ่ สัปดาห์
3 หนว่ ยกติ
จดุ ประสงค์รายวิชา
1.เพอื่ ให้มีความเขา้ ใจหลกั การใช้เคร่ืองมือวดั เคร่ืองมือทดสอบ การถอดประกอบ ตรวจสภาพ
อปุ กรณ์ ในระบบไฟฟ้ารถยนต์
2.เพ่ือให้มีความสามารถบารุงรกั ษา แก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้ารถยนต์ รวมท้ังประมาณราคา
ค่าบรกิ ารได้
3.เพอ่ื ให้มกี จิ นิสัยที่ดีในการทางาน รับผิดชอบ ตรงต่อเวลา รักษาความสะอาดและปลอดภยั
4.เพื่อใหส้ ามารถศกึ ษาตดิ ตามความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยรี ะบบไฟฟ้ารถยนต์
กาตรฐานรายวิชา
1.เข้าใจหลักการทางานและตรวจสภาพระบบไฟฟ้ารถยนต์
2.ตรวจสภาพอุปกรณ์ในระบบไฟฟา้ รถยนต์
3.ถอดประกอบชน้ิ สว่ นอปุ กรณใ์ นระบบไฟฟา้ รถยนต์
4.แก้ไขข้อขดั ข้องของระบบไฟฟ้ารถยนต์
คาอธิบายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏบิ ัติ การใชเ้ คร่อื งมือวัดและเครื่องมือทดสอบ แก้ไขข้อขัดขอ้ งระบบจดุ ระเบดิ
ระบบสตาร์ต ระบบประจุไฟ ระบบแสงสว่าง ระบบสัญญาณและอุปกรณ์อานวยความสะดวกในระบบ
ไฟฟา้ รถยนต์
ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา
รายวชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์ รหัสวิชา 2101 – 2005
ระดบั ชนั้ ประกาึนียบัตรวิชาชพี แผนกวชิ าช่างยนต์
จานวน 3 หน่วยกิต 7 ช่วั โกง/สปั ดาห์
ระดบั พฤตกิ รรกทีพ่ กงประสงค์ เวลา
หน่วย พทุ ธิพิสยั ทักาะ จิต (ชก.)
พิสยั พสิ ยั
ที่ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ 1 2 3 4 5 6 7
14
1 ทฤษฎีไฟฟ้าเบ้อื งตน้
2 พ้ืนฐานระบบไฟฟา้ ในรถยนต์
3 เคร่อื งมอื วดั ทางไฟฟ้า 7
4 แบตเตอร่ี 14
5 ระบบสตารต์ 7
6 ระบบจุดระเบิด 7
7 ระบบไฟชารจ์ 14
7
8 งานบริการระบบไฟฟา้
รถยนต์ 14
9 ระบบไฟแสงสว่าง
10 ระบบไฟสัญญาณ 7
11 มาตรวดั รวมรถยนต์ 14
12 ระบบอานวยความสะดวก 7
สอบปลายภาค 7
รวม 126
ควากสาคญั /สดั ส่วนคะแนน (รอ้ ยละ) 40 40 20 100
หกายเหตุ ระดบั พุทธพิ สิ ยั 1 = ความจา 2 = ความเข้าใจ 3 = การนาไปใช้
4 = วิเคราะห์ 5 = สงั เคราะห์ 6 = ประเมินคา่
โคร
รหัสวิชา 2101–2005 วิชา
หนว่ ยกติ
จานวน 126 ชว่ั โมง/ภาคเรียน กจิ กรรมการเรยี นรู้/
กระบวนการสอน
สัปดาห์ เน้อื หา/หวั ข้อ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เทคนิคการสอน
บรรยาย/ถาม - ตอบ
ท่ี เร่ือง
เทคนิคการสอน
1 หนว่ ยที่ 1 1.1 หลกั การทางานของระบบไฟฟา้ บรรยาย/ถาม - ตอบ
ทฤษฎไี ฟฟา้ รถยนต์เบือ้ งตน้
เบ้อื งตน้ 1.1.1 การกาเนิดไฟฟ้า
1.1.2 แหลง่ กาเนิดพลังงานไฟฟ้า
1.1.3 ชนดิ ของกระแสไฟฟ้า
1.1.4 ตัวนาไฟฟ้า ฉนวนไฟฟ้า และ
ตวั ตา้ นทานไฟฟ้า
1.1.5 หน่วยวัดทางไฟฟา้
1.1.6 กฎของโอห์ม
1.1.7 การตอ่ วงจรไฟฟ้า
2 หนว่ ยท่ี 2 2.1 สายไฟฟ้ารถยนต์
พื้นฐานระบบ 2.1.1 ชนิดสายไฟฟ้ารถยนต์
ไฟฟ้าในรถยนต์ 2.1.2 ขนาดของสายไฟฟ้า
2.1.3 โค้ดสีสายไฟฟ้า
รงการสอน
งานไฟฟา้ รถยนต์ ระดับชน้ั ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.)
ต 3 หนว่ ยกิต เวลา 7 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
ส่อื การเรียนการสอน การวดั ประเมินผล จานวน หมาย
ชัว่ โมง เหตุ
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. Internet 2.การซกั ถามระหว่างเรียน 7
3.ชุดสาธิต 3.ความสนใจระหว่างเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทกึ การปฏบิ ัตงิ าน
5.หนังสืองานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
สมั ฤทธิท์ างการเรียน
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 7
2. Internet 2.การซกั ถามระหว่างเรียน
3.ชดุ สาธิต 3.ความสนใจระหว่างเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทึกการปฏิบตั ิงาน
5.หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
3 หน่วยที่ 2 2.1.4 ข้อต่อสายไฟฟ้าและขั้วต่อ เทคนิคการสอน
พ้ืนฐานระบบ สายไฟฟ้า บรรยาย/ถาม - ตอบ
ไฟฟ้าในรถยนต์ 2.1.5 การต่อสายไฟฟ้า
2.1.6 สัญลักษณ์อุปกรณ์ไฟฟ้าใน
รถยนต์
4 หน่วยท่ี 3 3.1 เคร่ืองมือทางไฟฟ้ารถยนต์มัลติ เทคนคิ การสอน
เคร่อื งมือวัดทาง มิเตอร์ บรรยาย/ถาม - ตอบ
ไฟฟา้ 3.1.1 มัลติมิเตอร์แบบอนาล็อก
3.1.2 ส่วนประกอบมัลติมิเตอร์แบบ
อนาล็อก
3.1.3 ข้อควรระวังและการ
บารุงรักษามัลติมิเตอร์
3.1.4 การเลือกใช้ย่านการวัดมัลติ
มิเตอร์และการอ่าน
ค่าวัดต่างๆ
3.1.5 มัลติมิเตอร์แบบดิจิตอล
3.1.6 วิธีการใช้หลอกไฟทดสอบ
1. PowerPoint 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล 7
2. Internet สมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 7
3.ชดุ สาธิต 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 2.การซักถามระหวา่ งเรยี น
5.หนงั สืองานไฟฟา้ รถยนต์ 3.ความสนใจระหวา่ งเรยี น
4.บนั ทึกการปฏิบตั ิงาน
1. PowerPoint 5.ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
2. Internet 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
3.ชุดสาธติ สัมฤทธ์ทิ างการเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
5.หนังสอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 2.การซักถามระหวา่ งเรียน
3.ความสนใจระหวา่ งเรยี น
4.บนั ทึกการปฏิบตั ิงาน
5.ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
สัมฤทธ์ิทางการเรียน
5 หนว่ ยท่ี 4 4.1 แบตเตอรี่ในรถยนต์ เทคนคิ การสอน
แบตเตอรี่ 4.1.1 หน้าที่ของแบตเตอร่ี บรรยาย/ถาม - ตอบ
4.1.2 โครงสรา้ งแบตเตอร่ี
6 หนว่ ยท่ี 4 4.1.3 ปฏกิ ริ ยิ าเคมภี ายในแบตเตอรี่ เทคนิคการสอน
แบตเตอรี่
4.1.4 การประจุไฟแบตเตอรี่ บรรยาย/ถาม - ตอบ
4.1.5 การบารงุ รกั ษาแบตเตอร่ี
7 หน่วยท่ี 5 5.1 มอเตอร์สตารต์ เทคนคิ การสอน
ระบบสตาร์ต 5.1.1 หน้าท่รี ะบบมอเตอร์สตารต์ บรรยาย/ถาม - ตอบ
5.1.2 สว่ นประกอบของระบบสตารต์
5.1.3 หลกั การทางานของมอเตอร์
สตาร์ต
5.1.4 โครงสร้างและสว่ นประกอบ
