The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สมหมาย จันทร์ฟุ้ง, 2019-06-04 03:01:56

หน่วยที่ 1 เรื่อง สภาวะการเลี้ยงโคในประเทศไทย

วิชาการเลี้ยงโค

เอกสารประกอบการสอน

วิชา การเล้ียงโค

หสนภาว่ วยะทก่ีา1รเหลสยี้นภง่วาโยวคทะในก่ี 1ปารรเะลเทีย้ ศงไโทคยในประเทศไทย

หัวข้อเรื่อง

1. ความสาคญั ของการเล้ียงโค
2. ประโยชนข์ องการเล้ียงโคในประเทศไทย
3. สถานการณ์การเล้ียงโคในประเทศไทย

โดย นายสมหมาย จนั ทรฟ์ งุ้4. แนวทางในการพฒั นาอาชีพการเล้ียงโคในประเทศไทย

เอกสารประกอบการสอน จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความสาคญั
[] ของการเล้ียงโคได้

2. บอกประโยชน์ของ

การเล้ียงโคในประเทศไทยไดอ้ ยา่ ง

นอ้ ย 5 ขอ้

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโน3โ. ลอธยิบีพายสิจถิตานรการณ์
] สานักงานคณะกรรมกากรเลา้ียรงกโคาใรน4.อปรบาะอชเกทวีแศนศไทวกึทยไาษงดใ้ นาการ
User กระทรวงศพกึฒั นษาอาาธชีพิกกาารรเล้ียงโคในประเทศ
[]
ไทยได้

2

สาระการเรียนรู้

1. ความสาคญั ของการเลยี้ งโค

โคเป็นสตั วท์ ่ีมีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมของไทย นบั ต้งั แตม่ ีการนาโคมาใช้
เป็นสตั วพ์ าหนะ ลากไถ ลากเกวยี น นวดขา้ วและใชแ้ รงงานอื่น ๆ ในปัจจุบนั เกษตรกรหันมา
เล้ียงโคกนั มากข้นึ เน่ืองจากมีรายไดส้ ูงกวา่ การทานา ทาไร่ เป็นการสรา้ งรายไดท้ ีด่ ีของเกษตรกร
สามารถใชป้ ระกอบอาชีพหลกั และอาชีพรองไดด้ ีเพราะโคเป็ นสตั วท์ ี่กินหญา้ และพชื ตระกูลถวั่
เป็นอาหารหลกั อยแู่ ลว้ ประกอบกบั ประเทศไทยมีภูมิประเทศท่ีเหมาะแก่การเล้ียงสตั ว์ เนื่องจาก
อุดมสมบูรณ์ดว้ ยอาหารสตั ว์ เช่น ทงุ่ หญา้ เล้ียงสตั ว์ ผลผลิตจากพชื ไร่ วสั ดุเหลือใชจ้ ากโรงงาน
อุตสาหกรรมทางการเกษตร ซ่ึงมีราคาถูกและสามารถเลือกใชท้ ดแทนกนั ได้ หากสิ่งหน่ึงส่ิงใดมี
ราคาสูง ส่วนมูลโคก็ยงั มีประโยชน์ต่อการพฒั นาที่ดินของเกษตรกรและสามารถนามาผลิตแก๊ส
ชีวภาพสาหรบั ใชใ้ นครอบครัวไดอ้ ีกดว้ ย อาชีพการเล้ียงโคจึงถือว่าเป็ นการใชท้ รัพยากรที่มีอยู่
ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดโดยการสรา้ งมูลค่าเพม่ิ ของผลผลิต เช่น แทนที่จะผลิตมนั สาปะหลงั เพอ่ื
การส่งออกไปจาหน่ายต่างประเทศ ก็นามาใช้เล้ียงสตั วภ์ ายในประเทศเพ่ือการส่งออกเน้ือสัตว์
และผลิตภณั ฑจ์ ากสตั วซ์ ่ึงมีมูลค่าสูงกวา่ เป็ นตน้

หากมองในดา้ นเศรษฐกิจของประเทศพบวา่ การเพมิ่ ผลผลิตโคจะช่วยลดการเสียดุล
การคา้ ของประเทศได้ เพราะถา้ มีการเล้ียงโคท่ีมีคุณภาพดีและมีปริมาณเพียงพอต่อความตอ้ งการ
บริโภคภายในประเทศจึงไม่จาเป็ นตอ้ งนาเขา้ จากต่างประเทศ จากรายงานของสานักวิจัย
เศรษฐกิจการเกษตร (2552) พบวา่ ในปี พ.ศ. 2552 ประเทศไทยมีการนาเขา้ โคเน้ือมีชีวิต เน้ือโค
และผลิตภณั ฑ์ คิดเป็ นมูลค่ารวม 438.48 ลา้ นบาท ซ่ึงยงั ไม่รวมไปถึงโคท่ีลกั ลอบขา้ มแดนมา
จากประเทศอินเดียและพม่าท่ีเขา้ มาในประเทศอยา่ งผิดกฎหมายท่ียงั ไม่มีตวั เลขที่แน่นอนอีก
จานวนหน่ึง และในปี เดียวกนั ไดน้ าเขา้ นมและผลิตภณั ฑน์ มคิดเป็ นมูลค่ารวม 8,302 ลา้ นบาท
ดงั น้ัน หากมีการเพิ่มปริมาณและคุณภาพในการผลิตโคให้ไดต้ ามมาตรฐาน เพียงพอต่อความ
ตอ้ งการบริโภคภายในประเทศ ตลอดจนมีการบูรณาการใช้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินและมีการใชห้ ลกั
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเป็ นพ้ืนฐานในการผลิตโค จะมีส่วนช่วยใหก้ ารเล้ียงโคประสบ
ความสาเร็จเพิ่มข้ึน ซ่ึงนับว่ามีส่วนช่วยในการสร้างงานในชนบทและจะช่วยลดการสูญเสีย
เงนิ ตราใหแ้ ก่ตา่ งประเทศจากการนาเขา้ โคและผลิตภณั ฑโ์ คต่าง ๆ และช่วยทาให้เศรษฐกิจของ
ประเทศดีข้ึนดว้ ย

