The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงโค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สมหมาย จันทร์ฟุ้ง, 2019-06-04 10:13:15

หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงโค

หน่วยที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยงโค

33

ใบความรหู้ น่วยท่ี 3

เร่อื ง โรงเรอื นและอุปกรณใ์ นการเลีย้ งโค

วิชาการเลีย้ งโค

โดย
สมหมาย จันทรฟ์ ุ้ง
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีพิจติ ร

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

34

หน่วยท่ี 3
โรงเรือนและอุปกรณ์ในการเลยี้ งโค

หวั ข้อเรื่อง

1. ขอ้ ควรพจิ ารณาในการสร้างโรงเรือนเล้ียงโค
2. การวางแผนผงั ฟาร์มโคเน้ือ - โคนม
3. รูปแบบและส่วนประกอบของโรงเรือนเล้ียงโคเน้ือ
4. รูปแบบและส่วนประกอบของโรงเรือนเล้ียงโคนม
5. เครื่องมือและอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเล้ียงโค
6. การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์การเล้ียงโค

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. บอกขอ้ ควรพจิ ารณาในการสร้างโรงเรือนเล้ียงโคได้
2. อธิบายหลกั สาคญั ในการวางแผนผงั ฟาร์มโคเน้ือ - โคนมได้
3. บอกรูปแบบและส่วนประกอบของโรงเรือนเล้ียงโคเน้ือ - โคนมได้
4. บอกชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ทีจ่ าเป็นในการเล้ียงโคไดอ้ ยา่ งนอ้ ย 10 ชนิด
5. อธิบายวธิ ีการทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์จาเป็ นที่ใชใ้ นการเล้ียงโคได้
6. มีกิจนิสยั ที่ดีในการทางานดว้ ยความรับผดิ ชอบ รอบคอบ ขยนั และอดทน

สาระการเรียนรู้

เม่ือจะเริ่มกิจการฟาร์มโคเน้ือหรือโคนมอยา่ งจริงจงั ผเู้ ล้ียงจะตอ้ งจดั เตรียมโรงเรือน
เคร่ืองมือ อุปกรณ์และส่ิงก่อสร้างทจ่ี าเป็น โดยวางแผนผงั ปลูกสร้างโรงเรือนและสิ่งก่อสร้างให้
เหมาะสมกบั พน้ื ทแี่ ละการใชป้ ระโยชน์ ซ่ึงแตล่ ะฟาร์มกจ็ ะแตกตา่ งกนั ไป ข้นึ อยกู่ บั ลกั ษณะของ
พน้ื ที่ สภาพภูมิอากาศ ขนาดของกิจการและเงินทุน เป็นตน้

1. ข้อควรพจิ ารณาในการสร้างโรงเรือนเลยี้ งโค

สิ่งทค่ี วรพจิ ารณาเพอื่ ประกอบการวางแผนผงั ปลูกสรา้ งโรงเรือนและส่ิงก่อสร้างตา่ ง ๆ
ในฟาร์มโค มีดงั น้ี

35

1.1 สถานท่ตี ้งั
สถานทีป่ ลูกสรา้ งโรงเรือนและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ถือเป็นจุดแรกท่ีจะตอ้ งพจิ ารณาให้

เหมาะสมหลาย ๆ ดา้ น ท้งั น้ี เพราะการสร้างโรงเรือนใชเ้ งนิ ลงทุนสูงและยงุ่ ยากในการร้ือถอน
วบิ ูลยศ์ กั ด์ิ กาวลิ ะ และ ญาณิน โอภาสพฒั นกิจ (2534) กล่าวถึงสถานท่ีต้งั โรงเรือนทด่ี ีไวด้ งั น้ี

1.1.1 เป็ นทนี่ ้าไม่ทว่ ม
1.1.2 การคมนาคมสะดวก มีถนนเขา้ ออกฟาร์มไดส้ ะดวกหากเล้ียงโคนมควรอยใู่ กล้
กบั แหล่งรับซ้ือน้านมดิบ
1.1.3 มีแหล่งน้าที่จะใชอ้ ยา่ งเพยี งพอ เพอื่ ใหโ้ คบริโภค โดยเฉพาะโคนมจาเป็นตอ้ ง
ใชน้ ้าเพอื่ ทาความสะอาดมาก
1.1.4 อยหู่ ่างจากฟาร์มเล้ียงสัตวช์ นิดอื่น ๆ หรือโรงงานท่ีมีกล่ินเหม็น เพอ่ื ป้ องกนั
กล่ินเหม็นปะปนในน้านม (กรณีเล้ียงโคนม)

1.2 ความร่มเยน็ ของโรงเรือน
อากาศรอ้ นมีผลตอ่ โค โดยเฉพาะโคท่ีมีสายเลือดโคยโุ รปสูงมกั ไม่ทนต่อความร้อน

ทาใหก้ ินอาหารลดลง ดงั น้นั โรงเรือนเล้ียงโคควรสร้างใหม้ ีความร่มเยน็ มากที่สุด สามารถป้ องกนั
ความร้อนจากแสงแดดได้ ซ่ึงการป้ องกนั ความร้อนสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี ดงั น้ี

1.2.1 ทิศทางของโรงเรือน โรงเรือนเล้ียงโคส่วนใหญ่นิยมสร้างแบบหลงั คารูปจวั่
โดยหันหน้าจวั่ ไปทางทิศตะวนั ออกและทิศตะวนั ตก เป็ นโรงแนวยาวตามตะวนั ท้งั น้ีเพ่ือ
ป้ องกนั ไม่ใหแ้ สงแดดและฝนสาดเขา้ ไปในโรงเรือน อยา่ งไรก็ตาม ช่วงเชา้ และบ่ายแสงแดดอาจ
ส่องเขา้ ไดบ้ า้ งซ่ึงจะถูกโคท่ียนื ตวั แรกและตวั สุดทา้ ยเทา่ น้นั

1.2.2 การถ่ายเทอากาศ โรงเรือนตอ้ งสูงโปร่ง ลมพดั ผา่ นไดส้ ะดวก มีระบบระบาย
ความร้อนไดด้ ี

1.2.3 วสั ดุมุงหลงั คา หลงั คาโรงเรือนท่ีมุงดว้ ยกระเบ้ือง ความรอ้ นจะสะทอ้ นลงมา
ไดน้ อ้ ยกวา่ การมุงดว้ ยสงั กะสี แต่สงั กะสีจะมีราคาถูกกวา่ หากมุงดว้ ยวสั ดุอื่น เช่น แฝกหรือจาก
จะมีราคาถูกและทาใหโ้ คเยน็ สบาย แต่มีอายกุ ารใชง้ านส้นั ตอ้ งเปลี่ยนบ่อย

1.2.4 บริเวณรอบ ๆ โรงเรือนจะตอ้ งโปร่ง เพอื่ ใหล้ มพดั ไดส้ ะดวก ควรปลูกตน้ ไม้
ท่ีมีลกั ษณะโปร่งดา้ นล่างและแผท่ บึ ดา้ นบน เช่น ตน้ ประดู่ เพอื่ ป้ องกนั แสงแดด

1.3 ความสะอาดของโรงเรือน
ลกั ษณะของโรงเรือนควรออกแบบเพอื่ ใหส้ ามารถกาจดั สิ่งปฏกิ ลู ตา่ ง ๆ ออกภายนอก

โรงเรือนไดอ้ ยา่ งรวดเร็วและใชแ้ รงงานน้อยท่ีสุด พ้นื ของโรงเรือนควรเทดว้ ยคอนกรีตขดั หยาบ
เพอ่ื สะดวกในการทาความสะอาด โดยมีรางระบายมูลและระบบการจดั การของเสียใหเ้ หมาะสม

36

1.4 ความสะดวกในการปฏิบัติงาน
การออกแบบโรงเรือนควรใหส้ อดคลอ้ งกบั การใชเ้ ครื่องมือ อุปกรณ์ เคร่ืองทุ่นแรง

ตลอดจนมีการจดั ระเบียบต่าง ๆ ภายในโรงเรือนใหเ้ หมาะสมจะช่วยลดแรงงานลงไดม้ าก

1.5 ความปลอดภัยของสัตว์
ในบางพ้นื ทมี่ ีแมลงชุกชุมทาใหร้ บกวนสุขภาพของโคเป็นอยา่ งมาก เช่น ยงุ เหลือบ

ริ้นและแมลงวนั บางชนิดที่ดูดเลือดโค ซ่ึงแมลงบางชนิดเป็ นพาหะนาโรคมาสู่โค ดงั น้นั การสร้าง
โรงเรือนจะตอ้ งพจิ ารณาเร่ืองน้ีดว้ ย นอกจากน้ีอนั ตรายอนั เกิดจากอุบตั เิ หตุ เช่น พ้นื คอกล่ืนทาให้
โคลื่นลม้ ไดง้ ่าย อาจทาใหโ้ คแทง้ หรือขาหกั ได้

1.6 ราคาการก่อสร้าง
การใชว้ สั ดุก่อสรา้ งที่หางา่ ยและมีราคาถูกในทอ้ งถิ่น ควรออกแบบท่ีง่ายไม่ซับซอ้ น

ซ่ึงอาจทาใหร้ าคาก่อสรา้ งต่าลงโดยไม่เสียหายต่อการใชง้ าน ท้งั น้ี การใชว้ สั ดุราคาแพงและคงทน
ถาวรอาจประหยดั เงินในระยะยาว ดงั น้นั การพจิ ารณาตอ้ งคิดเหตผุ ลในทางเศรษฐกิจดว้ ยเสมอ

1.7 แบบของโรงเรือน
แบบของโรงเรือนควรมีทางทจ่ี ะดดั แปลงไดภ้ ายหลงั เน่ืองจากมีการคิดคน้ เครื่องมือ

เครื่องใชใ้ นปัจจุบนั เปลี่ยนแปลงอยเู่ สมอ จึงควรออกแบบโรงเรือนใหส้ ามารถดดั แปลง ต่อเติมได้
เพอ่ื ใหส้ ามารถรองรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ที่ดีกวา่ เดิม

2. การวางแผนผงั ฟาร์มโคเนอื้ - โคนม

การวางแผนผงั ฟาร์มเป็ นการวางแผนวา่ โรงเรือนและส่ิงปลูกสร้างต่าง ๆ จะตอ้ งอยู่
ตรงจุดใดจึงจะสะดวกตอ่ การปฏิบตั ิงานและไม่ทาใหเ้ กิดปัญหาจนทาใหต้ อ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการ
แกไ้ ขภายหลงั (ภาพที่ 3.4 และ 3.5) อยา่ งไรก็ตาม ยอดชาย ทองไทยนันท์ (2546) ไดก้ ล่าวถึง
หลกั พจิ ารณาวางแผนผงั ฟาร์มไวด้ งั น้ี