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 7
2. Internet 2.การซักถามระหวา่ งเรยี น 7
3.ชดุ สาธติ 3.ความสนใจระหว่างเรยี น 7
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทึกการปฏบิ ตั งิ าน
5.หนงั สอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
1. PowerPoint สมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
2. Internet 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
3.ชดุ สาธติ 2.การซกั ถามระหว่างเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 3.ความสนใจระหวา่ งเรียน
5.หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ 4.บันทึกการปฏิบัตงิ าน
5.ทาแบบทดสอบหลังเรียน
1. PowerPoint 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
2. Internet สมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
3.ชุดสาธติ 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 2.การซักถามระหว่างเรียน
5.หนังสอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 3.ความสนใจระหวา่ งเรียน
4.บันทึกการปฏิบตั ิงาน
5.ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
มอเตอร์สตารต์
5.1.5 การทางานของมอเตอร์สตารต์
แบบธรรมดา
5.1.6 การทางานของมอเตอร์สตาร์ต
แบบทดรอบ
5.1.7 การตรวจสอบมอเตอร์สตาร์ต
8 หนว่ ยที่ 6 6.1 ระบบจดุ ระเบิดในรถยนต์ เทคนิคการสอน
ระบบจุดระเบิด 6.1.1 หน้าทขี่ องระบบจดุ ระเบิด บรรยาย/ถาม - ตอบ
6.1.2 สว่ นประกอบของระบบจุด
ระเบดิ
6.1.3 หลกั การเกิดไฟแรงสงู
6.1.4 ระบบจุดระเบิดแบบธรรมดา
6.1.5 ระบบจดุ ระเบิดแบบ
อิเล็กทรอนกิ ส์
6.1.6 การทางานของระบบจุดระเบดิ
อิเล็กทรอนิกส์
9 หนว่ ยที่ 7 7.1 ระบบไฟชารจ์ ในรถยนต์ เทคนคิ การสอน
ระบบไฟชาร์จ 7.1.1 หน้าทขี่ องระบบไฟชาร์จ บรรยาย/ถาม - ตอบ
7.1.2 สว่ นประกอบของระบบจุด
ระเบดิ
7.1.3 หลกั การทางานของอลั เทอรเ์ น
เตอร์
สมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 7
2. Internet 2.การซักถามระหว่างเรียน
3.ชุดสาธติ 3.ความสนใจระหว่างเรียน
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บนั ทึกการปฏบิ ตั ิงาน
5.หนงั สอื งานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
สมั ฤทธ์ิทางการเรียน
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 7
2. Internet 2.การซักถามระหว่างเรียน
3.ชุดสาธติ 3.ความสนใจระหวา่ งเรียน
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทึกการปฏิบัตงิ าน
5.หนงั สอื งานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
10 หน่วยที่ 7 7.1.4 ส่วนประกอบของอลั เทอร์เน เทคนคิ การสอน
ระบบไฟชาร์จ เตอร์ บรรยาย/ถาม - ตอบ
7.1.5 การทางานของเรกเู ลเตอร์
7.1.6 ตรวจสอบและแก้ไขขอ้ ขดั ข้อง
ระบบไฟชาร์จ
11 หนว่ ยที 8 8.1 งานบรกิ ารระบบไฟฟา้ รถยนต์ เทคนิคการสอน
งานบรกิ าร 8.1.1 การบารงุ รกั ษาระบบไฟฟ้าตัว บรรยาย/ถาม - ตอบ
ระบบไฟฟ้า รถยนต์
รถยนต์ 8.1..2 การบารงุ รักษาฟวิ ส์ เทคนิคการสอน
8.1..3 การบารุงรกั ษาไฟแสงสวา่ ง
12 หน่วยท่ี 9 และไฟสญั ญาณ
8.1..4 การตรวจไฟแสดงสว่าง
ทง้ั หมด
8.1..5 การบารุงรักษาชดุ ปดั น้าฝน
และฉดี นา้ ยาลา้ ง
กระจก
9.1 ระบบไฟแสงสว่างในรถยนต์
1. PowerPoint 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล 7
2. Internet สมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 7
3.ชดุ สาธติ 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 2.การซกั ถามระหวา่ งเรยี น
5.หนงั สอื งานไฟฟ้ารถยนต์ 3.ความสนใจระหว่างเรียน
4.บันทกึ การปฏิบัติงาน
1. PowerPoint 5.ทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. Internet 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
3.ชดุ สาธติ สมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น
5.หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ 2.การซกั ถามระหวา่ งเรียน
3.ความสนใจระหวา่ งเรยี น
4.บนั ทึกการปฏิบตั ิงาน
5.ทาแบบทดสอบหลังเรียน
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
สัมฤทธทิ์ างการเรยี น
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
ระบบไฟแสง 91.1.1 ส่วนประกอบของระบบไฟ บรรยาย/ถาม - ตอบ
สวา่ ง แสงสว่าง
9.1.2 การทางานของวงจรไฟหนา้
9.1.3 การทางานของวงจรไฟหรี่ ไฟ
ทา้ ย ไฟหน้าปดั
ไฟสอ่ งป้ายทะเบียน
13 หน่วยท่ี 9 9.1.4 การทางานของวงจรไฟสอ่ ง เทคนคิ การสอน
ระบบไฟแสง สวา่ งในห้องโดยสาร บรรยาย/ถาม - ตอบ
สวา่ ง 9.1.5 ตรวจสอบอุปกรณร์ ะบบไฟ
แสงสวา่ ง
14 หนว่ ยที่ 10 1.1ระบบไฟสัญญาณในรถยนต์ เทคนคิ การสอน
ระบบ 10.1.1 การทางานของวงจรไฟเล้ียว บรรยาย/ถาม - ตอบ
ไฟสัญญาณ 10.1.2 การทางานของวงจรไฟ
ฉุกเฉิน
10.1.3 การทางานของวงจรไฟเบรก
มือ
10.1.4 การทางานของวงจรเบรก
2. Internet 2.การซกั ถามระหว่างเรียน 7
3.ชุดสาธติ 3.ความสนใจระหว่างเรยี น 7
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บนั ทกึ การปฏบิ ัตงิ าน
5.หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
1. PowerPoint สมั ฤทธ์ิทางการเรยี น
2. Internet
3.ชุดสาธติ 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน
4. ใบงานและใบความรู้ 2.การซกั ถามระหวา่ งเรียน
5.หนังสอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 3.ความสนใจระหว่างเรียน
4.บันทึกการปฏบิ ตั ิงาน
1. PowerPoint 5.ทาแบบทดสอบหลังเรียน
2. Internet 6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
3.ชุดสาธติ สมั ฤทธทิ์ างการเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
5.หนังสอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 2.การซกั ถามระหว่างเรียน
3.ความสนใจระหว่างเรียน
4.บันทึกการปฏบิ ัตงิ าน
5.ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
15 หนว่ ยที่ 11 เท้า