2. ประโยชน์ของการเลยี้ งโคในประเทศไทย

3

ประโยชน์ของการเล้ียงโคที่มีตอ่ เกษตรกรและเศรษฐกิจของประเทศไทยสรุปไดด้ งั น้ี
2.1 สามารถใช้ประกอบเป็ นอาชีพหลกั และเป็ นอาชีพรองได้เป็ นอย่างดี

หากผเู้ ล้ียงโคมีความต้งั ใจ ขยนั ซื่อสตั ยแ์ ละอดทน การเล้ียงโคจงึ เป็นอีกอาชีพหน่ึง
ท่สี ร้างรายไดอ้ ยา่ งมนั่ คงและสม่าเสมอ

2.2 ผลผลติ ท้ังเนือ้ และนมเป็ นอาหารโปรตนี ท่มี ีคณุ ค่าสูง
ผลผลิตท้งั เน้ือและนมเป็นอาหารโปรตีนทม่ี ีคุณคา่ สูง ช่วยส่งเสริมสุขภาพแก่บุคคล

ในครวั เรือนเยาวชนและประชากรของประเทศ
2.3 โคกินหญ้าและพืชตระกูลถั่วเป็ นอาหารหลกั
โคเป็นสตั วท์ ่ีกินหญา้ และพชื ตระกูลถว่ั เป็ นอาหารหลกั ทาใหต้ น้ ทนุ การผลิตต่า
2.4 สามารถนาผลพลอยได้ทางการเกษตรมาใช้เลยี้ งโคได้
ปัจจุบนั มีผลพลอยไดท้ างการเกษตรเป็นจานวนมาก เช่น ฟางขา้ ว เปลือกขา้ วโพด

ยอดออ้ ย ใบมนั สาปะหลงั และเปลือกสบั ปะรด สามารถนามาใชเ้ ล้ียงโคไดเ้ ป็ นอยา่ งดี

2.5 สามารถนาทีด่ นิ เสื่อมโทรมมาใช้ประโยชน์ได้
เนื่องจากพชื ตระกูลหญา้ และถวั่ ที่ใชเ้ ป็นอาหารหยาบสาหรับโคสามารถปลูกในดิน

ทีม่ ีคุณภาพต่าได้ ซ่ึงในระยะยาวจะช่วยทาใหโ้ ครงสร้างของดินดีข้ึนดว้ ย
2.6 ลดการเสียเปรียบดุลการค้า
หากมีการเล้ียงโคเพมิ่ มากข้ึนและมีการจดั การผลผลิตอยา่ งมีคุณภาพให้เพียงพอต่อ

ความตอ้ งการบริโภคภายในประเทศจะสามารถทดแทนการนาเขา้ เน้ือโคและผลิตภณั ฑน์ มได้
2.7 เพิ่มอาชีพให้กบั คนไทยได้อกี เป็ นจานวนมาก
เน่ืองจากการเล้ียงโคก่อใหเ้ กิดอุตสาหกรรมอ่ืนเพมิ่ ข้นึ เช่น โรงงานฆ่าสตั ว์ โรงงาน

ฟอกหนงั โรงงานแปรรูปนม โรงงานแช่เยน็ และโรงงานผลิตอาหารกระป๋ อง เป็นตน้ ซ่ึงสามารถ
เพม่ิ อาชีพใหก้ บั คนไทยไดอ้ ีกจานวนมาก

2.8 มูลโคสามารถใช้เป็ นป๋ ยุ บารุงดินได้เป็ นอย่างดี

3. สถานการณ์การเลยี้ งโคในประเทศไทย

การเล้ียงโคของไทยในอดีตส่วนใหญ่มกั มีการเล้ียงไวเ้ พอื่ ใช้แรงงานทาการเกษตร
แตป่ ัจจุบนั มีเครื่องจกั ร เคร่ืองมือมาใชแ้ ทนแรงงานโค ประกอบกบั การเพม่ิ จานวนของประชากร
มีมากข้ึน ความตอ้ งการในการบริโภคเน้ือโคและผลิตภณั ฑ์จากโคจึงมีมากข้ึน ด้วยเหตุน้ี

4

เกษตรกรจงึ หนั มาเล้ียงโคในรูปแบบของเชิงธุรกิจกนั มากข้นึ ซ่ึงพอสรุปสถานการณ์การเล้ียงโค
ไดด้ งั น้ี

3.1 สถานการณ์การเลีย้ งโคเนือ้ ในประเทศไทย
3.1.1 การผลิตโคเน้ือในประเทศไทย โคเน้ือที่มีอยใู่ นประเทศไทย 70 เปอร์เซ็นต์