2.1 ฟาร์มควรเป็นสถานที่ดอนน้าไม่ทว่ มขงั การระบายน้าสะดวก
2.2 มีทางระบายน้าออกจากฟาร์ม หากเป็ นพน้ื ท่ีทีม่ ีโอกาสถูกน้าท่วมได้ ควรวางระบบ
เพอ่ื ป้ องกนั น้าท่วมไวด้ ว้ ย
2.3 หากเป็ นไปไดฟ้ าร์มควรอยหู่ ่างจากชุมชนอยา่ งนอ้ ย 5 กิโลเมตร
2.4 ที่พกั อาศยั ควรอยนู่ อกฟาร์ม
2.5 สานกั งานควรตอ้ งอยดู่ า้ นหนา้ ใกลท้ างเขา้ เพอื่ หลีกเล่ียงไม่ใหผ้ ทู้ ่ีไม่เกี่ยวขอ้ งเขา้ ไป
ในฟาร์ม

37

2.6 ควรตดั ถนนใหเ้ ป็นระเบยี บเพอื่ ความสะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน
2.7 ขนาดแปลงหญา้ ควรจดั แบง่ ให้เป็ นระเบียบเท่า ๆ กนั
2.8 คอกพกั แม่พนั ธุ์ โรงรีดนมและคอกโคขนุ ไม่ควรอยหู่ ่างจากสานกั งานมากนกั
2.9 คอกลูกโคแรกคลอดและคอกโคหยา่ นม ควรจะสรา้ งใหอ้ ยหู่ ่างจากคอกพกั แม่พนั ธุ์
และโรงรีดนม เพอ่ื ไม่ใหไ้ ดย้ นิ เสียงร้องหรือมองเห็นกนั
2.10 คอกคดั ควรอยใู่ กลก้ บั คอกแม่พนั ธุแ์ ละคอกโคขนุ
2.11 หลุมหญา้ หมกั ควรอยใู่ กลก้ บั คอกทจี่ ะใชเ้ ล้ียงโค
2.12 แปลงหญา้ ทอ่ี ยใู่ กลก้ บั คอกพกั และคอกขนุ ควรจะปลูกหญา้ ชนิดตดั สดให้โคกิน
สาหรับแปลงหญา้ ทอ่ี ยหู่ ่างออกไป ควรปลูกหญา้ ประเภทให้โคลงแทะเล็ม
2.13 มีร้ัวก้นั โดยรอบและควรมีตน้ ไมเ้ ป็นแนวโดยรอบเพอ่ื ป้ องกนั ลม (ภาพที่ 3.1)
2.14 ท่ขี ้ึนลงสตั ว์ โรงรับอาหารสตั วจ์ ากภายนอกและคอกจาหน่ายโคควรอยดู่ า้ นหนา้
ของฟาร์ม เพอ่ื กนั ไม่ใหร้ ถจากภายนอกเขา้ มาในฟาร์ม (ภาพที่ 3.2)
2.15 ทางเขา้ ฟาร์มควรมีอ่างน้ายาฆ่าเช้ือ และทพี่ น่ ยาฆ่าเช้ือรถทีจ่ ะเขา้ ไปในฟาร์ม ซ่ึงจะ
เป็นประโยชน์ในการควบคุมโรคเมื่อพ้นื ท่นี อกฟาร์มเกิดโรคระบาดข้นึ (ภาพท่ี 3.3)

ภาพที่ 3.1 แนวร้ัวก้นั รอบพน้ื ทีข่ องฟาร์ม
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

38

ภาพที่ 3.2 ท่ขี ้ึนลงสตั ว์
ท่มี า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

ภาพท่ี 3.3 โรงบ่อน้ายาฆ่าเช้ือโรคก่อนเขา้ ไปในฟาร์ม
ท่ีมา: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

39

ทางเขา้ ถนนใหญ่ N
บ่อน้ายาฆ่าเช้ือโรค
สานกั งาน แปลงหญา้ แทะเลม็
แปลงหญา้ ตดั สด
คอกโคขุน
โรงอาหารสัตว์ คอกคดั
หลุมหญา้ หมกั คอกแม่พนั ธุ์

แปลงหญา้ ตดั สด หลุมหญา้ หมกั

แปลงหญา้ ตดั สด
หลุมหญา้ หมกั

แปลงหญา้ แทะเล็ม คอกโคหยา่ นม คอกโคสาว
หลุมหญา้

แปลงหหญมา้ กัแทะเล็ม

แปลงหญา้ แทะเลม็ แปลงหญา้ แทะเล็ม

ภาพท่ี 3.4 ตวั อยา่ งการวางแผนผงั ฟาร์มโคเน้ือ
ทีม่ า: ดดั แปลงจากปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

40

ทางเขา้ ถนนใหญ่ N
บ่อน้ายาฆ่าเช้ือโรค
แปลงหญา้ ตดั สด สานกั งาน
คอกโคสาว แปลงหญา้ ตดั สด
คอกลกู โค โรงรีดนม
คอกพกั แม่โครีดนม
หลุมหญา้ หมกั
คอกพกั โคนมแห้ง
แปลงหญา้ ตดั สด หลุมหญา้ หมกั

แปลงหญา้ ตดั สด

แปลงหญา้ แทะเล็ม แปลงหญา้ แทะเลม็

ภาพที่ 3.5 ตวั อยา่ งการวางแผนผงั ฟาร์มโคนม
ทมี่ า: ดดั แปลงจากกองวทิ ยาลยั เกษตรกรรม (2540)

3. รูปแบบและส่วนประกอบของโรงเรือนเลยี้ งโคเนอื้

การเล้ียงโคเน้ือในประเทศไทยส่วนใหญ่จะปล่อยใหโ้ คอยใู่ นแปลงหญา้ หรือทุ่งหญา้
ธรรมชาติในตอนกลางวนั ส่วนตอนกลางคนื มกั ขงั โคไวใ้ นคอก ดงั น้นั โรงเรือนของโคเน้ือจึงมกั
เรียกวา่ “คอกพกั ” โรงเรือนหรือคอกพกั โคอาจจดั แบง่ เป็ นคอกยอ่ ย ๆ ขนาดของพ้ืนท่ีแต่ละคอก
ข้ึนอยกู่ บั ขนาดและจานวนของโคทตี่ อ้ งการใหพ้ กั ในคอกน้นั ๆ ซ่ึงปกติโคเน้ือ 1 ตวั จะใชพ้ ้ืนท่ี
ประมาณ 5 - 6 ตารางเมตร (สาราญ รื่นรวย, 2550) ถา้ พ้นื ทีค่ อกต่อตวั นอ้ ยเกินไปโคจะอยอู่ ยา่ ง
แออดั และมกั เกิดปัญหาเร่ืองพน้ื คอกแฉะแมก้ ระทงั่ ในฤดูแลง้ แต่ถา้ มากเกินไปก็จะเสียพ้นื ท่ีมาก

41

และส้ินเปลืองคา่ ใชจ้ า่ ยมาก พน้ื ทค่ี อกโคเน้ือควรแยกเป็น 3 ส่วน โดย 1 ใน 3 ส่วนคือส่วนท่ี
มีหลงั คาและเป็ นพ้นื คอนกรีตหยาบและ 2 ใน 3 ส่วนคอื ส่วนที่ไม่มีหลงั คา หากจะสรา้ งหลงั คา
คลุมพน้ื ท่คี อกท้งั หมดกไ็ ด้ มีขอ้ ดีที่ไม่ทาใหพ้ น้ื คอกแฉะในฤดูฝน แตม่ ีขอ้ เสียหลายประการ เช่น
ส้ินเปลืองค่าใชจ้ า่ ยและโคอาจขาดวติ ามินดีเพราะไม่ไดร้ ับแสงแดด (ปรารถนา พฤกษะศรี, 2533)

3.1 รูปแบบของโรงเรือน
โรงเรือนเล้ียงโคเน้ือในประเทศไทยมี 3 รูปแบบ ดงั น้ี
3.1.1 รูปแบบโรงเรือนหลงั คาเพงิ หมาแหงน เป็นรูปแบบที่สรา้ งไดง้ ่าย ไม่ซับซอ้ น

อากาศถ่ายเทไดด้ ี มีขอ้ เสีย คือ ไม่ค่อยคุม้ แดดและฝน ทาใหอ้ ุณหภูมิในโรงเรือนสูงหรือพน้ื คอก
ช้ืนแฉะ เป็นตน้

3.1.2 รูปแบบโรงเรือนหลงั คาเพงิ หมาแหงนกลาย คลา้ ยแบบเพงิ หมาแหงนแต่สร้าง
กนั สาดดา้ นหนา้ เพม่ิ ช่วยป้ องกนั แสงแดดและฝนสาดไดด้ ีข้ึน แตจ่ ะเสียคา่ ใชจ้ ่ายเพม่ิ มากข้นึ

3.1.3 รูปแบบโรงเรือนหลงั คาจว่ั ช้นั เดียว แบบน้ีมีค่าก่อสร้างสูงกวา่ สองแบบแรก
แต่ประสิทธิภาพป้ องกนั แสงแดดและฝนสาดไดด้ ีกวา่

หากเปรียบเทียบรูปแบบของโรงเรือนท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ พบวา่ แบบหลงั คาจวั่ ช้นั เดียว
จะดีท่สี ุดเพราะสามารถป้ องกนั แสงแดดและฝนสาดไดด้ ีกวา่ อยา่ งไรกต็ าม หากตอ้ งการประหยดั
ค่าใชจ้ า่ ยก็อาจสรา้ งแบบเพงิ หมาแหงนหรือเพงิ หมาแหงนกลายก็ได้ ท้งั น้ี เพราะการเล้ียงโคเน้ือ
ในบา้ นเราส่วนใหญ่เป็นพนั ธุท์ ี่ทนตอ่ สภาพความร้อนไดด้ ี ดงั น้นั การเลือกรูปแบบของโรงเรือน
จึงควรพจิ ารณาถึงความจาเป็ นและความคุม้ ค่าตอ่ การลงทนุ ดว้ ย (ภาพที่ 3.6)

(ก) โรงเรือนหลงั คาจวั่ ช้นั เดียวสร้างแบบถาวร (ข) โรงเรือนหลงั คาจว่ั ช้นั เดียวสร้างแบบชว่ั คราว
ภาพท่ี 3.6 รูปแบบของโรงเรือนเล้ียงโคเน้ือแบบหลงั คาจวั่ ช้นั เดียว
ที่มา: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