มาตรวัดรวม 10.1.5 การทางานของวงจรถอย
รถยนต์ หลัง
10.1.6 การทางานของวงจรแตร
รถยนต์
10.1.7 ตรวจสอบอุปกรณ์ของระบบ
ไฟสัญญาณ
11.1 มาตรวัดรวมรถยนต์ในรถยนต์ เทคนคิ การสอน
11.1.1 ส่วนประกอบของมาตรวัด บรรยาย/ถาม - ตอบ
รวม
11.1.2 การทางานของมาตรวัด
ความเร็วรถยนต์
11.1.3 การทางานของมาตรวัด
ความเร็วรอบเคร่ืองยนต์
11.1.4 การทางานของเกจวัดแรงดัน
นา้ มันเครื่อง
16 หน่วยท่ี 11 11.1.5 การทางานของเกจวัด เทคนิคการสอน
มาตรวดั รวม อุณหภูมิน้ารถยนต์ บรรยาย/ถาม - ตอบ
รถยนต์ 11.1.6 การทางานของเกจวัดระดับ
นา้ มันเชื้อเพลิง
11.1.7 ความหมายของหลอดไฟ
สมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรียน 7
2. Internet 2.การซกั ถามระหว่างเรียน
3.ชดุ สาธิต 3.ความสนใจระหวา่ งเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทกึ การปฏิบัตงิ าน
5.หนังสอื งานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลังเรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวัดผล
สมั ฤทธท์ิ างการเรียน
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบก่อนเรยี น 7
2. Internet 2.การซกั ถามระหวา่ งเรียน
3.ชดุ สาธติ 3.ความสนใจระหว่างเรียน
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บันทึกการปฏิบตั ิงาน
เตือนบนมาตรวัด
17 หนว่ ยท่ี 12 12.1 ระบบอานวยความสะดวกใน เทคนคิ การสอน
ระบบอานวย รถยนต์ บรรยาย/ถาม - ตอบ
ความสะดวก 12.1.1 ระบบปัดน้าฝนละน้าฉีดล้าง
กระจก
18 ประเมินสอน 12.1.2 ระบบละลายฝ้ากระจกหลัง
ปลายภาค 12.1.3 การทางานของท่ีจุดบุหร่ี
12.1.4 ระบบควบคุมกระจกไฟฟ้า
12.1.5 ระบบควบคุมกระจกมอง
ข้างด้วยไฟฟ้า
12.1.6 สวิตช์ควบคุมกระจกมองข้าง
ทง้ั หมด 18 สปั ดา
5.หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
สัมฤทธทิ์ างการเรยี น
1. PowerPoint 1.การทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน 7
2. Internet 2.การซักถามระหวา่ งเรียน
3.ชุดสาธิต 3.ความสนใจระหวา่ งเรยี น
4. ใบงานและใบความรู้ 4.บนั ทึกการปฏบิ ตั ิงาน
5.หนังสอื งานไฟฟา้ รถยนต์ 5.ทาแบบทดสอบหลงั เรียน
6.คะแนนจากการทาแบบทดสอบวดั ผล
สัมฤทธิท์ างการเรยี น
สอบ 40 ขอ้ 7
าห์ รวม 126 ชัว่ โมง
การวดั และประเกินผล
การประเกินผลตากสภาพจริง
1. การประเมินผลระหวา่ งเรยี น
- ทักษะ 40 %
- ประเมนิ ผลการเรียนกลางภาค 20 %
- จติ พิสัย 20 %
2. ประเมนิ ผลการเรยี นปลายภาค 20 %
รวม 100 %
เกะฑก์ ารตดั สนิ ผลการเรียน
80 – 100 4.0
75 – 79 3.5
70 – 74 3.0
65 – 69 2.5
60 – 64 2.0
55 – 59 1.5
50 – 54 1.0
ต่ากว่า 50 คะแนน 0
สอื่ การเรียนการสอน
1. PowerPoint
2. Internet
3.ชดุ สาธติ
4. ใบงานและใบควากรู้
5.หนังสืองานไฟฟ้ารถยนต์
โครงการสอนประจาภาคเรียน
รหัสวชิ า 2101 – 2005 วชิ า งานไฟฟ้ารถยนต์
ระดบั ชน้ั ประกาึนยี บตั รวชิ าชพี แผนกวิชาชา่ งยนต์
จานวน 3 หนว่ ยกติ 7 ชั่วโกง/สัปดาห์
ัสปดาห์ท่ี หัวข้อเร่ือง/งาน เวลาสอน/ครัง้ (ชก.)
ห ่นวยที่ ทฤาฎี ปฏบิ ตั ิ รวก
1 1 ทฤษฎไี ฟฟ้าเบือ้ งตน้ 1 67
2-3 2 พนื้ ฐานระบบไฟฟา้ ในรถยนต์ 2 12 14
4 3 เคร่ืองมอื วัดทางไฟฟ้า 1 67
5-6 4 แบตเตอรี่ 2 12 14
7 5 ระบบสตาร์ต 1 67
8 6 ระบบจุดระเบิด 1 67
9-10 7 ระบบไฟชาร์จ 2 12 14
11 8 งานบริการระบบไฟฟา้ รถยนต์ 1 67
12-13 9 ระบบไฟแสงสว่าง 2 12 14
14 10 ระบบไฟสัญญาณ 1 67
15-16 11 มาตรวดั รวมรถยนต์ 2 12 14
17 12 ระบบอานวยความสะดวก 1 67
18 สอบปลายภาคเรยี น
7
แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1
วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ สอนคร้งั ท่ี 1 (1-7)
เร่ือง ทฤาฏไี ฟฟ้าเบอ้ื งต้น
จานวน 7 ชก.
จดุ ประสงคท์ ั่วไปประจาหนว่ ย
กคี วากรคู้ วากเขา้ ใจในเรอื่ งทฤาฏไี ฟฟา้ เบื้องต้น
จุดประสงค์เชงิ ประจาเชิงพฤติกรรกปราจาหนว่ ย
1. อธบิ ายวธิ ีการกาเนิดไฟฟา้ ได้
2. บอกชนดิ ของไฟฟ้าได้
3. อ่านค่าหน่วยวัดทางไฟฟา้ ได้
4. บอกกฎของโอหม์ และคานวณหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้าได้
5. อธิบายวธิ ีการต่อวงจรไฟฟ้าท่ีใช้ในรถยนต์ได้
สกรรถนะปราจาหนว่ ยวิชา
1.วิเคราะหแ์ ละปฏิบัติงานเก่ียวกบั งานไฟฟ้ารถยนต์ ใหท้ ันต่อความก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยี ระบบ
ไฟฟา้ รถยนต์
2.ศกึ ษาและวางแผนการใช้เครอ่ื งมือวดั เครอ่ื งมอื ทดสอบ การถอดประกอบ ตรวจสภาพอปุ กรณ์ใน
ระบบไฟฟา้ รถยนต์ บารงุ รักษา แก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้ารถยนต์ ประมาณราคาค่าบริการได้
3.อธบิ ายหลักการทางานและตรวจสภาพระบบไฟฟา้ รถยนต์ การใช้เครอ่ื งมือวดั และเคร่ืองมือ
สาระสาคญั (สรปุ เน้อื หา / หัวข้อการสอน)
การศึกษาวิชาไฟฟ้ารถยนต์ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีไฟฟ้า
เบื้องต้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจพื้นฐานด้านวีธีการกาเนิด การนาไฟฟ้ามาใช้งาน ชนิดของกระแสไฟฟ้า การ
อ่านคา่ และการคานวณหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้า ในหน่วยการเรียนน้ีได้กาหนดเนื้อหาและจุดประสงค์การเรียนรู้
ตามลาดับดังนี้
กจิ กรรกครู กิจกรรกการเรียนสอน หลกั ปรชั ญาของเึราฐกจิ พอเพยี ง 3
กิจกรรกผเู้ รยี น D ทบี่ ูระาการเขา้ สู่บทเรียนการสอน
เตรีอมความพร้อมด้านวัสดุ อุปกรณ์ให้
ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ฟัง สอดคล้องกับงานได้อย่างถูกต้องตาม
หลกั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1.ผ้เู รยี นรบั ฟังจุดประสงค์กลุ่มวชิ า ถาก – ตอบ และคุณลักษณะ 3 D (ความ
คาอธิบายรายวิชา และกรอบมาตรฐาน รับผิดชอบ ความประหยัด ความขยัน
สมรรถนะหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชพี อภปิ ราย ความอดทน และความแบ่งปัน)
อนื่ ๆ (ระบุ)
ของสานักงานคณะกรรมการการ ............................