เป็นโคพน้ื เมืองขนาดเล็ก เจริญเตบิ โตชา้ คุณภาพเน้ือไม่ดี แต่มีความสามารถดา้ นการผสมพนั ธุ์
ในสภาพทุรกนั ดารไดด้ ี ทนต่อโรคและแมลงไดด้ ี ส่วนอีก 30 เปอร์เซ็นต์ เป็ นโคพนั ธุ์อเมริกนั
บราห์มนั พนั ธุแ์ ทแ้ ละพนั ธุล์ ูกผสม (กรมปศุสตั ว,์ 2549) ในช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2548 - 2552) จานวน
โคเน้ือของไทยมีอตั ราเพม่ิ ข้ึนเฉลี่ย 5.37 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี และจานวนครัวเรือนของผเู้ ล้ียงเพม่ิ ข้ึน
เฉลี่ย 2.44 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี สาหรับในปี พ.ศ. 2552 มีจานวนโคเน้ือ 6,647,325 ตวั ลดลงจาก
ปี พ.ศ. 2551 ซ่ึงมีจานวน 6,699,999 ตวั คิดเป็น 0.79 เปอร์เซ็นต์ ส่วนจานวนครัวเรือนผูเ้ ล้ียง
ในปี พ.ศ. 2552 ซ่ึงมีจานวนรวมท้งั สิ้น 870,948 ครัวเรือน ลดลงจากปี พ.ศ. 2551 ซ่ึงมีจานวน
870,948 ครัวเรือน คิดเป็ น 5.14 เปอร์เซ็นต์ (ตารางที่ 1.1) สาเหตุที่จานวนโคเน้ือและจานวน
ผเู้ ล้ียงลดลงน้ีเน่ืองจากราคาของโคเน้ือมีแนวโนม้ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ไม่จูงใจให้เกษตรกรเล้ียง
ทาใหเ้ กษตรกรบางส่วนขายโคออกไปหรือเลิกเล้ียง
ตารางท่ี 1.1 จานวนโคเน้ือและจานวนครัวเรือนผเู้ ล้ียง ปี พ.ศ. 2548 - 2552

ปี จานวนโคเนือ้ เพมิ่ /ลด ครัวเรือนผู้เลยี้ ง เพิ่ม/ลด
(ครัวเรือน) (ตวั ) (%)
2548 (ตัว) (ตวั ) (%) 832,929 59,288 7.66
2549 881,893 48,964 5.88
2550 5,609,790 313,151 5.91 907,153 25,260 2.86
2551 6,042,039 432,249 7.70 915,730 8,577 0.95
2552 6,480,876 438,837 7.26 870,948 - 44,782 - 5.14
เฉล่ยี ต่อปี 6,699,999 219,123 3.38
6,647,3251/ - 52,674 - 0.79 2.44

5.37

ทีม่ า: ศนู ยส์ ารสนเทศการเกษตร (2551)
1/ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร (2552)

กรมปศสุ ตั ว์ (2551) กล่าววา่ การผลิตโคเน้ือในปัจจบุ นั ยงั ไม่สามารถสนองตอ่ ความ
ตอ้ งการบริโภคของประชากรภายในประเทศได้ จึงไดม้ ีการนาเขา้ โคมีชีวติ จากประเทศเพ่อื นบา้ น
และยงั มีโคเน้ืออีกจานวนหน่ึงทล่ี กั ลอบนาเขา้ อยา่ งผดิ กฎหมายเนื่องจากมีราคาถูกกว่า ซ่ึงโคเน้ือ

5

มีชีวิตดังกล่าวนาเขา้ มาเพื่อตอบสนองความตอ้ งการของตลาดในระดบั ล่างและระดับกลาง
นอกจากน้ียงั มีการนาเขา้ เน้ือโคแช่แข็งคุณภาพดีจากต่างประเทศ เพือ่ สนองความตอ้ งการของ
ตลาดระดบั สูงคิดเป็นมูลค่ากวา่ 390 ลา้ นบาท และยงั มีการนาเขา้ ผลิตภณั ฑจ์ ากสตั ว์ เช่น หนัง
กระดูก เขา เครื่องในและอ่ืน ๆ มูลคา่ 9,221 ลา้ นบาท

จากเหตุผลดงั กล่าว จะเห็นไดว้ า่ ประเทศไทยยงั มีโอกาสท่จี ะขยายการผลิตโคเน้ือได้
อีกจานวนมาก ซ่ึงจะก่อใหเ้ กิดผลดีหลายประการ ไดแ้ ก่ ลดการเสียเปรียบดุลการคา้ ช่วยแกไ้ ข
ปัญหาการขาดแคลนเน้ือโคคุณภาพดีสาหรบั การบริโภคภายในประเทศ

3.1.2 การส่งออก จากรายงานของสานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552) ช่วง 5 ปี
(พ.ศ. 2548 - 2552) การส่งออกโคเน้ือมีชีวติ ของไทยมีแนวโนม้ เพิม่ ข้ึนโดยเฉล่ีย 10.19 เท่าต่อปี
(ตารางท่ี 1.2) ส่วนใหญส่ ่งออกไปยงั ประเทศเพอื่ นบา้ น ไดแ้ ก่ มาเลเซีย ลาวและกมั พชู า ในปี
พ.ศ. 2552 การส่งออกโคมีชีวติ มีปริมาณ 216,255 ตวั มูลค่า 1,213.10 ลา้ นบาท เมื่อเทียบกบั ปี
พ.ศ. 2551 ซ่ึงส่งออกมีปริมาณ 93,986 ตวั มีมูลค่า 642.75 ลา้ นบาท คิดเป็ นปริมาณท่ีเพมิ่ ข้ึน
1.30 เท่า และมูลค่าเพิม่ ข้ึน 88.74 เปอร์เซ็นต์ ท้งั น้ี เนื่องจากมีความตอ้ งการโคเน้ือคุณภาพดี
จากไทยและราคาโคเน้ือมีชีวติ ในประเทศไทยลดลงอยา่ งต่อเน่ือง ส่งผลใหม้ ีการขยายตลาดไปยงั
ประเทศเพอ่ื นบา้ นมากข้ึน