42

3.2 ส่วนประกอบของโรงเรือน
โรงเรือนเล้ียงโคเน้ือท่ดี ีควรมีส่วนประกอบ ดงั น้ี
3.2.1 เสาคอก ทาดว้ ยวสั ดุ เช่น ไมเ้ น้ือแขง็ ไมไ้ ผ่ เหล็ก แป๊ บน้าหรือเสาคอนกรีต

(ภาพท่ี 3.7) การเลือกใชจ้ ะตอ้ งคานึงถึงตน้ ทุนและอายกุ ารใชง้ าน โคนเสาไม้ เหล็กและแป๊ บน้า
ควรหล่อหุม้ ดว้ ยคอนกรีต หรือหุม้ ดว้ ยทอ่ เอสล่อนสูงจากพ้นื ประมาณ 30 เซนติเมตรเพอื่ ป้ องกนั
การผกุ ร่อนอนั เนื่องมาจากมูลและปัสสาวะของโค (ปรารถนา พฤกษะศรี, 2533)

ภาพที่ 3.7 การใชเ้ สาคอนกรีตช่วยเพม่ิ ความเขง็ แรงของโรงเรือน
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

3.2.2 หลงั คา ควรมีโครงสร้างทไี่ ม่กีดขวางการใชเ้ คร่ืองจกั รกลทาความสะอาดคอก
โครงสรา้ งดา้ นบนความสูงไม่นอ้ ยกวา่ 3.50 เมตร ชายคาล่างสูงจากพ้ืนประมาณ 2 - 2.50 เมตร
(ศรเทพ สงั ขท์ อง, 2549) ส่วนวสั ดุทีม่ ุงหลงั คาสามารถเลือกใชไ้ ดต้ ามตอ้ งการ ข้ึนอยกู่ บั เงินทุน
ของผเู้ ล้ียง วสั ดุมุงหลงั คามีขอ้ ดี ขอ้ เสียแตกต่างกนั เช่น หญา้ แฝก ใบจาก มีราคาถูกและทาให้
โรงเรือนเยน็ สบายแต่อายกุ ารใชง้ านส้นั ตอ้ งเปลี่ยนบอ่ ย สงั กะสีมีราคาแพงโรงเรือนค่อนขา้ งร้อน
แตม่ ีอายกุ ารใชง้ านนาน ส่วนกระเบ้อื งมีราคาแพงกวา่ โรงเรือนเยน็ สบายและอายกุ ารใชง้ านนาน
(ภาพท่ี 3.8 และ 3.9)

43

ภาพที่ 3.8 การใชห้ ญา้ แฝกเป็นวสั ดุมุงหลงั คาทาใหโ้ รงเรือนเยน็ สบาย
ทม่ี า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

ภาพที่ 3.9 การใชก้ ระเบ้อื งมุงหลงั คาทาใหโ้ รงเรือนเยน็ สบายแตล่ งทนุ สูง
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

3.2.3 พน้ื คอก พน้ื คอกในส่วนที่มีหลงั คาควรเป็ นพ้นื คอนกรีต เพือ่ ป้ องกนั ไม่ให้
พน้ื คอกเป็นหลุมเป็นบอ่ และสะสมส่ิงสกปรก พน้ื คอนกรีตช่วยใหท้ าความสะอาดพ้ืนคอกไดง้ ่าย
พน้ื คอกควรกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 2.5 เมตร หรือเท่ากบั ความกวา้ งของประตดู า้ นหนา้ พน้ื ลาดเอียงมา
ทางแนวดา้ นหลงั ไม่นอ้ ยกวา่ 2 เปอร์เซ็นต์ เพอื่ ระบายน้าไดด้ ี ผิวหน้าคอนกรีตควรทาให้หยาบ

44

โดยใชไ้ มก้ วาดมือเสือครูดใหเ้ ป็นรอย ส่วนพ้นื คอกในส่วนทไ่ี ม่มีหลงั คาควรเป็ นพ้ืนดินอดั แน่น
ช่วงรอยตอ่ ระหวา่ งแนวพ้นื คอนกรีตกบั พ้นื ดินหลงั คอก ควรใส่หินกรวดเพือ่ ป้ องกนั ไม่ใหพ้ ้ืน
คอนกรีตพงั เพราะการเหยยี บยา่ ของโค (ภาพท่ี 3.10 และ 3.11)

พ้นื คอนกรีตลาดเอียง 2 %

ร้ ัวก้ นั ใส่กรวดตรงรอยต่อ
รางอาหาร ระหว่างพ้ืนคอนกรีต
45 ซม. กบั พ้ืนดิน

2.5 – 3.0 ซม. พ้ืนดินอดั แน่น

ภาพที่ 3.10 ภาพตดั ขวางพน้ื คอกและรางอาหาร
ท่มี า: ยอดชาย ทองไทยนนั ท์ (2547)

ภาพที่ 3.11 พ้นื คอกใตห้ ลงั คาเป็ นคอนกรีตจะทาความสะอาดไดง้ ่าย
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

45

3.2.4 รางอาหารโค แบ่งออกเป็น 2 แบบ คอื แบบรางกล (self - feeding) และแบบ
รางเปิ ด (through - feeder) ในประเทศไทยนิยมแบบรางเปิ ด (ภาพท่ี 3.12) รางอาหารควรมีพ้ืนท่ี
เพยี งพอสาหรบั โคแตล่ ะตวั (ตารางที่ 3.1)

ตารางท่ี 3.1 ความยาวของรางอาหารตามอายโุ ค

อายโุ ค ความยาวของรางอาหาร (เซนติเมตร/ตัว)

1 ปี รางกล รางเปิ ด
18 เดือน - 2 ปี 10 - 20 20 - 30
พอ่ พนั ธุ์ พอ่ โคตอน (bullock) 20 - 25 30 - 40
25 - 30 40 - 50

ท่มี า: Queensland Dept. 0f Primary Industries (n.d.)

รางอาหารควรอยใู่ ตช้ ายคา ป้ องกนั ไม่ใหห้ ญา้ และอาหารเปี ยกเมื่อฝนตก รางอาหาร
ควรอยดู่ า้ นหนา้ ของคอกเพอื่ ความสะดวกในการใชร้ ถวง่ิ จา่ ยอาหาร ขอบรางควรตรงเป็ นแนวด่ิง
ไม่เอียงเฉียงออกมาหรือลอยสูงจากพ้นื คอกจะทาใหเ้ กิดมุมอบั และทาความสะอาดยาก รางอาหาร
ควรสูงประมาณ 60 เซนติเมตร กวา้ ง 80 - 90 เซนตเิ มตร ใหด้ า้ นหนา้ สูงกวา่ ดา้ นหลงั ประมาณ
10 - 20 เซนตเิ มตร พ้นื ผวิ ภายในควรฉาบใหเ้ รียบและขดั มนั กน้ รางทาเป็ นแนวโคง้ มน ไม่มีมุม
แนวก้นั โคดา้ นหนา้ สูงกวา่ ขอบรางอาหารประมาณ 40 - 60 เซนตเิ มตร (ภาพท่ี 3.12 และ 3.13)

ภาพที่ 3.12 ลกั ษณะของรางอาหารแบบเปิ ด
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

46

ร้ ัวก้ นั เสา

ขอบรางตรงในแนวดิ่ง 45 ซม. 150 ซม.
รางอาหารโคง้ มน 50 ซม.

60 ซม. ลาดเท 2 %

แนวพ้ืนคอนกรีต

ภาพที่ 3.13 รูปแบบของรางอาหารแบบเปิ ด
ทม่ี า: ยอดชาย ทองไทยนนั ท์ (2547)

3.2.5 ร้ัวก้นั คอก ควรทาดว้ ยไมเ้ น้ือแขง็ ไมไ้ ผห่ รือแป๊ บน้า ปัจจบุ นั นิยมใชแ้ ป๊ บน้า
เพราะราคาพอ ๆ กบั ไมเ้ น้ือแขง็ แตแ่ ขง็ แรงและมีอายกุ ารใชง้ านนานกวา่ ไมม้ าก ร้ัวคอกควรก้นั
อยา่ งนอ้ ย 4 แนว แนวบนสุดสูงจากพน้ื ประมาณ 1.50 เมตร (ปิ ยะศกั ด์ิ สุวรรณี และ สมมาตร
สุวรรณมาโจ, 2545) การก้นั ควรใหร้ ้วั อยดู่ า้ นในเสา เพราะจะช่วยรบั แรงกระแทกจากโคไดด้ ีข้ึน

โคนเสาของร้ัวที่ทาดว้ ยเหลก็ และแป๊ บน้า
ควรหล่อหุม้ ดว้ ยคอนกรีต หรือหุม้ ดว้ ยท่อ
พี วี ซี สูงจากพ้นื ประมาณ 30 เซนติเมตร
เพอื่ ป้ องกนั การผกุ ร่อน (ภาพท่ี 3.14) ส่วน
ประตูคอกโคควรกวา้ งอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร
เพอื่ ใหร้ ถแทรคเตอร์เขา้ ไปทางานในคอก
ไดส้ ะดวก

ภาพท่ี 3.14 โคนเสาร้วั ก้นั คอกหล่อหุม้ ดว้ ยคอนกรีต
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

47

3.2.6 ร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหาร มีลกั ษณะและขอ้ ดีขอ้ เสียแตกต่างกนั ออกไป
การเลือกใชร้ ้ัวแบบใดข้ึนอยกู่ บั ความเหมาะสมของแต่ละราย ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี

1) แบบก้นั แนวนอน เป็นแบบทใ่ี ชโ้ ดยทว่ั ไป (ภาพที่ 3.15 และ 3.16)
ขอ้ ดี ทางา่ ย ราคาถูก ใชก้ บั โคเขายาวได้
ขอ้ เสีย อาหารสูญเสียมาก โคเล็กสามารถลอดออกทางช่องกินอาหารได้

โคยนื กินอาหารไม่สบายเพราะติดตะโหนกและสามารถรงั แกซ่ึงกนั และกนั ไดม้ าก

เสา ไมก้ ้นั

ไมก้ ้นั  

รางอาหาร  

45 ซม. 150 ซม.