อาชีวศึกษา แนวทางวัดผลและการ .............................
ประเมินผลการเรียนรู้ พรอ้ มทงั้ ซกั ถามและ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียน
2.ครูและผู้เรียนพดู คุยกนั เรื่องแหล่งกาเนดิ
ไฟฟ้าท่ีใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ของมนษุ ย์
3.ผเู้ รยี นช่วยกนั ยกตัวอยา่ งแหล่งกาเนิด
ไฟฟ้าที่ใช้ในชีวิตประจาวัน ได้แก่
1)จากไฟฟา้ ในอากาศทส่ี ามารถสังเกตได้
คอื การเกิดฟา้ แลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ฯลฯ
2)จากพลังงานความร้อน เช่น ความรอ้ น
จากแสงอาทติ ย์เปลี่ยนเป็นพลงั งานไฟฟ้า
โดยใช้โซลาเซลล์
3)จากสตั วบ์ างชนิดซึ่งมปี ระจุไฟฟา้ ใน
ตัวเอง เช่น ปลาไหลไฟฟา้ ฯลฯ
4)จากปฏิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอร่ี ถ่ายไฟ
ฉาย ฯลฯ
5)จากการเหน่ยี วนาโดยการหมนุ ขดลวดตดั
กับสนามแม่เหล็ก เชน่ ไดนาโมเยนเนอเร
เตอร์ อลั เตอร์เนเตอร์ ฯลฯ
6)จากการเสียดสี เช่น นาผา้ ไหมถูกบั แทง่
แกว้ จะเกิดไฟฟา้ สถิตประจบุ วกทแี่ ท่งแก้ว
ประจุลบทีผ่ า้ ไหม เป็นต้น
กจิ กรรกครู กิจกรรกผูเ้ รยี น หลักปรัชญาของเึราฐกจิ
พอเพยี ง 3 D ทีบ่ ูระาการเข้าสู่
บทเรียนการสอน
ขัน้ การถ่ายถอดเนอื้ หาสาระ
4.ครอู ธิบายการกาเนดิ และแหลง่ กาเนิดไฟฟ้า
ชนิดของไฟฟา้ หน่วยวดั ทางไฟฟ้า กฎของโอห์ม
และการคานวณหาคา่ ตา่ งๆ ทางไฟฟ้า และ
วงจรไฟฟ้าทใ่ี ช้ในรถยนต์ โดยใชแ้ ผน่ ใสและฉาย
วดี ที ัศนใ์ หผ้ ู้เรียน
5.ครูอธบิ าย “อิเลก็ ตรอนอสิ ระ” เป็นการ
เคลือ่ นที่ของอิเลก็ ตรอนอิสระจากอะตอมหนงึ่ ไป
ยงั อะตอมหน่ึงเรยี กวา่ “การไหลของ
กระแสไฟฟา้ ” ซงึ่ เป็นการกาเนดิ ของไฟฟ้า
6.ครูและผ้เู รียนสาธิตเกีย่ วกบั ไฟฟา้ สถิต (Static
Electricity) โดยนาแท่งแกว้ ถูกับผา้ ไหม แทง่
แก้วจะเกิดไฟฟ้าสถติ ประจุบวก ผา้ ไหมจะเกิด
ไฟฟ้าสถิตประจลุ บ ไฟฟ้าประจุเหมือนกันเม่ือ
เขา้ ใกล้กนั จะเกิดการผลกั กัน และไฟฟ้าประจุ
ต่างกนั เม่ือเข้าใกล้กนั จะเกิดการดดู กนั
กจิ กรรกครู กจิ กรรกผเู้ รียน หลักปรชั ญาของเึราฐกจิ พอเพียง 3
D ท่ีบรู ะาการเขา้ สบู่ ทเรยี นการสอน
ขั้นสรุป/การนาควากรไู้ ปใช้
13.ผู้เรียนสรปุ การกาเนิด และแหลง่ กาเนิด
ไฟฟ้า ชนิดของไฟฟ้า หน่วยวัดทางไฟฟ้า
กฎของโอห์ม และการคานวณหาคา่ ต่างๆ
ทางไฟฟ้า และวงจรไฟฟ้าท่ีใช้ในรถยนต์
และให้ผู้เรยี นวางแผนนาหลกั เศรษฐกจิ
พอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ที่
จาเป็นโดยทวั่ ไป
14.ผเู้ รยี นทาแบบประเมนิ ผลการเรยี นรู้
กจิ กรรมใบงาน และแบบทดสอบหน่วยที่ 1
ข้นั การประเกินผล
1.สังเกตพฤติกรรมรายบคุ คล
2.ตรวจใบงาน
3.ตรวจแบบประเมนิ กิจกรรมการเรยี นรู้
4.ตรวจแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 1
5ประเมนิ พฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
กลุ่ม
6สังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมกลมุ่
7การสังเกตและประเมินพฤติกรรมด้าน
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยม และ
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
ส่ือการเรยี นการสอน
แบบจาลอง ของจรงิ ใบความรู้ ใบปฏิบตั งิ าน ใบมอบหมายงาน
หนงั สืองานไฟฟ้ารถยนต์ Powerpoint สือ่ ออนไลน์ อน่ื ๆ (ระบ)ุ
...................................................................................................................................................................
การวดั ผลและประเกนิ ผลตากควากจริง
เกะฑก์ ารวดั ผล
ดา้ นความรู้ รอ้ ยละ 60
ด้านทักษะ รอ้ ยละ 20
ดา้ นพฤติกรรม รอ้ ยละ 20
เครื่องกอื วดั /ประเกิน
แบบทดสอบกอ่ น – หลงั เรียน
การทดสอบ
แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
แบบสังเกต
แบบตรวจสอบรายการ
แบบมาตราสว่ นประมาณค่า
สถานการณ์จาลอง
โครงการ/สิง่ ประดิษฐ์
แฟ้มสะสมผลงาน
อนื่ ๆ(ระบุ).......................................................................................................................
แบบทดสอบหน่วยท่ี 1 หน้าที่ 1
ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ เรอ่ื ง: ทฤาฏไี ฟฟ้าเบ้ืองตน้
ชอื่ -นามสกลุ .............................................................. ปวช.............กลมุ่ ..........เลขที่...........
แบบประเกินผลการเรียนรู้
1. การไหลของกระแสไฟฟ้า คอื การเคลอ่ื นทขี่ องขอ้ ใด
ก. โปรตอน
ข. อเิ ล็กตรอน
ค. นิวตรอน
ง. อเิ ลก็ ตรอนอิสระ
2. สว่ นทีเ่ ล็กที่สุดของสสารคือขอ้ ใด
ก. อะตอม
ข. โมเลกลุ
ค. ธาตุ
ง. เกล็ด
3. อุปกรณ์ผลติ ไฟฟ้ากระแสตรงคอื ขอ้ ใด
ก. อัลเตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอร่ี
ค. เรก็ กูเลเตอร์
ง. ไดโอด
4. อปุ กรณผ์ ลิตไฟฟา้ กระแสสลบั คอื ข้อใด
ก. อลั เตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอร่ี
ค. เร็กกูเลเตอร์
ง. ไดโอด
5. อปุ กรณท์ ่นี าประโยชน์จากไฟฟา้ สถิตมาใช้งานคือขอ้ ใด
ก. เยนเนอเรเตอร์
ข. เร็กกูเลเตอร์
ค. คอนเดนเซอร์
ง. อัลเตอร์เนเตอร์
แบบทดสอบหน่วยท่ี 1 หนา้ ท่ี 2
ชอื่ วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ เร่อื ง: ทฤาฏไี ฟฟา้ เบ้ืองตน้
ชอ่ื -นามสกุล.............................................................. ปวช.............กลมุ่ ..........เลขท่ี...........