ส่วนการส่งออกเน้ือโคและผลิตภณั ฑจ์ ากเน้ือของไทยช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2548 - 2552)
มีแนวโนม้ ลดลงเฉลี่ย 34.88 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี (ตารางที่ 1.2) เน่ืองมาจากสภาวะเศรษฐกิจซบเซา
ทาใหค้ วามตอ้ งการเน้ือโคและผลิตภณั ฑล์ ดลง ในปี พ.ศ. 2552 การส่งออกเน้ือโคและผลิตภณั ฑ์
มีปริมาณ 145 ตนั มูลคา่ 11.61 ลา้ นบาท เม่ือเทียบกบั ปี พ.ศ. 2551 ส่งออกปริมาณ 86.01 ตนั
มูลค่า 13.82 ลา้ นบาท โดยมีปริมาณเพม่ิ ข้นึ 68.56 เปอร์เซ็นต์ แต่มูลคา่ ลดลง 15.99 เปอร์เซ็นต์

สาหรบั ในปี พ.ศ. 2553 คาดการณ์วา่ การส่งออกโคเน้ือมีชีวติ มีแนวโนม้ เพิม่ ข้ึนจาก
ปี พ.ศ. 2552 เลก็ นอ้ ย ส่วนการส่งออกเน้ือโคและผลิตภณั ฑจ์ ะมีแนวโนม้ ลดลง ท้งั น้ีเนื่องมาจาก
ความตอ้ งการเน้ือโคคุณภาพดีในประเทศเพม่ิ มากข้ึน ส่งผลใหม้ ีการส่งออกไปตา่ งประเทศลดลง

ตารางที่ 1.2 ปริมาณการส่งออกโคเน้ือมีชีวติ เน้ือโคและผลิตภณั ฑข์ องไทย ปี พ.ศ. 2548 - 2552

ปริมาณการส่ งออก
ปี โคเนือ้ มีชีวิต มูลค่า เนื้อโคและผลติ ภัณฑ์ มูลค่า

(ตวั ) (ล้านบาท) (ตนั ) (ล้านบาท)
2548 12 0.23 538.49 51.49
2549 987 5.31 455.27 55.82

6

2550 6,714 37.28 267.54 27.14
642.75 86.01 13.82
2551 93,986 1,213.10 145.00 11.61

2552* 216,255 796.87 - 34.88 - 35.44

เพ่ิม/ลดเฉลยี่ 1,019.52
ต่อปี (%)

หมายเหตุ: *ประมาณการ

ทมี่ า: สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552)

3.1.3 การนาเขา้ รายงานสานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552) กล่าววา่ ในช่วง 5 ปี
ท่ผี า่ นมา (พ.ศ. 2548 - 2552) ปริมาณการนาเขา้ โคมีชีวิตของไทยมีแนวโนม้ ลดลงอยา่ งต่อเนื่อง
เฉลี่ย 44.43 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี (ตารางที่ 1.3) ส่วนใหญ่นาเขา้ มาจากประเทศพม่า ในปี พ.ศ. 2552
มีการนาเขา้ โคมีชีวติ ปริมาณ 12,650 ตวั มูลค่า 67.48 ลา้ นบาท เทยี บกบั ปี พ.ศ. 2551 ซ่ึงนาเขา้
ปริมาณ 15,529 ตวั มูลค่า 75.67 ลา้ นบาทหรือลดลง 18.54 เปอร์เซ็นต์ และ 10.82 เปอร์เซ็นต์
ตามลาดบั

ส่วนการนาเขา้ เน้ือโคและผลิตภณั ฑข์ องไทยช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2548 - 2552) ที่ผา่ นมา
มีแนวโนม้ เพม่ิ ข้นึ เฉล่ีย 7.75 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี (ตารางที่ 1.3) ส่วนใหญ่เป็ นการนาเขา้ จากประเทศ
ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ส่วนผลิตภณั ฑม์ ีการนาเขา้ มาจากประเทศนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย
และสหรฐั อเมริกา ในปี พ.ศ. 2552 การนาเขา้ เน้ือโคและผลิตภณั ฑม์ ีปริมาณ 1,942 ตนั มีมูลค่า
371 ลา้ นบาท เทยี บกบั ปี พ.ศ. 2551 ซ่ึงนาเขา้ ปริมาณ 1,863.55 ตนั มีมูลค่า 384.65 ลา้ นบาท
คดิ เป็นปริมาณเพม่ิ ข้นึ 4.21 เปอร์เซ็นตแ์ ตม่ ูลค่าลดลง 3.35 เปอร์เซ็นต์

สาหรบั ในปี พ.ศ. 2553 คาดวา่ การนาเขา้ โคเน้ือมีชีวติ เน้ือโคและผลิตภณั ฑจ์ ะลดลง
จากปี พ.ศ. 2552 เนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจและการเมืองท่ีไม่แน่นอน คาดวา่ จะส่งผลต่อจานวน
นกั ทอ่ งเทย่ี ว ประกอบกบั ความตอ้ งการของผบู้ ริโภคยงั คงทรงตวั หรือลดลง ทาใหม้ ีปริมาณการ
นาเขา้ ลดลงเช่นกนั (สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร, 2552)

ตารางท่ี 1.3 ปริมาณการนาเขา้ โคเน้ือมีชีวติ เน้ือโคและผลิตภณั ฑข์ องไทย ปี พ.ศ. 2548 - 2552

ปริมาณการนาเข้า

ปี โคเนื้อมีชีวติ มูลค่า เนือ้ โคและ มูลค่า

(ตัว) (ล้านบาท) ผลิตภัณฑ์ (ตัน) (ล้านบาท)