รางอาหาร พ้ืนลาดเอียง 2 %

ด้านข้าง ด้านหน้า

ภาพท่ี 3.15 รูปแบบร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบแนวนอน
ทม่ี า: ปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

ภาพท่ี 3.16 ร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบแนวนอน
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

48

2) แบบก้นั แนวต้งั เป็ นแบบที่ใชก้ นั ทว่ั ไป (ภาพที่ 3.17 และ 3.18)
ขอ้ ดี ทาไม่ยาก ราคาไม่แพง ใชก้ บั โคเขายาวไดแ้ ละโคยนื กินอาหารได้

อยา่ งสบาย
ขอ้ เสีย โคเล็กลอดออกจากคอกทางช่องกนิ อาหารได้ การสูญเสียอาหาร

นอ้ ยกวา่ แนวนอน โคสามารถรงั แกซ่ึงกนั และกนั ไดแ้ ต่ยงั นอ้ ยกวา่ แนวนอน

แป๊ บน้า Ø ¾ นิ้ว แป๊ บน้า Ø 2 นิ้ว

90 ซม.

25 ซม.

ภาพท่ี 3.17 รูปแบบร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบแนวต้งั
ที่มา: ปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

ภาพท่ี 3.18 ร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบแนวต้งั
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

49

3) แบบก้นั เอียง 70 องศา เป็ นแบบประยกุ ตม์ าจากแบบก้นั แนวต้งั แต่ให้เอียง
70 องศา เพอื่ ลดการสูญเสียอาหารและลูกโคเล็กออกจากคอกไดย้ ากข้นึ (ภาพท่ี 3.19 และ 3.20)

แป๊ บน้า Ø ¾ แป๊ บน้า Ø 2 น้ิว

น้ิว

90 ซม.

มุม 70 องศา 25 ซม.
25 ซม.

ภาพที่ 3.19 รูปแบบร้วั ก้นั คอกแถบตดิ กบั รางอาหารแบบก้นั เอียง 70 องศา

ทม่ี า: ปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

ภาพท่ี 3.20 ร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบก้นั เอียง 70 องศา
ท่มี า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

50

4) คลา้ ยแบบก้นั แนวต้งั แต่ประยกุ ตใ์ ชเ้ พอื่ แกป้ ัญหาการลอดออกของโคเลก็
และแกป้ ัญหาอาหารสูญเสีย (ภาพที่ 3.21 และ 3.22)

ขอ้ ดี ใชก้ บั โคเขายาวได้ โคเล็กลอดออกจากคอกทางช่องกินอาหารไม่ได้
โคยนื กินอาหารไดอ้ ยา่ งสบาย ป้ องกนั การสูญเสียอาหารไดม้ าก

ขอ้ เสีย ทายากข้นึ ราคาแพง โครงั แกกนั ได้ แต่ยงั ดีกวา่ แบบก้นั แนวนอน

แป๊ บน้า Ø ¾ แป๊ บน้า Ø 2 นิ้ว

นิ้ว 40 ซม.
90 ซม.

18 ซม.

ภาพที่ 3.21 รูปแบบร้ัวก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารประยกุ ตจ์ ากแบบแนวต้งั
ที่มา: ปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

ภาพที่ 3.22 ร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารประยกุ ตจ์ ากแบบแนวต้งั
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

51

5) คลา้ ยแบบแนวต้งั แต่สามารถล็อคคอขณะกินอาหาร เพอื่ ป้ องกนั การรังแก
ซ่ึงกนั และกนั (ภาพที่ 3.23 และ 3.24)

ขอ้ ดี แกป้ ัญหาโครังแกซ่ึงกนั และกนั ได้ แกป้ ัญหาการสูญเสียอาหาร
โคยนื กินหญา้ ไดอ้ ยา่ งสบาย โคเลก็ ไม่สามารถออกจากคอกทางช่องกินอาหารได้

ขอ้ เสีย ทายาก ราคาแพง ไม่สามารถใชก้ บั โคเขายาวได้

 

แป๊ บน้า Ø 1 1 45 ซม.
2
นิ้ว
1   
แป๊ บน้า Ø 1 4 นิ้ว
45 ซม.

แป๊ บน้า Ø 1 น้ิว 14 ซม. 18 ซม.

ภาพท่ี 3.23 รูปแบบร้วั ก้นั คอกแถบติดกบั รางอาหารแบบล็อคคอได้
ทีม่ า: ปรารถนา พฤกษะศรี (2536)

ภาพที่ 3.24 ร้วั ก้นั คอกแถบตดิ กบั รางอาหารแบบล็อคคอได้
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

52
3.2.7 อ่างน้า อ่างน้าควรอยใู่ นจดุ ต่าสุดของคอกหรือหลงั คอกดา้ นนอก เพอ่ื ป้ องกนั

พ้นื คอกแฉะอา่ งน้าควรสูงประมาณ 60 เซนตเิ มตร รอบ ๆ อ่างน้าควรมีลานคอนกรีตเช่นเดียวกบั
รางอาหาร (ภาพที่ 3.25) ขนาดของอ่างน้าข้นึ อยกู่ บั จานวนโค โดยโค 1 ตวั กินน้าประมาณวนั ละ
20 - 50 ลิตร ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั ขนาดโคและสภาพอากาศ

ภาพท่ี 3.25 อ่างใหน้ ้าสาหรบั โค
ที่มา: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง
3.2.8 รางแร่ธาตุ ควรมีรางสาหรบั ใส่แร่ธาตุเพอื่ เสริมให้โคกินตลอดเวลาหรืออาจใช้
แร่ธาตกุ อ้ นแขวนไวใ้ หโ้ คเลียกินก็ได้ (ภาพท่ี 3.26)

ภาพท่ี 3.26 ลกั ษณะของรางใส่แร่ธาตุสาหรบั โค
ท่ีมา: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

53

3.2.9 ตน้ ไมใ้ หร้ ่มเงา ควรปลูกตน้ ไมใ้ หร้ ่มเงาบา้ งตามสมควรเพอื่ ช่วยลดความร้อน
โดยปลูกรอบ ๆ โรงเรือนหรือลานคอกปล่อยโค ควรปลูกตน้ ไมท้ ี่โปร่งขา้ งล่างและแผ่ทึบขา้ งบน
ปลูกห่างจากคอกประมาณ 3 เมตร เช่น ตน้ ประดู่ พญาสตั บรรณ จามจรุ ี เป็นตน้ (ภาพท่ี 3.27)

ภาพท่ี 3.27 การปลูกตน้ ไมใ้ หร้ ่มเงาช่วยลดความรอ้ นลงได้
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

4. รูปแบบและส่วนประกอบของโรงเรือนเลยี้ งโคนม

การเล้ียงโคนมมีความแตกตา่ งกบั การเล้ียงโคเน้ือหลายอยา่ ง โดยเฉพาะการเอาใจใส่
ดูแลทกุ อยา่ งอยา่ งใกลช้ ิด ท้งั น้ี เพราะโคนมจะตอบสนองต่อสิ่งแวดลอ้ มมาก หากส่ิงแวดลอ้ มดี
โคจะมีความเป็นอยอู่ ยา่ งสบายก็ใหน้ ้านมไดเ้ ตม็ ความสามารถสูงสุด การออกแบบสรา้ งโรงเรือน
จงึ ตอ้ งคานึงถึงประโยชน์ ความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน และที่สาคญั จะตอ้ งเหมาะสมกบั สภาพ
ดินฟ้ าอากาศของเมืองไทย รูปแบบของโรงเรือนโคนมท่ีนิยมสร้างจาแนกได้ 2 รูปแบบ ดงั น้ี

4.1 โรงเรือนโคนมแบบผูกยนื โรง
โรงเรือนแบบน้ีจะจดั ใหโ้ คอยใู่ นโรงเรือนเป็ นสดั ส่วนและประจาเฉพาะตวั พอที่โค

จะยนื และนอนไดส้ บาย โคจะกินอาหาร น้า หญา้ และรีดนมภายในโรงเรือนน้ี แบบมาตรฐาน
ของโรงเรือนแบบน้ีจะเป็นรูปสี่เหลี่ยมผนื ผา้ มีซองโคเรียงเป็นแถวยาวตามความยาวของโรงเรือน
อาจเป็นแถวเดียวหรือหลายแถวตามความกวา้ งของโรงเรือน ในประเทศไทยนิยมใชแ้ บบ 2 แถว
หนั หนา้ เขา้ หากนั จะสะดวกในการทาความสะอาดและรับแสงสวา่ งมาจากดา้ นหลงั ซ่ึงตอ้ งการ
แสงมากกวา่ ดา้ นหนา้ (ภาพที่ 3.28) ดา้ นหนา้ ซองโคจะมีรางอาหารและท่ีใหน้ ้า ถดั จากน้ันจะเป็ น

54

ทางเดินสาหรับใหอ้ าหาร ส่วนดา้ นทา้ ยซองทีโ่ คอยเู่ ป็นรางรับมูลและส่ิงโสโครก ถดั ไปจึงเป็ น
ทางเดินสาหรบั ทาความสะอาดและรีดนม รายละเอียดส่วนประกอบของโรงเรือนมีดงั น้ี

ภาพที่ 3.28 การเล้ียงโคนมแบบผกู ยนื โรง
ที่มา: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง
4.1.1 ซองโค เป็ นซองสาหรบั ใหเ้ ป็ นท่ีอยปู่ ระจาของแม่โคแตล่ ะตวั มีพ้นื ที่จากดั
คือ กวา้ งประมาณ 120 เซนตเิ มตร ยาว 150 - 160 เซนตเิ มตร ถา้ ซองยาวกวา่ น้ีโคจะถ่ายมูลลง
พน้ื ซอง ถา้ เป็ นพ้นื คอนกรีตควรมีความลาดเอียงไปทางดา้ นทา้ ยซองประมาณ 2 - 3 เปอร์เซ็นต์
(ธวชั ชยั อินทรตลุ , 2539) พน้ื คอนกรีตแตง่ ใหห้ ยาบปานกลางเพอื่ ป้ องกนั การล่ืนของโค การใช้
หญา้ แหง้ หรือฟางปูพน้ื ซองไม่นิยมทาและไม่จาเป็ นในเมืองร้อน ถา้ ตอ้ งการใหโ้ คสบายและไม่ทา
ใหโ้ คเกิดบาดแผลทเี่ ขา่ และเตา้ นม อาจใชเ้ ส่ือยาง (rubber mats) ปูพ้ืนซอง แต่จะส้ินเปลืองมาก
เคร่ืองก้นั ระหวา่ งซองควรใชท้ ่อเหล็กขนาด 1.5 นิ้ว จะก้นั เฉพาะส่วนหนา้ เท่าน้นั เพอื่ ใหส้ ะดวก
ต่อการทางานส่วนทา้ ยของโค เช่น การรีดนม การทาความสะอาด เป็ นตน้
ส่วนทีก่ ้นั โคตอนหนา้ และเคร่ืองจบั ยดึ โคใหอ้ ยเู่ ป็นท่ี ส่วนใหญ่ใชโ้ ซ่ยดึ คลอ้ งคอโค
กบั ราวบนเหนือหวั โคกบั พ้นื โรงเรือน (ภาพท่ี 3.29)