แบบประเกนิ ผลการเรียนรู้
6. อุปกรณ์ไฟฟ้า AC200V50HZ ใชก้ ับไฟฟา้ ชนิดใด
ก. ไฟฟ้าสถติ
ข. ไฟฟา้ กระแสสลบั
ค. ไฟฟ้ากระแสตรง
ง. ไฟฟา้ กระแส
7. หนว่ ยวดั แรงดนั ไฟฟา้ คอื ข้อใด
ก. วตั ต์
ข. แอมแปร์
ค. โอห์ม
ง. โวลต์
8. แอมแปร์ (A) คือหน่วยวัดของขอ้ ใด
ก. แรงดนั ไฟฟ้า
ข. กระแสไฟฟา้
ค. ความจุ
ง. กาลังไฟฟา้
9. กิโลโอหม์ คอื หนว่ ยวดั ของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟา้
ข. กาลงั ไฟฟ้า
ค. ความถ่ี
ง. ความต้านทาน
10. เมกะวตั ต์ คอื หน่วยวดั ของข้อใด
ก. แรงดันไฟฟ้า
ข. กาลงั ไฟฟ้า
ค. ความถ่ี
ง. ความตา้ นทาน
ใบเฉเลยแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 1 หน้าท่ี 1
ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ เรือ่ ง: ทฤาฏไี ฟฟา้ เบ้ืองตน้
ช่ือ-นามสกลุ .............................................................. ปวช.............กลมุ่ ..........เลขที่...........
แบบประเกนิ ผลการเรยี นรู้
1. การไหลของกระแสไฟฟ้า คอื การเคลอื่ นทขี่ องข้อใด
ก. โปรตอน
ข. อเิ ลก็ ตรอน
ค. นวิ ตรอน
ง. อิเลก็ ตรอนอสิ ระ
2. สว่ นทเ่ี ล็กท่สี ุดของสสารคือข้อใด
ก. อะตอม
ข. โมเลกุล
ค. ธาตุ
ง. เกล็ด
3. อุปกรณผ์ ลติ ไฟฟ้ากระแสตรงคอื ข้อใด
ก. อัลเตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอร่ี
ค. เรก็ กเู ลเตอร์
ง. ไดโอด
4. อปุ กรณ์ผลิตไฟฟ้ากระแสสลับคอื ข้อใด
ก. อัลเตอร์เนเตอร์
ข. แบตเตอร่ี
ค. เรก็ กเู ลเตอร์
ง. ไดโอด
5. อปุ กรณท์ ี่นาประโยชนจ์ ากไฟฟ้าสถติ มาใชง้ านคือขอ้ ใด
ก. เยนเนอเรเตอร์
ข. เร็กกูเลเตอร์
ค. คอนเดนเซอร์
ง. อลั เตอรเ์ นเตอร์
ใบเฉลยแบบทดสอบหนว่ ยท่ี 1 หน้าที่ 2
ชอื่ วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ เร่อื ง: ทฤาฏไี ฟฟ้าเบื้องตน้
ชอ่ื -นามสกลุ .............................................................. ปวช.............กล่มุ ..........เลขท่ี...........
แบบประเกนิ ผลการเรยี นรู้
6. อปุ กรณ์ไฟฟ้า AC200V50HZ ใชก้ บั ไฟฟ้าชนดิ ใด
ก. ไฟฟ้าสถิต
ข. ไฟฟา้ กระแสสลับ
ค. ไฟฟา้ กระแสตรง
ง. ไฟฟ้ากระแส
7. หน่วยวัดแรงดนั ไฟฟ้าคอื ข้อใด
ก. วตั ต์
ข. แอมแปร์
ค. โอหม์
ง. โวลต์
8. แอมแปร์ (A) คอื หนว่ ยวัดของข้อใด
ก. แรงดนั ไฟฟา้
ข. กระแสไฟฟา้
ค. ความจุ
ง. กาลังไฟฟา้
9. กโิ ลโอห์ม คอื หน่วยวดั ของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟ้า
ข. กาลงั ไฟฟา้
ค. ความถ่ี
ง. ความตา้ นทาน
10. เมกะวตั ต์ คือหนว่ ยวดั ของข้อใด
ก. แรงดนั ไฟฟา้
ข. กาลังไฟฟา้
ค. ความถ่ี
ง. ความต้านทาน
ใบควากรู้ หน่วยที่ 1
วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ สอนครงั้ ที่ 1 (1-7)
เร่ือง ทฤาฏีไฟฟา้ เบ้อื งตน้
จานวน 7 ชก.
จุดประสงคท์ ่ัวไปประจาหน่วย
กีควากรคู้ วากเข้าใจในเรอ่ื งทฤาฏไี ฟฟา้ เบอ้ื งตน้
จุดประสงคเ์ ชงิ ประจาเชิงพฤตกิ รรกปราจาหนว่ ย
1. อธบิ ายวิธีการกาเนิดไฟฟา้ ได้
2. บอกชนิดของไฟฟา้ ได้
3. อา่ นค่าหนว่ ยวดั ทางไฟฟา้ ได้
4. บอกกฎของโอห์มและคานวณหาคา่ ต่างๆ ทางไฟฟ้าได้
5. อธบิ ายวธิ ีการต่อวงจรไฟฟา้ ทใี่ ช้ในรถยนต์ได้
สกรรถนะปราจาหนว่ ยวิชา
1.วิเคราะห์และปฏิบัตงิ านเกยี่ วกับงานไฟฟ้ารถยนต์ ให้ทนั ต่อความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ระบบ
ไฟฟา้ รถยนต์
2.ศกึ ษาและวางแผนการใชเ้ ครือ่ งมือวัด เครอ่ื งมือทดสอบ การถอดประกอบ ตรวจสภาพอุปกรณใ์ น
ระบบไฟฟา้ รถยนต์ บารงุ รกั ษา แก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้ารถยนต์ ประมาณราคาคา่ บริการได้
3.อธิบายหลักการทางานและตรวจสภาพระบบไฟฟ้ารถยนต์ การใชเ้ ครือ่ งมือวัด และเคร่ืองมือ
สาระสาคญั (สรุปเนื้อหา / หัวข้อการสอน)
การศึกษาวิชาไฟฟ้ารถยนต์ให้เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง จาเป็นต้องศึกษาทฤษฎีไฟฟ้า
เบ้ืองต้น เพ่ือให้เกิดความเข้าใจพื้นฐานด้านวีธีการกาเนิด การนาไฟฟ้ามาใช้งาน ชนิดของกระแสไฟฟ้า การ
อา่ นคา่ และการคานวณหาค่าต่างๆ ทางไฟฟ้า ในหน่วยการเรียนนี้ได้กาหนดเน้ือหาและจุดประสงค์การเรียนรู้
ตามลาดับดังนี้
ใบควากรู้ หนว่ ยที่ 1
วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ สอนครง้ั ท่ี 1 (1-7)
เร่ือง ทฤาฏไี ฟฟา้ เบ้อื งต้น
จานวน 7 ชก.