2548 97,599 405.79 1,287.66 153.67

7

2549 92,886 209.13 2,006.62 264.96
63.25 1,921.09 329.01
2550 13,253 75.67 1,863.55 384.65
67.48 1,942.00 371.00
2551 15,529
- 36.90 7.75 23.81
2552* 12,650

เพม่ิ /ลดเฉลยี่ - 44.43
ต่อปี (%)

หมายเหตุ: *ประมาณการ

ทม่ี า: สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552)

3.1.4 สภาพปัญหา สภาพปัญหาการผลิตโคเน้ือของประเทศไทยในปัจจุบนั แบ่งได้
2 ลกั ษณะใหญ่ ๆ คอื ปัญหาดา้ นการผลิตและปัญหาดา้ นการตลาด ซ่ึงสรุปไดด้ งั น้ี

1) ปัญหาดา้ นการผลิต ท่ีสาคญั มีดงั น้ี
(1) ปัญหาดา้ นการปรับปรุงพนั ธุ์ การวจิ ยั และพฒั นาปรับปรุงพนั ธุ์โคเน้ือ

ในประเทศยงั ดอ้ ยกวา่ หลายประเทศท่ีเป็ นผสู้ ่งออกเน้ือรายใหญ่ของโลก ทาใหข้ าดแคลนพอ่ พนั ธุ์
และแม่พนั ธุท์ ่มี ีคุณภาพในการผลิต เน่ืองจากโคเน้ือทเี่ กษตรกรเล้ียงเป็นพนั ธุแ์ ทแ้ ละพนั ธุล์ ูกผสม
มีเพยี ง 30 เปอร์เซ็นต์ ส่วนอีก 70 เปอร์เซ็นตเ์ ป็ นพนั ธุ์พ้นื เมือง และในจานวนโคเน้ือพนั ธุ์แท้
และพนั ธุล์ ูกผสมท่ีนามาเล้ียงเป็ นโคขนุ ก็มีจานวนนอ้ ย เพราะตน้ ทนุ สูง (สุรชยั บุญเอก, ม.ป.ป.)
โคเน้ือพนั ธุล์ ูกผสมที่พฒั นาและปรบั ปรุงพนั ธุใ์ นปัจจุบนั มีราคาสูงมากเมื่อเทียบกบั พนั ธุพ์ ้ืนเมือง
เนื่องจากตน้ ทุนพอ่ พนั ธุโ์ คสูง ทาให้เกษตรกรรายยอ่ ยไม่สามารถดาเนินงานไดอ้ ยา่ งเบ็ดเสร็จ
ส่วนใหญ่เป็ นผปู้ ระกอบการรายใหญห่ รือสหกรณ์โคเน้ือบางแห่งเทา่ น้นั

(2) ปัญหาดา้ นความรู้ของเกษตรกร ปัจจุบนั การเล้ียงโคเน้ือของเกษตรกร
แบ่งไดเ้ ป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มท่เี ล้ียงโคเน้ือจานวนมากในรูปแบบของฟาร์ม เนน้ รูปแบบการเล้ียง
เพอ่ื การคา้ อยา่ งเตม็ ตวั มีระบบบริหารจดั การทีด่ ี ไดม้ าตรฐาน กลุ่มท่สี องเล้ียงโคเป็นอาชีพหลกั
เช่นเดียวกนั แต่เป็ นฟาร์มขนาดเล็ก เนน้ การดูแลเองภายในครอบครัว ส่วนกลุ่มสุดทา้ ยเล้ียงโคเน้ือ
เป็นอาชีพเสริม เล้ียงเพียงไม่ก่ีตวั ซ่ึงสองกลุ่มหลงั น้ีถือวา่ เป็ นส่วนใหญข่ องเกษตรกร เป็ นกลุ่มที่
มีการศึกษานอ้ ย จึงทาใหก้ ารดาเนินงาน การจดั การเล้ียงดูและการป้ องกนั โรคยงั ไม่ไดม้ าตรฐาน
ตลอดจนการยอมรับเทคโนโลยตี า่ ง ๆ เป็นไปอยา่ งล่าชา้

(3) ปัญหาโคท่ีเล้ียงขาดความสมบูรณ์ทาใหอ้ ตั ราการผสมตดิ ต่า อตั ราการ
ใหล้ ูกโคต่าและอตั ราการตายสูง สาเหตุหลกั เน่ืองมาจากปัญหาการขาดแคลนน้าในหลาย ๆ พน้ื ท่ี
ทาใหข้ าดแคลนทุง่ หญา้ เล้ียงสตั วท์ ม่ี ีความอุดมสมบรู ณ์ การขาดแคลนหญา้ ในช่วงฤดูแลง้ รวมท้งั

8

เกษตรกรขาดความรูใ้ นการเกบ็ ถนอมพชื อาหารสตั ว์ การผลิตอาหารขน้ ทมี่ ีคุณค่าทางโภชนาการ
ตอ่ การเจริญเตบิ โตของโคท่มี ีตน้ ทนุ การผลิตต่า การนาผลพลอยไดท้ างการเกษตรและส่ิงเหลือใช้
มาเป็นอาหารโคเพอื่ ลดตน้ ทนุ การผลิต เป็นตน้

(4) ปัญหาดา้ นการป้ องกนั และการควบคุมโรคระบาด เน่ืองจากเกษตรกร
ท่ีเล้ียงโคเน้ือในประเทศไทยเป็นรายยอ่ ย ทาให้ระบบการเล้ียงไม่ไดม้ าตรฐาน อกี ท้งั ภาครฐั ไม่ได้
มีการดาเนินงานในเร่ืองมาตรฐานของการเล้ียงอยา่ งเขม้ งวด ทาใหไ้ ม่สามารถสร้างระบบการเล้ียง
และการป้ องกนั โรคทไ่ี ดม้ าตรฐาน