55

ภาพท่ี 3.29 ลกั ษณะซองทอ่ี ยปู่ ระจาของโค
ที่มา: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง
4.1.2 รางระบายมูลและส่ิงโสโครก การกาจดั มูลและส่ิงโสโครกจดั เป็ นภาระใหญ่
และสิ้นเปลืองมาก จึงตอ้ งพยายามหาวธิ ีการกาจดั ท่ีงา่ ย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ รางรับมูลโค
แบบมาตรฐานควรกวา้ งประมาณ 30 - 50 เซนตเิ มตร ลึกไม่เกิน 15 เซนตเิ มตร รางน้ีอยทู่ า้ ยซอง
ประมาณวา่ เม่ือโคถ่ายมูลจะตกลงรางพอดี รางระบายจะตอ้ งทาให้ลาดเอียงไปตามความยาวของ
โรงเรือนเพอ่ื ใหน้ ้าไหลไดส้ ะดวก โดยรางระบายน้ีจะตอ่ เช่ือมออกนอกโรงเรือนลงสู่บ่อโสโครก
(ภาพท่ี 3.30)

ภาพที่ 3.30 รางระบายมูลและส่ิงโสโครกอยดู่ า้ นทา้ ยซอง
ท่มี า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

56

รางระบายส่ิงโสโครกแบบรางลึกจะสะดวกกวา่ แบบมาตรฐาน ซ่ึงเป็ นแบบที่ใชน้ ้า
ชาระท้งั มูลและของเหลวท้งั หมดไปดว้ ยกนั รางระบายน้ีจะตอ้ งทาใหล้ ึกและกวา้ งเพื่อรองรับมูล
และของเหลวได้ มีตะแกรงปิ ดปากราง ส่วนกน้ รางมีน้าหล่อเล้ียงเพ่อื ไม่ให้มูลโคเกาะพ้นื ราง
การระบายมูลและของเหลวจะใชน้ ้าฉีดอยา่ งแรง เพอื่ พามูลและของเหลวไปสู่บอ่ เกรอะซ่ึงอยนู่ อก
โรงเรือนและเก็บพกั ไวเ้ พอื่ รอการขนยา้ ยไปใส่แปลงหญา้ เพอื่ เป็ นป๋ ยุ ตอ่ ไป การกาจดั ส่ิงโสโครก
วธิ ีน้ีเรียกวา่ ระบบป๋ ุยเหลว ซ่ึงเป็ นท่ีนิยมกนั ในฟาร์มโคนมสมยั ใหม่

4.1.3 ทางเดินหลงั ซอง เป็ นทางเดินสาหรับการทางาน เช่น การลาเลียงมูลโคออก
จากโรงเรือนโดยใชร้ ถเขน็ การรีดนม เป็ นตน้ ทางเดินควรกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 1 เมตรและทางเดิน
น้ีควรต่อเชื่อมกบั ทางเดินนอกโรงเรือนเพอื่ สะดวกในการปฏบิ ตั ิงาน (ภาพท่ี 3.31)

ภาพที่ 3.31 แนวทางเดินดา้ นหลงั ซอง
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

4.1.4 รางอาหาร จะอยตู่ อนหนา้ ของซองโค ปากรางกวา้ ง 70 - 80 เซนติเมตร ปกติ
ทาเป็นรางยาวตอ่ กนั ตลอดท้งั โรงเรือน รางดา้ นในจะมีลกั ษณะโคง้ ควรฉาบให้เรียบและขดั มนั
และใหม้ ีความลาดเทไปดา้ นใดดา้ นหน่ึง (ภาพที่ 3.32)

4.1.5 ทางเดินใหอ้ าหาร อยตู่ อนหนา้ ของรางอาหารควรมีความกวา้ งเพียงพอท่ีจะใช้
รถเขน็ ผา่ นไปไดแ้ ละนิยมยกระดบั ใหเ้ สมอกบั ปากรางอาหาร เพอื่ กวาดอาหารท่อี ยนู่ อกรางลงไป
ในรางได้ ทางเดินใหอ้ าหารควรต่อเชื่อมตรงกบั หอ้ งเกบ็ อาหารเพื่อความสะดวกในการใชร้ ถเขน็
นาอาหารมาใหโ้ ค (ภาพท่ี 3.32)

57

ภาพที่ 3.32 ลกั ษณะของทางเดินใหอ้ าหาร
ท่ีมา: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง
4.1.6 เครื่องใหน้ ้าโค โรงโคนมแบบผกู ยนื โรงควรใหน้ ้าโคโดยใชถ้ ว้ ยน้าอตั โนมตั ิ
ราคาไม่แพงมากนกั ถว้ ยน้าจดั ต้งั ไวด้ า้ นหนา้ โค ใหโ้ ค 2 ตวั กินน้าถว้ ยเดียวกนั (ภาพท่ี 3.33)

ภาพที่ 3.33 ถว้ ยน้าอตั โนมตั ิ
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

58

4.2 โรงเรือนโคนมแบบปล่อยอสิ ระในคอก
การเล้ียงโคนมแบบปล่อยใหโ้ คอยใู่ นคอกอยา่ งอิสระ โดยทไี่ ม่มีการผกู หรือยดึ โคไว้

เป็นรูปแบบการเล้ียงท่ีนิยมแพร่หลายมากท่ีสุดในปัจจุบนั เพราะเล้ียงไดจ้ านวนมาก สิ้นเปลือง
นอ้ ยกวา่ การเล้ียงแบบผกู ยนื โรง โคจะมีท่ีนอนหรือซองเฉพาะตวั มีลานสาหรับเดินภายในคอก
ตามความพอใจ มีท่ีกินอาหารแยกจากทนี่ อน ส่วนการรีดนมจะจดั ทีร่ ีดหรือโรงรีดนมไวต้ ่างหาก
ซ่ึงโดยทวั่ ไปจะใชเ้ คร่ืองรีดนมร่วมกนั มีส่วนประกอบสาคญั แต่ละจดุ ของโรงเรือนดงั น้ี

4.2.1 โรงนอน เป็ นโรงท่ีมีหลงั คากนั แดดและฝน พ้นื ของโรงเรือนก้นั เป็ นช่อง
หรือซองเฉพาะตวั โคสาหรบั ให้โคนอนและพยายามทาใหซ้ องนอนน้ีสะอาดท่ีสุด อนั เป็ นหวั ใจ
ของการเล้ียงแบบน้ี ความสะอาดของซองนอนทาไดโ้ ดยไม่ให้โคถ่ายมูลและปัสสาวะลงในซอง
พน้ื ซองท่โี คนอนจะปดู ว้ ยวสั ดุรองพน้ื ท่สี ะอาด การป้ องกนั ไม่ใหพ้ ้นื ซองโคสกปรกจะใชว้ ธิ ีจดั
ขนาดของซองใหโ้ คเดินเขา้ ไปในซองโดยใหก้ ลบั ตวั ไม่ได้ และถา้ โคยนื ก็จะตอ้ งถอยหลงั ออกมา
นอกซอง ขนาดของซองสาหรับโคพนั ธุ์ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนควรมีความกวา้ งภายในซอง
120 เซนตเิ มตร ความยาวภายในซอง 230 เซนติเมตร ถา้ เป็ นโคพนั ธุ์ท่ีเล็กกว่าน้ีให้ลดขนาดลง
อีก 5 เซนติเมตร (วบิ ลู ยศ์ กั ด์ิ กาวลิ ะ และ ญาณิน โอภาสพฒั นกิจ, 2534) เคร่ืองก้นั ซองควรใช้
ทอ่ เหล็กเพราะจะโปร่ง ทาความสะอาดง่ายและทนทาน ตอนทา้ ยของซองนอนทาเป็ นคนั ให้สูง
ประมาณ 20 เซนตเิ มตรจากพ้นื ทางเดิน เพอ่ื กนั วตั ถุรองนอนออกมาจากซองและกนั ไม่ใหม้ ูลโค
เขา้ ไปปนอยใู่ นซองนอนดว้ ย (ภาพที่ 3.34)

ภาพท่ี 3.34 ลกั ษณะของซองนอนโค
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

59

แนวทางเดินควรมีความกวา้ งประมาณ 4 เมตร พ้นื ทางเดินตอ้ งเป็นพ้นื คอนกรีตแบบ
ขดั หยาบเพอื่ กนั ล่ืน ส่วนพน้ื ซองจะเป็นพ้นื ดินหรือพน้ื ทรายกไ็ ด้ เพราะตอ้ งมีวตั ถุรองนอนปูทบั
อีกช้นั หน่ึง วตั ถุรองนอนอาจใชข้ ้ีกบจากโรงไสไมห้ รือใชฟ้ างสบั ซงั ขา้ วโพดหยาบกไ็ ด้ จานวน
ของซองนอนควรมีมากกว่าจานวนโคประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ ซองนอนมกั จดั ให้เป็ น 2 แถว
หนั หนา้ เขา้ หากนั แถวของซองนอนไม่ควรยาวเกินกวา่ 30 ซอง

4.2.2 ทกี่ ินอาหาร ทใี่ หอ้ าหารโคควรทาเป็นรางยาว เพอื่ สะดวกในการใหอ้ าหาร
โดยใชร้ ถจ่ายอาหารแล่นผา่ นร้วั ทกี่ ้นั ระหวา่ งทางรถกบั คอกที่โคอยู่ ร้วั จงึ ควรทาใหโ้ คสามารถ
ลอดหวั ออกมากินอาหารไดพ้ ร้อมกนั หมดทกุ ตวั โดยกาหนดใหม้ ีช่องยนื กินอาหารกวา้ งประมาณ
75 เซนตเิ มตร บริเวณทีย่ นื กินอาหารควรเทคอนกรีตเขา้ มาในร้ัวประมาณ 3 เมตร และทาใหพ้ ้ืน
มีความลาดเอียงมาดา้ นหลงั ประมาณ 3 เปอร์เซ็นต์ ควรทาหลงั คาคลุมท้งั รางอาหารและทีย่ นื โค
เพอื่ ป้ องกนั แดดและฝน (ภาพท่ี 3.35)

ภาพที่ 3.35 ลกั ษณะของรางอาหารและทางเดินใหอ้ าหาร
ท่มี า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