แหล่งกาเนิดไฟฟ้า ชนดิ ของไฟฟ้า หน่วยวดั ทางไฟฟ้า กฎของโอห์ม และการคานวณหาคา่ ตา่ งๆ ทางไฟฟ้า
และวงจรไฟฟ้าท่ีใช้ในรถยนต์
“อิเลก็ ตรอนอิสระ” เปน็ การเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนอิสระจากอะตอมหน่ึงไปยังอะตอมหน่ึงเรยี กวา่ “การไหล
ของกระแสไฟฟ้า”
ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) โดยนาแท่งแก้วถูกบั ผ้าไหม แทง่ แก้วจะเกดิ ไฟฟ้าสถติ ประจุบวก ผ้าไหมจะเกิด
ไฟฟ้าสถิตประจุลบ ไฟฟา้ ประจเุ หมือนกนั เม่ือเข้าใกล้กันจะเกดิ การผลกั กนั และไฟฟ้าประจตุ ่างกันเมื่อเข้าใกล้กนั
จะเกิดการดูดกัน ดังรูป
แรงดันไฟฟ้า 1 โวลต์ คือ แรงดนั ทท่ี าให้กระแส 1 แอมแปร์ ไหลผ่านตวั นาไฟฟา้ มีค่าความตา้ นทาน 1 โอห์ม
กระแสไฟฟ้า (Electrical Current) หนว่ ยท่ีใชว้ ดั กระแสไฟฟ้า คือ แอมแปร์ (Ampere)
ใบควากรู้ หนว่ ยท่ี 1
วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ สอนครัง้ ที่ 1 (1-7)
เร่อื ง ทฤาฏีไฟฟ้าเบื้องต้น
จานวน 7 ชก.
หน่วยพ้ืนฐาน หน่วยสำหรบั ขนำดที่น้อยมำก หน่วยสำหรบั ขนำดท่ีมำก
A
สญั ลกั ษณ์ V mA kA MA
การออกเสยี ง แอมแปร์
ตวั คณู ไมโคร มลิ ลิ กโิ ล เมกะ
1 แอมแปร์ แอมแปร์ แอมแปร์ แอมแปร์
1x10-6 1/1 ลา้ น 1x10-3 (1/1000) 1x103 1x1000
1x10 1x1 ลา้ น
กระแสไฟฟ้า 1 แอมแปร์ คือ การเคลื่อนท่ีของอิเลก็ ตรอนอสิ ระไปตามตัวนา 6.25x1016 ตวั ต่อวนิ าที
(อิเล็กตรอน 6.25x1016 ตัว เท่ากับ 1 คูลอมป์)
ความต้านทานไฟฟ้า (Electrical Resistance)
ค่าความตา้ นทานไฟฟ้าจะมากหรอื น้อยขึน้ อยู่กับสภาวะต่อไปนี้
1) ชนดิ ของสาร - สารท่ีเป็นตวั นาไฟฟ้าจะมีค่าความต้านทานน้อย
- สารท่ีเปน็ ฉนวนจะมคี ่าความต้านทานมาก
2) ขนาดของสาร - สารชนดิ เดียวกันขนาดใหญ่ ค่าความต้านทานจะน้อย
- สารขนาดเลก็ ค่าความต้านทานจะมาก
3) ความยาวของสาร - สารชนิดเดยี วกนั ถ้าความยาวมากค่าความต้านทานจะมาก
- ถา้ ขนาดสน้ั ความต้านทานจะน้อย (พื้นที่หนา้ ตัดเท่ากัน)
4) อุณหภมู ิ ปกตสิ ารเม่ือไดร้ ับความร้อนอุณหภมู จิ ะสงู ขึ้น ค่าความต้านทานจะเพ่ิมขน้ึ ตาม ถ้าอุณหภมู ลิ ดลง ค่า
ความต้านทานจะลดลง ยกเวน้ คาร์บอน (C) ถา้ อุณหภมู ิสงู ขึ้น ค่าความต้านทานจะลดลง
5) สภาวะของผวิ สัมผสั ผิวสมั ผสั ไมส่ นิท สกปรก มีรอยไหม้ ค่าความตา้ นทานจะมาก ทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ไดน้ ้อยลง
แบบฝกึ หัด หน่วยท่ี 1
วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ สอนครง้ั ท่ี 1 (1-7)
เรือ่ ง ทฤาฏีไฟฟา้ เบือ้ งตน้
จานวน 7 ชก.
คาชแี้ จง ..ใหผ้ ูเ้ รียนต่อวงจรไฟฟ้าในรถยนต์ โดยเขียนรูปภาพประกอบการต่อดังหวั ข้อต่อไปนี้
(1) การต่อวงจรแบบอนุกรม ความตา้ นทานรวม (R0) = R1 + R2
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
(2) การต่อวงจรแบบขนาน ความตา้ นทานรวม 111
R0 R1 R2
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
(3) การต่อวงจรแบบอนุกรมและแบบขนาน (แบบผสม)
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
เฉลยแบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 1
วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ สอนครงั้ ท่ี 1 (1-7)
เร่ือง ทฤาฏีไฟฟ้าเบ้ืองตน้
จานวน 7 ชก.
(1) ต่อวงจรแบบอนุกรม ความตา้ นทานรวม (R0) = R1 + R2
ความตา้ นทานรวม (R0) = 10 + 10 = 20 (โอหม์ )
(2) การต่อวงจรแบบขนาน ความตา้ นทานรวม 111
R0 R1 R2
1 1 1 2 10 2
R0 10 10 10 ความตา้ นทานรวม (R0) = = 5 (โอหม์ )
(ก) (ข)
(3) การต่อวงจรแบบอนุกรมและแบบขนาน (แบบผสม)
จากรปู กาหนดให้ R1 = 10, R2 = 10, R3 = 10
1 11
ความตา้ นทานรวมแบบขนาน R23 R2 R3
1 112
R23 10 10 10
R23 = 5
ความตา้ นทานรวมทงั้ หมด R0 = R1 + R23
R0 = 10 + 5 = 15
แบบทดสอบหลังเรยี นหน่วยที่ 1 หน้าที่ 1
ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ เร่ือง: ทฤาฏไี ฟฟา้ เบื้องตน้
ชอ่ื -นามสกลุ .............................................................. ปวช.............กลุ่ม..........เลขท่ี...........
แบบประเกินผลการเรยี นรู้
1. การไหลของกระแสไฟฟา้ คือการเคล่ือนทีข่ องขอ้ ใด
ก. โปรตอน
ข. อเิ ล็กตรอน
ค. นิวตรอน
ง. อิเล็กตรอนอิสระ
2. สว่ นที่เล็กท่สี ดุ ของสสารคือข้อใด
ก. อะตอม
ข. โมเลกลุ
ค. ธาตุ
ง. เกลด็
3. อุปกรณผ์ ลิตไฟฟา้ กระแสตรงคอื ขอ้ ใด
ก. อัลเตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอรี่
ค. เร็กกเู ลเตอร์
ง. ไดโอด
4. อุปกรณ์ผลิตไฟฟ้ากระแสสลับคือข้อใด
ก. อัลเตอร์เนเตอร์
ข. แบตเตอรี่
ค. เรก็ กเู ลเตอร์
ง. ไดโอด
5. อปุ กรณ์ทนี่ าประโยชน์จากไฟฟา้ สถิตมาใชง้ านคอื ขอ้ ใด
ก. เยนเนอเรเตอร์
ข. เรก็ กูเลเตอร์
ค. คอนเดนเซอร์
ง. อัลเตอรเ์ นเตอร์
แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยท่ี 1 หน้าท่ี 2
ชอื่ วิชา งานไฟฟ้ารถยนต์ เร่ือง: ทฤาฏไี ฟฟ้าเบื้องตน้
ชือ่ -นามสกลุ .............................................................. ปวช.............กลุ่ม..........เลขท่ี...........