(5) ปัญหาดา้ นเงนิ ทุน เกษตรกรขาดสภาพคล่องดา้ นการเงนิ ขาดแคลน
แหล่งเงินทนุ หมุนเวยี น แหล่งเงินกูร้ ะยะยาวอตั ราดอกเบ้ยี ต่า จึงไม่สามารถยดึ อาชีพการเล้ียงโค
เป็นอาชีพหลกั ไดเ้ นื่องจากตอ้ งใชเ้ งินทนุ สูง โดยเฉพาะเพอ่ื จดั ซ้ือโคพนั ธุด์ ีไวเ้ ล้ียง นอกจากน้นั
อาหารและยาป้ องกนั โรคกม็ ีความจาเป็นตอ้ งใชท้ ุนสูงเช่นกนั และนอกจากเกษตรกรรายยอ่ ยแลว้
รายปานกลางหรือรายใหญ่ เม่ือจดั หาแหล่งเงนิ ทุนไมไ่ ด้ ก็ไม่สามารถขยายกิจการฟาร์มโคเน้ือได้
และยงั ทาใหก้ ารบริหารจดั การ การเล้ียงดู การใหอ้ าหารและการป้ องกนั โรคไม่ไดม้ าตรฐาน

2) ปัญหาดา้ นการตลาด ท่สี าคญั มีดงั น้ี
(1) ตลาดซ้ือขายโคเน้ือไม่ไดม้ าตรฐาน กล่าวคอื ไม่มีการซ้ือขายในระบบ

การชง่ั น้าหนกั ตลาดทว่ั ไปมกั เป็นตลาดนดั โคตา่ ง ๆ หรือพอ่ คา้ คนกลางเขา้ ไปซ้ือโคกบั เกษตรกร
รายยอ่ ยและนาไปส่งขายต่อ การซ้ือขายเป็นไปตามสายตาของแต่ละคน ไม่ยตุ ธิ รรมต่อเกษตรกร
และถา้ เกษตรกรผเู้ ล้ียงโคมีความจาเป็ นหรือมีขอ้ จากดั เช่น ตอ้ งรีบใชเ้ งินหรือมีปัญหาเร่ืองเงิน
จึงตอ้ งรีบขายโค ทาใหไ้ ดร้ าคาต่า ซ่ึงในปัจจุบนั ภาครัฐก็ยงั ไม่มีการจดั ต้งั ตลาดเพื่อการซ้ือขาย
แลกเปล่ียนปศสุ ตั วใ์ หเ้ ขา้ ระบบมาตรฐาน ไม่มีแหล่งซ้ือขายโคทีแ่ น่นอน ไม่มีระบบในการจดั การ
และดูแลแบบครบวงจร

(2) เกษตรกรรายยอ่ ยขาดการรวมกลุ่มกนั ทาใหม้ ีอานาจในการต่อรองต่า
และไม่สามารถควบคุมการผลิตโคตามปริมาณทต่ี อ้ งการได้ ทาใหไ้ ม่สามารถรวบรวมโคเน้ือได้
ปริมาณมากและส่งเขา้ ตลาดโคเน้ือไดส้ ม่าเสมอ โดยเฉพาะโคขนุ คุณภาพดี การขายโคจึงเป็ นไป
ในลกั ษณะต่างคนตา่ งขาย ปัญหาการไม่มีกลุ่มองคก์ รหรือหน่วยงานเขา้ มารบั ผดิ ชอบอยา่ งจริงจงั
ทาใหข้ าดการประสานงานกบั หน่วยงานอื่น ๆ ขาดการประชาสัมพนั ธ์ในดา้ นการบริโภคเน้ือโค
ที่เหมาะสมตามคุณภาพ เพอ่ื ใหผ้ บู้ ริโภคเกิดความมน่ั ใจ ขาดการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารอยา่ งเป็ น
ระบบใหก้ บั เกษตรกร ตลอดจนขาดการจดั เก็บขอ้ มูลท่ีถูกตอ้ ง จึงทาใหก้ ารวางแผนท้งั การผลิต
และการตลาดทาไดย้ าก

9

(3) ปัญหาดา้ นคุณภาพของโคเน้ือท่ีผลิตไดใ้ นประเทศยงั ไม่เป็ นท่ียอมรับ
ของต่างประเทศเนื่องจากระบบการเล้ียงและการควบคุมโรคไม่ไดม้ าตรฐานสากล ทาให้ขายได้
เฉพาะในประเทศและประเทศเพอ่ื นบา้ นเพยี งเล็กนอ้ ย การตลาดของโคเน้ือของไทยจึงมีช่องทาง
การจาหน่ายที่จากดั ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ีเกิดจากคุณภาพของโคยงั ไม่ไดม้ าตรฐาน ปัญหาโรคระบาด
ระบบการผลิตและการแปรรูปยงั ไม่ไดต้ ามมาตรฐานสากลท่ีกาหนด

(4) ปัญหาราคาเน้ือโคชาแหละตกต่าเนื่องจากความตอ้ งการบริโภคเน้ือโค
ในประเทศเมื่อเทียบกบั ประเทศตา่ ง ๆ แลว้ ถือวา่ ต่ามาก สินคา้ อืน่ ๆ ท่สี ามารถทดแทนกนั ได้ เช่น
เน้ือสุกร เน้ือไก่ มีราคาตอ่ กิโลกรัมต่ากวา่ มาก หากราคาเน้ือโคปรับตวั สูงข้นึ ผบู้ ริโภคก็หนั ไป
บริโภคเน้ือสุกร หรือเน้ือไก่แทน นอกจากน้ี ปัญหาการลกั ลอบนาเขา้ โคมีชีวติ ตามแนวชายแดน
และการลกั ลอบนาเขา้ เน้ือกล่องแช่แขง็ หรือเน้ือโคเถื่อนจากประเทศเพอื่ นบา้ นของเรา เช่น พม่า
เวยี ดนามและอินเดีย ซ่ึงก่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ราคาโคเน้ือในประเทศอยา่ งมาก