4.2.3 ลานคอก นอกจากท่ีนอนและที่กินแลว้ จะตอ้ งมีพน้ื ทท่ี ีใ่ ชใ้ นการเคลื่อนไหว
มีเคร่ืองทาความสะอาด มีพ้นื ทล่ี าเลียงโคไปและกลบั จากโรงรีดนม มีที่ให้น้า บริเวณน้ีจดั เป็ น
ลานคอกและทางลาเลียง หากเป็ นไปไดค้ วรเป็ นพน้ื คอนกรีตจะทาความสะอาดไดง้ า่ ยและไม่เป็น
โคลนตมในฤดูฝน ลานคอกจะตอ้ งลอ้ มร้ัวและควรเป็นร้ัวท่โี ปร่ง ไม่บงั ลม ร้ัวท่ีทาดว้ ยลวดถกั
หรือเหล็กจะดีกวา่ ร้วั ไม้ ในลานคอกควรมีน้าใหโ้ คกินอยา่ งสะดวกและเพยี งพอ

60
4.2.4 คอกกกั โคก่อนรีดนม จะอยตู่ ิดทางเขา้ โรงรีดนม ใชส้ าหรบั เก็บกกั โคก่อนถึง

เวลารีดนมเพยี งเลก็ นอ้ ย เพอ่ื ไม่ใหเ้ สียเวลาไล่ตอ้ น ควรมีพ้นื ท่ที จ่ี ะใหโ้ คยนื ตวั ละ 2 ตารางเมตร
ทีค่ อกกกั ตรงทางเขา้ โรงรีดนมอาจมีท่ีทาความสะอาดเทา้ สตั วแ์ ละเตา้ นมก่อนกไ็ ด้ (ภาพท่ี 3.36)

ภาพที่ 3.36 ลานกกั โคก่อนรีดนม
ทมี่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง
4.2.5 โรงรีดนม โดยทว่ั ไปตอ้ งมีขนาดทจ่ี ะรีดโคท้งั ฝงู ใหเ้ สร็จไดภ้ ายในเวลาไม่เกิน
2 ชวั่ โมง จึงตอ้ งมีเครื่องรีดเพยี งพอ จานวนเครื่องรีดจะมีเท่าใดข้นึ อยกู่ บั ชนิดเคร่ืองรีด การจดั
โรงรีดและจานวนคนรีดนม (ภาพที่ 3.37)

ภาพท่ี 3.37 ลกั ษณะของโรงรีดนมโดยใชเ้ คร่ืองรีดแบบถงั ต้งั
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

61
4.2.6 คอกคลอดและท่ีดูแลสตั วป์ ่ วย โรงเรือนโคนมท่ีสมบรู ณ์จะตอ้ งมีคอกคลอด
แยกไวต้ า่ งหากจากโรงเล้ียงแม่โค รวมท้งั ตอ้ งมีทีส่ าหรับรกั ษาพยาบาลสตั วท์ ี่เจบ็ ป่ วย คอกคลอด
และคอกพยาบาลสตั วจ์ ะอยใู่ นโรงเดียวกนั ก็ได้ ขนาดหรือจานวนคอกควรมีไวใ้ ห้พอท่ีจะดูแลโค
ไดใ้ นเวลาเดียวกนั (ภาพท่ี 3.38)
นอกจากน้นั ยงั ตอ้ งประกอบไปดว้ ย โรงเกบ็ อาหารสัตว์ ห้องเก็บน้านม ตลอดจน
บริเวณท่ีเกบ็ ของเสีย เป็นตน้ (ภาพที่ 3.39)

ภาพที่ 3.38 คอกคลอดแยกเป็นสดั ส่วนช่วยใหก้ ารจดั การง่ายข้นึ
ท่ีมา: ถ่ายภาพโดยผเู้ ขียนจากตวั อยา่ งของจริง

ภาพที่ 3.39 โรงเก็บอาหารสตั ว์
ทีม่ า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

62

5. เครื่องมือและอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการเลยี้ งโค

เครื่องมือและอุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นการเล้ียงโคแต่ละชนิด จดั สร้างข้ึนมาเพื่ออานวยความ
สะดวกและเพมิ่ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั งิ านของผเู้ ล้ียงโค ดงั น้นั ผเู้ ล้ียงจาเป็ นตอ้ งรู้จกั ชื่อของ
เครื่องมือและอุปกรณ์ การใชป้ ระโยชน์และวิธีการใชง้ านอยา่ งถูกตอ้ ง เคร่ืองมือและอุปกรณ์
จาเป็นท่ใี ชใ้ นการเล้ียงโคดงั แสดงในตารางท่ี 3.2

ตารางท่ี 3.2 เคร่ืองมือและอุปกรณ์จาเป็นที่ใชใ้ นการเล้ียงโค

เครื่องมือและอปุ กรณ์ ประโยชน์

กระบอกกรอกยาสตั วอ์ ตั โนมตั ิ ใชก้ รอกของเหลวต่าง ๆ ทางปาก เช่น
คมี ตอนสตั วใ์ หญ่ ยาถ่ายพยาธิชนิดทกี่ รอกทางปาก น้ามนั พชื
(กรณีโคเป็นโรคทอ้ งอืด) เป็นตน้
เคร่ืองตอนโคแบบกาแพงแสน
ใชส้ าหรบั ตอนโค โดยการหนีบทอ่ ส่ง
น้าเช้ือจากลูกอณั ฑะโคใหต้ บี ตนั ทาใหน้ ้าเช้ือ
ไม่สามารถผา่ นออกมาได้ โดยหนีบทีละขา้ ง
เหลื่อมกนั เล็กนอ้ ย วธิ ีน้ีจะไม่มีการเสียเลือด
ซ่ึงจะง่ายและสะดวกกวา่ วธิ ีการผา่ ตดั

เป็ นเครื่องมือท่ปี ระดิษฐข์ ้นึ โดยอาจารย์
ปรารถนา พฤกษะศรี มีราคาถูกกวา่ คมี ตอน
สตั วใ์ หญ่ ใชส้ าหรบั ตอนโค โดยใชล้ ิ่มตอก
ท่อส่งน้าเช้ือใหต้ บี ตนั ซ่ึงไดผ้ ลใกลเ้ คียงกบั
คมี ตอนสตั วใ์ หญ่ ราคาถูกกวา่ เหมาะสาหรับ
โคน้าหนกั 100 - 300 กิโลกรมั

63

ตารางท่ี 3.2 (ตอ่ )

เคร่ืองมอื และอปุ กรณ์ ประโยชน์

เบอร์หูและคีมตดิ เบอร์หูพลาสติก ใชส้ าหรบั ทาเคร่ืองหมายท่ใี บหูของโค
เบอร์หูโลหะและคีมตดิ เบอร์หูโลหะ โดยเขียนตวั เลขทเ่ี บอร์หูพลาสตกิ แลว้ นาไป
คมี สกั เบอร์หูชนิดหมุนเบอร์หู 4 ตาแหน่ง ตดิ ที่หูของโค เลขเบอร์มีขนาดใหม้ องไดง้ ่าย
แต่มกั มีปัญหาการหลุดขาดไดง้ า่ ย ส่วนใหญ่
ชุดตเี บอร์รอ้ น นิยมใชก้ บั ลูกโคและโครุ่น

ใชส้ าหรบั ทาเครื่องหมายทใ่ี บหูของโค
เช่นเดียวกบั เบอร์หูพลาสตกิ มีขอ้ ดีคือ มีความ
คงทนถาวรกวา่ ขอ้ เสียคือ เลขเบอร์มีขนาดเลก็
มองไกล ๆ อาจเห็นไม่ชดั เจน โดยส่วนใหญ่
นิยมใชก้ บั โคสาวและโคแม่พนั ธุ์

ใชส้ าหรับทาเคร่ืองหมายที่ใบหูของโค
เช่นเดียวกนั มีขอ้ ดี คือ มีความคงทนถาวร
ขอ้ เสีย คือ เลขเบอร์มีขนาดเลก็ มองเห็นได้
ไม่ชดั เจนตอ้ งจบั ใบหูพลิกดู โดยส่วนใหญ่
นิยมใชก้ บั ลูกโค

ใชส้ าหรับทาเคร่ืองหมายประจาตวั โค
โดยเผาใหร้ อ้ น แลว้ ประทบั ทบ่ี ริเวณไหล่หรือ
สะโพกของโค ซ่ึงเป็ นวิธีท่ีทาไดง้ า่ ย ไม่เปลือง
คา่ ใชจ้ า่ ย ตวั เลขมีขนาดใหญ่ สามารถมองเห็น
ไดช้ ดั เจน

64

ตารางท่ี 3.2 (ต่อ)

เครื่องมอื และอปุ กรณ์ ประโยชน์
เคร่ืองสูญเขาโค
ใชท้ าลายเขาลูกโคโดยเผาไฟจนร้อนแดง
เครื่องสูญเขาแบบไฟฟ้ า แลว้ จ้บี ริเวณป่ มุ เขาท้งั สองขา้ ง จะทาใหป้ ่ ุมเขา
คมี ตดั กีบเทา้ โค ไหมแ้ ละเซลสร้างเขาถูกทาลาย วธิ ีการน้ีใชก้ บั
ลูกโคอายุ 3 สปั ดาห์ ถึง 3 เดือน ซ่ึงป่ มุ เขา
ยงั อ่อนอยู่

ใชท้ าลายเขาลูกโคเช่นเดียวกบั เคร่ืองสูญ
เขาโค แต่เคร่ืองสูญเขาแบบไฟฟ้ า จะสะดวก
ตอ่ การใชง้ านมากกวา่ โดยเสียบปลกั๊ ไฟฟ้ าทิ้ง
ไวป้ ระมาณ 5 นาที กส็ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ ง
ตอ่ เนื่อง

ใชส้ าหรับตดั แตง่ กีบเทา้ โคท่ีงอกยาวเกิน
กวา่ ปกติ การทโ่ี คมีกีบยาวเกินไปจะทาใหโ้ ค
เดินไม่สะดวก การรับน้าหนกั ตวั ไม่ดีเทา่ ทคี่ วร
การตดั แตง่ กีบเทา้ จะช่วยลดการบาดเจบ็ ต่าง ๆ
ทีจ่ ะเกิดกบั เทา้ และกีบเทา้ โคได้

ใชส้ าหรบั แต่งกีบเทา้ โค หลงั จากใชค้ ีม
ตดั กีบเทา้ โคแลว้ ใหใ้ ชต้ ะไบถูใหเ้ รียบอีกคร้ัง
เพอ่ื ใหร้ อยตดั มีความเรียบเนียน สวยงาม