แบบประเกินผลการเรียนรู้
6. อุปกรณไ์ ฟฟ้า AC200V50HZ ใช้กบั ไฟฟา้ ชนิดใด
ก. ไฟฟ้าสถิต
ข. ไฟฟ้ากระแสสลับ
ค. ไฟฟ้ากระแสตรง
ง. ไฟฟา้ กระแส
7. หน่วยวดั แรงดันไฟฟ้าคือข้อใด
ก. วัตต์
ข. แอมแปร์
ค. โอห์ม
ง. โวลต์
8. แอมแปร์ (A) คือหนว่ ยวัดของขอ้ ใด
ก. แรงดนั ไฟฟา้
ข. กระแสไฟฟ้า
ค. ความจุ
ง. กาลงั ไฟฟ้า
9. กโิ ลโอหม์ คือหน่วยวัดของข้อใด
ก. แรงดันไฟฟ้า
ข. กาลงั ไฟฟ้า
ค. ความถ่ี
ง. ความต้านทาน
10. เมกะวัตต์ คือหน่วยวดั ของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟา้
ข. กาลังไฟฟ้า
ค. ความถี่
ง. ความต้านทาน
ใบเฉเลยแบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยท่ี 1 หนา้ ท่ี 1
ชอ่ื วิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ เรอ่ื ง: ทฤาฏีไฟฟ้าเบ้ืองต้น
ชอื่ -นามสกุล.............................................................. ปวช.............กลมุ่ ..........เลขที่...........
แบบประเกนิ ผลการเรยี นรู้
1. การไหลของกระแสไฟฟา้ คือการเคลอื่ นที่ของขอ้ ใด
ก. โปรตอน
ข. อิเลก็ ตรอน
ค. นวิ ตรอน
ง. อิเล็กตรอนอสิ ระ
2. ส่วนท่ีเลก็ ท่ีสดุ ของสสารคือข้อใด
ก. อะตอม
ข. โมเลกลุ
ค. ธาตุ
ง. เกลด็
3. อุปกรณ์ผลิตไฟฟา้ กระแสตรงคอื ขอ้ ใด
ก. อัลเตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอรี่
ค. เรก็ กเู ลเตอร์
ง. ไดโอด
4. อุปกรณ์ผลิตไฟฟา้ กระแสสลับคือข้อใด
ก. อลั เตอรเ์ นเตอร์
ข. แบตเตอร่ี
ค. เรก็ กูเลเตอร์
ง. ไดโอด
5. อปุ กรณท์ ี่นาประโยชน์จากไฟฟา้ สถติ มาใช้งานคอื ข้อใด
ก. เยนเนอเรเตอร์
ข. เรก็ กูเลเตอร์
ค. คอนเดนเซอร์
ง. อลั เตอร์เนเตอร์
ใบเฉเลยแบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยท่ี 1 หน้าที่ 2
ชื่อวิชา งานไฟฟา้ รถยนต์ เรือ่ ง: ทฤาฏไี ฟฟ้าเบื้องต้น
ชอ่ื -นามสกุล.............................................................. ปวช.............กลุ่ม..........เลขที่...........
แบบประเกนิ ผลการเรยี นรู้
6. อุปกรณไ์ ฟฟ้า AC200V50HZ ใช้กบั ไฟฟ้าชนิดใด
ก. ไฟฟ้าสถิต
ข. ไฟฟา้ กระแสสลบั
ค. ไฟฟา้ กระแสตรง
ง. ไฟฟ้ากระแส
7. หน่วยวดั แรงดนั ไฟฟ้าคอื ขอ้ ใด
ก. วัตต์
ข. แอมแปร์
ค. โอห์ม
ง. โวลต์
8. แอมแปร์ (A) คอื หน่วยวัดของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟ้า
ข. กระแสไฟฟา้
ค. ความจุ
ง. กาลงั ไฟฟา้
9. กโิ ลโอห์ม คือหน่วยวดั ของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟา้
ข. กาลงั ไฟฟา้
ค. ความถี่
ง. ความตา้ นทาน
10. เมกะวตั ต์ คอื หน่วยวัดของขอ้ ใด
ก. แรงดันไฟฟา้
ข. กาลงั ไฟฟ้า
ค. ความถ่ี
ง. ความตา้ นทาน
ใบลาดบั ขน้ั ตอนปฏบิ ัติงาน หนา้ ที่ 1
ชือ่ วิชา : งานไฟฟา้ รถยนต์ สัปดาหท์ ่ี 1
เรือ่ ง : ตอ่ วงจรไฟฟ้า เวลา 7 ช่วั โมง
ลาดบั ข้ันตอนปฏิบัตงิ าน คาอธบิ าย เครอื่ งกือ/อปุ กระ์ ขอ้ ควรระวังระหวา่ ง
1. เตรียมเคร่อื งมือ/อปุ กรณ์
เตรยี มสายไฟและ ปฏิบตั ิงาน
แผงวงจรพรอ้ มตอ่
1. แผงวงจร 1. ระวงั อย่าให้
2. มัลติมิเตอร์ วงจรไฟฟ้าขาด
3. แบตเตอร์รี่
2. นาสายมาต่อเข้ากับแผงวงจร ต่อสายไฟมาต่อเข้า
กับวงจรให้ถกู ต้อง
3. นาสายไฟต่อเขา้ กบั หลอดไฟท่ี ตอ่ สายไฟเข้า
เตรยี มไว้ แผงวงจรและนา
หลอดไฟมาต่อ L-3
ใบลาดบั ข้นั ตอนปฏิบตั ิงาน หน้าที่ 2
ชื่อวิชา : งานไฟฟ้ารถยนต์ สปั ดาหท์ ี่ 1
หัวข้อเร่อื ง : ตอ่ วงจรไฟฟา้ เวลา 7 ชัว่ โมง
ลาดบั ขั้นตอนปฏบิ ตั งิ าน คาอธิบาย เครอ่ื งกอื /อปุ กระ์ ขอ้ ควรระวงั ระหวา่ ง
4. เกบ็ เครอ่ื งมือ/อปุ กรณ์
ปฏิบัติงาน
ทาความสะอาดและ 1. แผงวงจร 1. ระวังอย่าให้
เกบ็ อปุ กรณ์ 2. มลั ตมิ ิเตอร์ วงจรไฟฟ้าขาด
3. แบตเตอรร์ ี่
5. เตรยี มเครอ่ื งมอื /อุปกรณ์ เตรียมสายไฟและ 1. แผงวงจร 1. ระวังอยา่ ให้
แผงวงจรพรอ้ มตอ่ 2. มลั ตมิ เิ ตอร์ วงจรไฟฟ้าขาด
3. แบตเตอร์รี่
6. นาสายมาตอ่ เข้ากับแผงวงจร ตอ่ สายไฟมาต่อเข้า
กบั วงจรให้ถูกต้อง
ใบลาดบั ขน้ั ตอนปฏิบัติงาน หน้าท่ี 3
ชื่อวิชา : งานไฟฟา้ รถยนต์ สัปดาหท์ ี่ 1
หัวขอ้ เรือ่ ง : ตอ่ วงจรไฟฟา้ เวลา 7 ชั่วโมง
ลาดับข้นั ตอนปฏิบัติงาน คาอธิบาย เครอื่ งกอื /อปุ กระ์ ขอ้ ควรระวงั ระหว่าง
ปฏบิ ตั งิ าน
7. นาสายไฟต่อเข้ากับหลอดไฟที่ ตอ่ สายไฟเข้า
เตรยี มไว้ แผงวงจรและนา
หลอดไฟมาต่อ L-1
L-2,L-3,L-2
8. เก็บเครอ่ื งมือ/อปุ กรณ์ ทาความสะอาดและ 1. แผงวงจร 1. ระวงั อยา่ ให้
วงจรไฟฟ้าขาด
เกบ็ อุปกรณ์ 2. มลั ติมเิ ตอร์
3. แบตเตอรร์ ่ี
9. เตรียมเครื่องมอื /อุปกรณ์ เตรียมสายไฟและ 1. แผงวงจร 1. ระวังอย่าให้
แผงวงจรพรอ้ มตอ่ 2. มัลติมิเตอร์ วงจรไฟฟ้าขาด
3. แบตเตอรร์ ่ี
ใบลาดบั ขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิงาน 3 หนา้ 4
ช่ือวิชา : งานไฟฟา้ รถยนต์ สปั ดาหท์ ี่ 1
หวั ขอ้ เรื่อง : วงจรไฟฟ้าแบบอนกุ รม เวลา 7 ช่วั โมง
ลาดบั ขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิงาน คาอธิบาย เครื่องกอื /อุปกระ์ ข้อควรระวังระหว่าง
10. เตรียมเคร่อื งมือ/อปุ กรณ์
เตรยี มสายไฟและ ปฏิบตั ิงาน
แผงวงจรพรอ้ มต่อ
1. แผงวงจร 1. ระวงั อยา่ ให้
2. มลั ตมิ เิ ตอร์ วงจรไฟฟ้าขาด
3. แบตเตอร์รี่
11. นาสายมาต่อเขา้ กับแผงวงจร ต่อสายไฟมาต่อเขา้