3.2 สถานการณ์การเลีย้ งโคนมในประเทศไทย
3.2.1 การเล้ียงโคนมในประเทศไทย ปัจจุบนั ไดพ้ ฒั นาเป็นอาชีพหลกั และทารายได้

ใหก้ บั เกษตรกรไดด้ ีและแน่นอน ส่วนใหญ่จะเล้ียงกนั มากบริเวณที่มีแหล่งรับซ้ือน้านมดิบ เช่น
อาเภอมวกเหล็ก จงั หวดั สระบุรี อาเภอหนองโพ จงั หวดั ราชบุรีและจงั หวดั เชียงใหม่ เป็ นตน้
พนั ธุโ์ คนมที่นิยมเล้ียงกนั ส่วนใหญเ่ ป็ นโคลูกผสมพนั ธุ์โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยน 50 – 87.5 เปอร์เซ็นต์
ปัจจุบนั สามารถผลิตน้านมไดเ้ พยี ง 30 เปอร์เซ็นตข์ องความตอ้ งการภายในประเทศ ส่วนที่เหลือ
เป็นการนาเขา้ นมผงจากตา่ งประเทศมาทาการแปรรูปเป็ นผลิตภณั ฑน์ มชนิดต่าง ๆ

กิจการโคนมเจริญกา้ วหนา้ เรื่อยมา หากกล่าวโดยรวมต้งั แต่ปี พ.ศ. 2504 เป็ นตน้ มา
ท้งั ภาครัฐและเอกชนตา่ งก็มีการปรับปรุงกิจการโคนมข้ึนมาพรอ้ ม ๆ กนั มีเกษตรกรจานวนมาก
ทมี่ ีประสบการณ์และความชานาญในการเล้ียงโคนมลูกผสมสายพนั ธุ์โฮลสไตน์ฟรีเช่ียนเลือดสูง
ข้ึนมาเร่ือย ๆ ใหน้ มไม่ต่ากวา่ 4,500 กิโลกรมั ตอ่ ปี ก็มีอยจู่ านวนมาก บางรายถึงกบั สง่ั โคพนั ธุ์แท้
เขา้ มาเล้ียง ประสบความสาเร็จบา้ ง ไม่ประสบความสาเร็จบา้ ง ท้งั น้ี ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั หลายอยา่ ง
เช่น ตน้ ทุนการผลิต ราคาน้านมดิบ ราคาอาหารสตั วแ์ ละการส่งเสริมของภาครฐั เป็นตน้

สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552) รายงานวา่ ในช่วง 5 ปี ที่ผา่ นมา (พ.ศ. 2548 –
2552) จานวนโคนมเพศเมียมีอตั ราลดลงเฉลี่ย 0.32 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี โดยปี พ.ศ. 2552 มีจานวน
498,286 ตวั เพม่ิ ข้นึ เล็กนอ้ ยจากปี พ.ศ. 2551 ซ่ึงมีจานวน 490,937 ตวั คิดเป็ น 1.50 เปอร์เซ็นต์
ส่วนผลผลิตน้านมดิบในช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2548 – 2552) มีอตั ราลดลงเฉล่ีย 1.27 เปอร์เซ็นตต์ ่อปี
โดยในปี พ.ศ. 2552 มีผลผลิต 840,070 ตนั เพ่มิ ข้ึนจากปี พ.ศ. 2551 คิดเป็ น 6.85 เปอร์เซ็นต์
(ตารางที่ 1.4)

10

ตารางที่ 1.4 จานวนโคนมและผลผลิตน้านมดิบของไทย ปี พ.ศ. 2548 – 2552

ปี โคนมท้งั หมด แม่โคนม ผลผลิตน้านมดิบ การบริโภคนม
ณ 1 ม.ค. (ตวั ) ณ 1 ม.ค. (ตวั ) (ตนั ) พร้อมดื่ม (ตนั )
842,611
2548 492,865 296,492 888,221 799,078
310,085 822,211 856,151
2549 517,995 291,965 786,186 917,360
290,683 840,070 825,624
2550 495,236 292,756 908,180
- 1.27
2551 490,937 - 0.89 2.22
2552* 498,286

เพ่ิม/ลดเฉลย่ี - 0.32
ต่อปี (%)

หมายเหตุ: *ประมาณการ

ทีม่ า: สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552)
สาหรบั ในปี พ.ศ. 2553 คาดการณ์วา่ จานวนโคนมและผลผลิตน้านมดิบมีแนวโนม้

เพม่ิ ข้นึ แต่จะเพมิ่ โดยเกษตรกรรายใหญ่ซ่ึงมีการเล้ียงเพิม่ ข้ึน ส่วนเกษตรกรรายยอ่ ยมีแนวโน้ม
ลดลง เน่ืองจากประสบปัญหาตน้ ทุนการผลิตสูงข้นึ อยา่ งต่อเนื่องและปัญหาราคาน้านมดิบตกต่า
ทาใหเ้ กษตรกรรายยอ่ ยเลิกเล้ียงเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะเกษตรกรรายยอ่ ยที่มีแม่โครีดนมน้อย
รายไดจ้ ากการจาหน่ายน้านมดิบไม่เพยี งพอท่ีจะชดเชยตน้ ทุนการผลิต