ตะไบแตง่ กีบเทา้ โคแบบตรงและแบบโคง้

ตารางที่ 3.2 (ต่อ) 65
เครื่องมอื และอปุ กรณ์
ประโยชน์
คมี ดึงจมูกโค
ท่เี จาะกระเพาะโค ใชส้ าหรับหนีบจมูกโค เพอื่ ดึงหรือบงั คบั
โคใหไ้ ปในทิศทางทตี่ อ้ งการ ทาใหป้ ฏิบตั ิการ
คมี ตดั เขาโค ตา่ ง ๆ เกี่ยวกบั ตวั โคสามารถทาไดง้ ่ายข้นึ
ทถ่ี ่างปากโค
ใชส้ าหรบั เจาะกระเพาะรูเมนของโคทีม่ ี
แกส๊ อดั แน่น เพอื่ ระบายแก๊สออก ทาใหโ้ ค
สามารถหายใจไดส้ ะดวก เพราะถา้ โคมีแกส๊
อดั แน่นในกระเพาะมาก จะทาใหโ้ คหายใจ
ไม่ออกและตายได้

ใชส้ าหรับตดั เขาโครุ่น หรือโคที่โตแลว้
ท่ีมีเขางอกยาว แต่มีความจาเป็ นจะตอ้ งตดั เขา
โดยใชค้ มี ตดั เขาตดั 1 ใน 3 ของเขา จากน้นั
ใชเ้ คร่ืองสูญเขาจ้หี า้ มเลือดอีกคร้ังหน่ึง

เป็ นอุปกรณ์สาหรับถ่างปากโค เพอ่ื ใช้
ในการตรวจรักษาฟัน ต่อมน้าลาย เพดานปาก
เหงือก เยอ่ื บใุ นช่องปาก ต่อมน้าลายและตอ่ ม
ทอนซิล เป็นตน้

66 ประโยชน์
ตารางท่ี 3.2 (ต่อ)
ใชจ้ ้ไี ล่ตอ้ นโค เพอ่ื บงั คบั ใหโ้ คไปใน
เครื่องมอื และอปุ กรณ์ ทิศทางท่ตี อ้ งการ สะดวก และรวดเร็ว เช่น
การตอ้ นโคข้นึ รถ การตอ้ นโคเขา้ ซองบงั คบั
ที่ไล่ตอ้ นสตั วแ์ บบไฟฟ้ า การคดั โค เป็นตน้

กา้ นเหลก็ ป้ องกนั โคเตะ ใชข้ อร้งั ระหวา่ งขาพบั หลงั กบั ลาตวั โค
วธิ ีการน้ีจะทาใหโ้ คยกขาข้ึนไดไ้ ม่สะดวก เช่น
แม่เหล็กใส่กระเพาะโค ใชข้ ณะรีดนม ก็จะสามารถป้ องกนั โคเตะได้

สายวดั น้าหนกั โค ใชก้ รอกลงไปในกระเพาะรูเมนของโค
เม่ือโคมีอายปุ ระมาณ 1 ปี จะสามารถป้ องกนั
ปัญหาเร่ือง เศษโลหะ ตะปู ลวด ซ่ึงเม่ือโค
กินเขา้ ไปกจ็ ะไปท่มิ แทงกระเพาะและทะลุไป
ถึงกระบงั ลมและหวั ใจ แทง่ แม่เหล็กน้ีจะดูด
เศษเหลก็ ตา่ ง ๆ ลงสู่ดา้ นล่างของกระเพาะได้

เป็ นอุปกรณ์ทใ่ี ชเ้ พอื่ ประมาณน้าหนกั โค
โดยวดั ความยาวรอบอกส่วนท่ีเลก็ ท่สี ุดของโค
คอื บริเวณซอกขาหนา้ ดึงสายวดั ใหต้ ึงพอที่จะ
ทาใหข้ นโคราบตดิ กบั ผวิ หนงั ควรวดั ตอนเชา้
ขณะทีโ่ คยงั ไม่ไดก้ ินอาหาร

ตารางที่ 3.2 (ตอ่ ) 67
เครื่องมือและอปุ กรณ์
ประโยชน์
กระบอกใส่ยาจุ่มเตา้ นม
จานทดสอบเตา้ นมอกั เสบ ใชใ้ นการฆ่าเช้ือบริเวณเตา้ นมหลงั จาก
รีดนมเสร็จแลว้ จะช่วยลดปัญหาการติดเช้ือ
ทีป่ ้ องกนั ลกู โคดูดนม ของเตา้ นม เช่น โรคเตา้ นมอกั เสบ เป็นตน้
กระบอกฉีดยาและเขม็ ฉีดยา
ใชใ้ นการตรวจสอบโรคเตา้ นมอกั เสบ
ในกรณีทสี่ งสยั วา่ โคจะเป็นโรค โดยรีดน้านม
ใส่จานทดสอบ ผสมกบั น้ายา CMT อตั ราส่วน
1 : 1 หากส่วนผสมมีความขน้ หนืด คลา้ ยกบั
แป้ งเปี ยก แสดงวา่ โคเป็นโรคเตา้ นมอกั เสบ

ใชแ้ ขวนติดไวท้ บ่ี ริเวณจมูกของลูกโค
เพอ่ื ตอ้ งการใหล้ ูกโคหยา่ นมแม่ตามระยะเวลา
ที่เหมาะสม

เป็นอุปกรณ์จาเป็นตอ้ งมีไวป้ ระจาฟาร์ม
เพอื่ ใชส้ าหรบั การฉีดเวชภณั ฑต์ า่ ง ๆ ใหแ้ ก่โค
เพอื่ การรักษา เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาถ่ายพยาธิ
วคั ซีนและยาบารุง เป็นตน้

68 ประโยชน์
ตารางท่ี 3.2 (ต่อ)
ขวดนมและจกุ นมสาหรบั ลูกโค ใชเ้ พอื่
เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ ป้ อนนมใหล้ ูกโคแรกเกิด ท่แี ม่โคไม่สามารถ
ใหน้ มได้ โดยเฉพาะการป้ อนนมน้าเหลืองจาก
ขวดใหน้ มลูกโค แม่ทเ่ี พง่ิ คลอดใหก้ บั ลูก เพอ่ื เพม่ิ ภูมิคุม้ กนั โรค
ใหก้ บั ลูกโค
ซองบงั คบั โค
ใชใ้ นการบงั คบั โคใหง้ า่ ยต่อการปฏบิ ตั ิ
เชือก ตอ่ ตวั โค เช่น การผสมเทียม ฉีดยา ฉีดวคั ซีน
เจาะเลือด ติดเบอร์หู ทาแผล เป็นตน้
อ่างใหน้ ้าโคอตั โนมตั ิ
เชือกเป็นอุปกรณ์ทใี่ ชป้ ระโยชนใ์ นการ
บงั คบั ไดม้ ากมาย เช่น ใชใ้ นการลากจงู ตา่ ง ๆ
ใชล้ ม้ โค การมดั บงั คบั เพอื่ การฉีดยา วคั ซีน
สูญเขา การมดั เพอ่ื พยาบาลสตั วป์ ่ วย ฯลฯ

เป็นอุปกรณ์ใหน้ ้าโคแบบอตั โนมตั ิ
สะดวก ประหยดั พ้นื ท่ีและช่วยลดภาระในการ
ทาความสะอาด ส่วนใหญน่ ิยมใชก้ บั การเล้ียง
โคนมแบบผกู ยนื โรง

69

ตารางท่ี 3.2 (ตอ่ )

เครื่องมือและอปุ กรณ์ ประโยชน์

เคร่ืองควบคุมร้วั ไฟฟ้ า ใชใ้ นการติดต้งั ในแปลงหญา้ หรือบริเวณ
ที่ตอ้ งการจากดั อาณาเขตของโค โดยต่อพว่ ง
กบั ร้ัวไฟฟ้ า (อาจใชล้ วดแทนกไ็ ด)้ กระแสไฟ
จะถูกปล่อยออกมาเป็นจงั หวะ เม่ือโคถูกชอ๊ ต
จะเขด็ ไม่กลา้ เขา้ ใกลใ้ นท่ีสุด

เครื่องมือผสมเทียมโค เป็ นเคร่ืองมือที่จาเป็นในการฉีดน้าเช้ือ
ผสมเทยี มใหก้ บั แม่โค ประกอบดว้ ย ถงั เก็บ

น้าเช้ือ กระตกิ ใส่น้าอุ่น ปื นฉีดน้าเช้ือ ปลอก
พลาสตกิ กรรไกร คมี คบี หลอดน้าเช้ือ ถุงมอื
พลาสตกิ เทอร์โมมิเตอร์และอุปกรณ์กนั เป้ื อน

ใชร้ ีดนมโค มีความจาเป็นมากสาหรบั
โคฝงู ใหญต่ ้งั แต่ 10 ตวั ข้นึ ไป การใชเ้ ครื่อง
รีดนม จะทาใหร้ ีดนมไดร้ วดเร็ว ประหยดั
แรงงานและมีความปลอดภยั ต่อโค

เคร่ืองรีดแบบรีดนมลงถงั เฉพาะตวั

ทม่ี า: ถ่ายภาพโดยผูเ้ ขยี นจากตวั อยา่ งของจริง

6. การทาความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณ์การเลยี้ งโค

การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์การเล้ียงโคเป็ นสิ่งสาคญั ทผี่ เู้ ล้ียงตอ้ งปฏิบตั ิ
อยเู่ ป็ นประจา เพราะนอกจากจะทาใหอ้ ายกุ ารใชง้ านยาวนานและมีประสิทธิภาพแลว้ ยงั เกิดผลดี
ต่อตวั โคดว้ ย ผเู้ ล้ียงควรดาเนินการดงั น้ี

70

6.1 การทาความสะอาดคอกและโรงเรือน
การทาความสะอาดคอกและโรงเรือนมีวธิ ีการดงั น้ี
6.1.1 ส่วนที่เป็นตวั โครงสรา้ งอาคารและหลงั คา ใชไ้ มก้ วาดหยากไยท่ าความสะอาด

ใหเ้ รียบรอ้ ย
6.1.2 บริเวณทางเดินใหอ้ าหารโค รางหญา้ รางอาหาร ควรใชไ้ มก้ วาดทางมะพร้าว

ชนิดมีดา้ มยาว กวาดทาความสะอาด
6.1.3 ส่วนที่เป็ นพ้ืนคอนกรีตบริเวณท่ีโคอยแู่ ละรางระบายต่าง ๆ ใชพ้ ลว่ั ตกั มูลโค