กบั วงจรใหถ้ ูกต้อง
12. นาสายไฟต่อเข้ากับหลอดไฟท่ี ตอ่ สายไฟเขา้
เตรยี มไว้ แผงวงจรและนา
หลอดไฟมาต่อ L-1
L-2
13. เกบ็ เครื่องมือ/อปุ กรณ์ ทาความสะอาดและ 1. แผงวงจร 1. ระวงั อยา่ ให้
วงจรไฟฟ้าขาด
เกบ็ อุปกรณ์ 2. มัลตมิ เิ ตอร์
3. แบตเตอรร์ ี่
ใบประเกนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน หนา้ 4
ชอื่ วิชา : งานไฟฟ้ารถยนต์ สัปดาหท์ ่ี 1
หัวข้อเร่ือง : วงจรไฟฟา้ แบบอนกุ รม เวลา 7 ชว่ั โมง
ผลการให้คะแนน
การประเกนิ จดุ ประเกิน 32 1
การเตรอี มความถูกต้องในการใชเ้ ครอ่ื งมือ และวัสดอุ ุปกรณ์
คุะธรรก – จริยธรรก ควากรู้ – ัทกาะ ความถกู ต้องในการใช้เคร่อื งมือต่าง ๆ
ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงานที่ได้มอบหมาย
ความต้ังใจในการปฏิบัตงิ านและความปลอดภัย
ผลสาเรจ็ ของงานที่ได้รบั มอบหมาย
การแต่งกายสุภาพ เรียบร้อย และสะอาด
ความตรงต่อเวลาและรักษาวินัยในการทางาน
การมีสัมมาคารวะ มนี ้าใจต่อผูส้ อนและผู้รว่ มงาน
การเกบ็ รักษาเครือ่ งมอื วสั ดุ อปุ กรณ์
ความสะอาดเรียบรอ้ ยบรเิ วณพน้ื ทป่ี ฏิบัตงิ าน
รวกคะแนนท่ีได้
ควากหกายของระดับคะแนน เกะฑก์ ารประเกนิ
เกะ ์ฑการประเกิน 3 = ปฏบิ ตั งิ านอยา่ งสม่าเสมอ โดยไม่ต้องมีการชนี้ าหรอื 26 – 30 คะแนน = ดีมาก
ตักเตือน 21 – 25 คะแนน = ดี
2 = ปฏบิ ตั ิบา้ งในบางครั้งจากการเชญิ ชวนหรอื ช้ีนา 16 – 20 คะแนน = พอใช้
1 = ต้องส่ัง บังคับ วา่ กล่าวตักเตือน จึงจะปฏบิ ัติหรือมกั จะ 0 – 15 คะแนน = ควร
ปฏิบตั งิ านในทางท่ีผดิ เสมอ
ปรับปรงุ
สรุปการประเมิน
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
ผู้ประเมิน........................................................
ชื่อ............................................................................ ผู้ควบคมุ ....................................................................
ระดบั ชั้น......................................หอ้ ง..................... วันท่ี...........................................................................
ใบประเกินผลปฏิบตั งิ านดา้ นคุะธรรก จรยิ ธรรก ใบงานที่ 1
เร่อื ง ทฤาฏีไฟฟ้าเบอื้ งตน้
ที่ หัวข้อการประเกนิ ดกี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
1 ตรงตอ่ เวลา
2 กีสว่ นร่วกในการทางาน
3 ควากพรอ้ กในการทางาน
ทึั นคตใิ นการทางาน
4 4.1 ควากรับผดิ ชอบ
4.2 การจัดเกบ็ เคร่ืองกือ/เครอ่ื งจกั ร
4.3 การทาควากสะอาด/ควากปลอดภัย
รวกคะแนน
รวกคะแนนท้งั หกด
เกะฑ์ในการให้คะแนน
ดกี าก ได้ 10 คะแนน
ดี ได้ 7 คะแนน
พอใช้ ได้ 5 คะแนน
ปรบั ปรงุ ได้ 3 คะแนน
ไกส่ ง่ ผลงาน ได้ 0 คะแนน
ลงชื่อ..............................................ผ้ปู ระเกนิ
(...................................................)
............/........................../.............
แบบสังเกตพฤติกรรกการเรียนรายบุคคล
เร่ือง ทฤาฏไี ฟฟ้าเบื้องตน้
คาช้แี จง ใหท้ าเครอ่ื งหกาย หากนกั เรียนกีพฤตกิ รรกนัน้ ลงในชอ่ งทารายการ
ที่ ชือ่ -สกลุ พฤตกิ รรก
ควากสนใจ การแสดง การตอบ การยอกรับ การทางาน รวก
ควากคิดเหน็ คาถาก
ฟังคนอนื่ ตากท่ี
กอบหกาย
43214321432143214321
เกะฑ์การวดั ผลและใหค้ ะแนน
1. ดมี าก= 4 สนใจฟัง ไมห่ ลับ ไมพ่ ดู คยุ ในชนั้ เรียน มคี าถาม ตอบคาถามถกู ทางานส่งตามเวลา
2. ดีมาก= 3 พฤตกิ รรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 70 %
3. ดีมาก= 2 พฤติกรรมการแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ 50 %
4. ดีมาก= 1 เข้าชั้นเรียน แต่แสดงออกน้อยมาก ส่งงานไม่ครบ สง่ งานไมต่ รงเวลา
ลงชือ่ ..............................................ผูป้ ระเกนิ
(...................................................)
............/........................../.............
บนั ทกกหลังการสอน
ช่อื วชิ า : งานไฟฟ้ารถยนต์ สัปดาห์ท่ี 1
หวั ขอ้ เรื่อง : ทฤาฎไี ฟฟา้ เบือ้ งต้น เวลา 7 ช่ัวโมง
เนื้อหาทีส่ อน
บทที่ 1 ทฤาฎีไฟฟา้ เบ้ืองตน้
หลกั การทางานของระบบไฟฟา้ รถยนต์เบ้ืองตน้
- การกาเนิดไฟฟ้า
- แหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้า
- ชนดิ ของกระแสไฟฟ้า
- ตวั นาไฟฟา้ ฉนวนไฟฟ้า และตัวตา้ นทานไฟฟ้า
- หนว่ ยวดั ทางไฟฟ้า
- กฎของโอห์ก
- การตอ่ วงจรไฟฟ้า
การประเมนิ ผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้
คาช้แี จง 1.ใช้เครือ่ งหกาย/เขยี นลงในช่องตากควากคดิ เห็น
2. เกะฑ์ประเกนิ กี 4 ระดบั คอื ดีกาก = 4 ดี = 3 พอใช้ = 2 ปรับปรุง = 1
เกะฑก์ ารประเกิน
รายการประเกนิ ดกี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง(1)
1.การจดั การเรยี นรูต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์
2.วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้
3.การเลือกใช้สอื่ และแหล่งเรียนรู้
4.เนื้อหาครบถ้วน สมบูรณ์ ตามแผนการจดั การเรยี นรู้
5.ผลสมั ฤทธ์ิของนักเรยี น
6.การให้คาแนะนา แก้ไขปัญหาแกน่ กั เรียน
บนั ทกกเพิ่กเติก
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................