ออกใหห้ มด ส่วนพ้นื คอกทีเ่ ป็นพ้นื ดิน อาจใชร้ ถแทรกเตอร์ติดใบมีดดนั รวมกองเพ่อื นาไปทาป๋ ุย
และใส่แปลงหญา้ ตอ่ ไป (ถา้ ไม่มีรถแทรกเตอร์อาจใชพ้ ลว่ั หรือจอบขดู รวมเป็ นกองก็ได)้

6.1.4 กรณีคอกโคป่ วยหรือเตรียมคอกคลอด หลงั จากกวาดเรียบร้อยแลว้ ควรใชน้ ้า
ลา้ งใหส้ ะอาด เสร็จแลว้ ลา้ งหรือฉีดพน่ ดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือโรค

6.1.5 โรงรีดนม ควรใชน้ ้าฉีดลา้ งพ้ืนคอกและใชไ้ มก้ วาดทางมะพร้าวกวาดมูลโค
และสิ่งโสโครกลงในรางระบายมูล ใชพ้ ลวั่ ดนั มูลโคในรางระบายลงไปที่บ่อพกั มูล หากพ้นื คอก
มีตะไคร่ข้นึ สีเขยี ว ใหใ้ ชแ้ ปรงพลาสตกิ ขดั ถูใหส้ ะอาดและลา้ งดว้ ยน้า

6.2 การทาความสะอาดและเก็บรักษาเคร่ืองมอื อปุ กรณ์
การทาความสะอาดและเก็บรักษาเครื่องมืออุปกรณ์มีวธิ ีการดงั น้ี
6.2.1 การทาความสะอาดอุปกรณ์ใส่น้า รางอาหารของลูกโคและเครื่องมืออุปกรณ์

ประเภททาดว้ ยแกว้ มีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ทาความสะอาดภาชนะดว้ ยน้าเปล่า โดยใชผ้ า้ หรือฟองน้า
2) ลา้ งภาชนะดว้ ยน้าผสมน้ายาลา้ งภาชนะโดยใชผ้ า้ หรือฟองน้า แลว้ ลา้ งดว้ ย

น้าเปล่าอีกคร้ัง
3) นาภาชนะควา่ ตากแดดใหแ้ หง้ แลว้ นาไปเกบ็ ไวใ้ นท่ีเกบ็ พรอ้ มที่จะนาไป

ใชง้ านตอ่ ไป
6.2.2 การทาความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์ประเภททาดว้ ยโลหะมีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ลา้ งทาความสะอาดโดยใชผ้ า้ หรือน้า
2) ใชผ้ า้ เชด็ เครื่องมือใหแ้ หง้ แลว้ ใชก้ ระดาษทรายขดั ถูส่วนที่เป็ นสนิมออก

ใหห้ มด ใชผ้ า้ เชด็ ใหแ้ ห้งอีกคร้งั
3) ใชน้ ้ามนั เคร่ืองทาชโลมบาง ๆ ส่วนที่เป็นโลหะ แลว้ นาไปเกบ็ ไวใ้ นทีเ่ ก็บ

พร้อมจะนาไปใชง้ านตอ่ ไป

71

6.2.3 การทาความสะอาดอุปกรณ์และภาชนะรีดนมมีข้นั ตอนดงั น้ี
1) ลา้ งทาความสะอาดดว้ ยน้าเปล่าโดยใชผ้ า้ หรือฟองน้า
2) ลา้ งภาชนะดว้ ยน้าผสมน้ายาลา้ งภาชนะโดยใชผ้ า้ หรือฟองน้า แลว้ ลา้ งดว้ ย

น้าเปล่าอีกคร้ัง
3) ลา้ งดว้ ยน้ายาคลอรีน (น้าคลอรีนเขม้ ขน้ 10 มิลลิลิตร ผสมน้า 10 ลิตร)
4) ลา้ งดว้ ยน้ากรดเจือจาง (กรดฟอสฟอริคเขม้ ขน้ 85 เปอร์เซ็นต์ ผสมกบั น้า

อตั ราส่วน 1 : 1)
5) ลา้ งดว้ ยน้าเปล่าอีกคร้งั
6) นาไปผ่งึ ใหแ้ หง้ แลว้ นาไปเก็บไวใ้ นทีเ่ ก็บ พร้อมจะใชง้ านตอ่ ไป

บทสรุป

การสร้างโรงเรือนและส่ิงก่อสร้างในฟาร์มโคตอ้ งมีการวางแผนผงั ฟาร์มว่าโรงเรือน
และส่ิงก่อสรา้ งจะตอ้ งอยบู่ ริเวณใดจึงจะสะดวกตอ่ การปฏบิ ตั ิงานและไม่ก่อใหเ้ กิดปัญหาภายหลงั
หลกั สาคญั ในการพจิ ารณาการก่อสร้างโรงเรือนและส่ิงก่อสร้าง ไดแ้ ก่ สถานที่ต้งั โรงเรือนควร
อยบู่ นที่ดอน มีความร่มเยน็ สะอาด สะดวก ปลอดภยั ราคาถูกและต่อเติมไดภ้ ายหลงั

โรงเรือนเล้ียงโคเน้ือในประเทศไทยส่วนมากสร้างแบบหลงั คาหนา้ จวั่ เพงิ หมาแหงน
หรือเพงิ หมาแหงนกลาย ขนาดของพน้ื ท่คี อกข้นึ อยกู่ บั ขนาดและจานวนของโค โดยปกตโิ คเน้ือ
1 ตวั ตอ้ งการใชพ้ น้ื ท่ี 5 - 6 ตารางเมตร มีส่วนประกอบที่สาคญั คือ เสาคอก หลงั คา พ้ืนคอก
รางอาหาร ร้วั ก้นั คอก ร้ัวก้นั คอกตดิ กบั แถบรางอาหาร อ่างน้าและรางแร่ธาตุ เป็นตน้

โรงเรือนเล้ียงโคนม ลกั ษณะของโรงเรือนข้ึนอยกู่ บั รูปแบบของการเล้ียง ในปัจจุบนั
นิยม 2 รูปแบบ คอื แบบผกู ยนื โรงและแบบปล่อยอิสระในคอก แบบผกู ยนื โรง มีส่วนประกอบ
สาคญั คอื ซองโค รางระบายมูลและสิ่งโสโครก ทางเดินหลงั ซอง รางอาหาร ทางเดินให้อาหาร
และเคร่ืองใหน้ ้าโค เป็ นตน้ ส่วนแบบปล่อยอิสระในคอก มีส่วนประกอบท่ีสาคญั คือ โรงนอน
ทีเ่ ก็บอาหาร ลานคอก คอกกกั โคก่อนรีดนม โรงรีดนม คอกคลอดและทีด่ ูแลสตั วป์ ่ วย เป็นตน้

เครื่องมือและอุปกรณ์การเล้ียงโคท่ีสาคญั เช่น กระบอกกรอกยาอตั โนมตั ิ คีมตอน
สตั วใ์ หญ่ คมี ตดิ เบอร์หู ท่ีตีเบอร์ร้อน เคร่ืองสูญเขา คมี ตดั กีบ คมี ดึงจมูกโค ที่เจาะกระเพาะโค
เครื่องบงั คบั โค เคร่ืองรีดนม อุปกรณ์ผสมเทยี มและสายวดั น้าหนกั โค เป็ นตน้

การทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์การเล้ียงโคเป็ นสิ่งสาคญั ที่ผเู้ ล้ียงตอ้ งปฏิบตั ิ
อยเู่ ป็ นประจา เพราะนอกจากจะทาใหอ้ ายกุ ารใชง้ านยาวนานและมีประสิทธิภาพแลว้ ยงั เกิดผลดี
ดา้ นความปลอดภยั ต่อตวั โคดว้ ย

72

บรรณานุกรม

กองวทิ ยาลยั เกษตรกรรม. 2540. ทกั ษะโคเนือ้ - โคนม. เอกสารประกอบการสอนหลกั สูตร
ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช 2540 ประเภทวชิ าเกษตรกรรม กรมอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (อดั สาเนา).

ธวชั ชยั อินทรตุล. 2539. การเลยี้ งโคนม. ม.ป.ท. เอกสารประกอบการฝึกอบรมเกษตรกร
กรมปศสุ ตั ว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (อดั สาเนา).

ปรารถนา พฤกษะศรี. 2533. การเลีย้ งโคขุน. นครปฐม: โรงพมิ พศ์ นู ยส์ ่งเสริมและฝึกอบรม
การเกษตรแห่งชาต.ิ
. 2536. “การวางแผนผงั ฟาร์ม โรงเรือนและส่ิงก่อสร้างในฟาร์มโคเน้ือ.”
รวมเรื่องโคเนือ้ . พมิ พค์ ร้ังท่ี 4. นครปฐม: โรงพิมพศ์ ูนยส์ ่งเสริมและฝึกอบรม
การเกษตรแห่งชาติ.

ปิ ยะศกั ด์ิ สุวรรณี และ สมมาตร สุวรรณมาโจ. 2545. การเลยี้ งโคพนื้ เมอื งเกษตรกรรายย่อย.
กลุ่มวจิ ยั และพฒั นาโคเน้ือ กองบารุงพนั ธุส์ ตั ว์ กรมปศุสตั ว.์ (อดั สาเนา).

ยอดชาย ทองไทยนนั ท.์ 2546. การเลีย้ งโคเนือ้ เชิงธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
. 2547. การเลยี้ งโคเนอื้ . กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตร
แห่งประเทศไทย.

วบิ ูลยศ์ กั ด์ิ กาวลิ ะ และ ญาณิน โอภาสพฒั นกิจ. 2534. การผลิตโคนม. กรุงเทพมหานคร:
โอ.เอส. พริ้นตงิ้ เฮา้ ส.์

ศรเทพ สงั ขท์ อง. 2549. คู่มือการเลยี้ งโคกาแพงแสน. นครปฐม: ชมรมผเู้ ล้ียงโคกาแพงแสน.
สาราญ รื่นรวย. 2550. เอกสารประกอบการสอนวชิ าการผลิตโค. หลกั สูตรประกาศนียบตั ร

วชิ าชีพพทุ ธศกั ราช 2545 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2546) ประเภทวิชาเกษตรกรรม
สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยเี ชียงราย. (อดั สาเนา).
Queensland Dept. of Primary Industries. n.d. Feedlotting notes; a collection farm notes.
3rd ed. QI94058, Australia.

73


Click to View FlipBook Version