3.2.2 การส่งออก ประเทศไทยส่งออกผลิตภณั ฑน์ มหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็ นการ
นาเขา้ มาเพอ่ื ส่งออกอีกตอ่ หน่ึง (re – export) สินคา้ ส่งออกส่วนมากมีสภาพเป็ นครีมหรือนมผง

ในรูปของเหลวหรือขน้ เติมน้าตาล เนยท่ีไดจ้ ากนม นมผงขาดมนั เนย นมขน้ หวาน นมเปร้ียว
และโยเกิร์ต เป็นตน้ ส่วนใหญส่ ่งออกไปยงั ประเทศใกลเ้ คียง เช่น ลาว กมั พชู า พม่า สิงคโปร์
ฮ่องกงและฟิลิปปิ นส์ เป็นตน้ ในปี พ.ศ. 2552 คาดการณ์วา่ จะส่งออกผลิตภณั ฑน์ ม 98,960 ตนั
มีมูลค่า 4,337 ลา้ นบาท ซ่ึงต่ากวา่ ปี พ.ศ. 2551 ที่ส่งออก 99,530 ตนั มีมูลค่า 4,501 ลา้ นบาท

คดิ เป็น 0.36 และ 3.65 เปอร์เซ็นตต์ ามลาดบั (ตารางท่ี 1.5)

ตารางท่ี 1.5 ปริมาณและมลู คา่ นมและผลิตภณั ฑน์ มส่งออก ปี พ.ศ. 2548 – 2552

ปี นมผงขาดมันเนย นมและผลติ ภณั ฑ์นม รวม
ตัน พนั บาท ตัน พนั บาท ตนั พันบาท

2548 279.57 44,133 145,467 4,900,232 145,747 4,944,365

11

2549 1,124 119,432 113,073 4,004,286 114,197 4,123,718
81,630 85,772 3,528,099 87,320 3,609,729
2550 1,548 94,201 98,796 4,406,930 99,530 4,501,131
149,070 97,640 4,187,532 98,960 4,336,602
2551 734
24.57 - 8.90 - 2.16 - 8.71 - 1.73
2552* 1,320

เพ่ิม/ลดเฉลยี่ 30.71
ต่อปี (%)

หมายเหตุ: *ประมาณการ

ที่มา: สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552)

3.2.3 การนาเขา้ ประเทศไทยนาเขา้ นมและผลิตภณั ฑน์ มต่าง ๆ ในแต่ละปี มากกวา่
แสนตนั คิดเป็นมูลค่ามากกวา่ หมื่นลา้ นบาท โดยมีนมผงขาดมนั เนยเป็นผลิตภณั ฑน์ าเขา้ ทส่ี าคญั
และมีสดั ส่วนนาเขา้ สูงกวา่ ผลิตภณั ฑน์ มนาเขา้ อ่ืน ๆ คือ ประมาณ 27 เปอร์เซ็นตข์ องปริมาณนม
และผลิตภณั ฑน์ มนาเขา้ ท้งั หมด เนื่องจากสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลายอยา่ ง เช่น ผลิตนม
พรอ้ มด่ืม นมขน้ ขนมปัง ไอศกรีม นมขน้ หวาน ลูกกวาด ช็อกโกแลตและอาหารสตั ว์ เป็นตน้
สาหรบั ปี พ.ศ. 2552 คาดวา่ จะนาเขา้ ผลิตภณั ฑน์ มท้งั หมด 135,260 ตนั มูลค่า 8,302 ลา้ นบาท
ในจานวนน้ีเป็นนมผงขาดมนั เนย 36,140 ตนั มูลค่า 2,662 ลา้ นบาท (ตารางท่ี 1.6)

ตารางที่ 1.6 ปริมาณและมลู ค่านมและผลิตภณั ฑน์ มนาเขา้ ปี พ.ศ. 2548 – 2552

ปี นมผงขาดมันเนย นมและผลิตภณั ฑ์นม รวม
ตนั พันบาท ตนั พันบาท ตัน พนั บาท
110,054 7,273,944 179,424 13,627,777
2548 69,370 6,353,833 117,262 7,597,851 184,642 13,190,083
106,087 8,752,164 163,027 16,210,822
2549 67,380 5,592,232 101,284 10,300,173 161,949 17,897,522
99,120 5,640,680 135,260 8,302,425
2550 56,940 7,458,658
- 3.49 - 2.02 - 6.72 - 6.63
2551 60,665 7,597,385
2552* 36,140 2,661,745

เพิ่ม/ลดเฉลยี่ - 13.14 - 13.36
ต่อปี (%)

หมายเหตุ: *ประมาณการ

ทีม่ า: สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร (2552)

12

3.2.4 สภาพปัญหา แมว้ า่ อาชีพการเล้ียงโคนมในประเทศไทยไดท้ ามาอยา่ งจริงจงั
ประมาณ 30 ปี มาแลว้ โดยอาศยั แบบอยา่ งการเล้ียงจากประเทศท่ีเจริญแลว้ มาประยกุ ตใ์ ช้ ทาให้
การเล้ียงโคนมสามารถเป็นอาชีพทม่ี ีผลกาไรดีอาชีพหน่ึง แต่ก็ยงั มีองคป์ ระกอบหลายอยา่ งท่ีเป็ น
อุปสรรคท้งั ในดา้ นการผลิตและการตลาด ดงั น้ี

1) ตน้ ทนุ การผลิตในประเทศไทยค่อนขา้ งสูง เน่ืองจากอากาศร้อนทาใหโ้ คนม
พนั ธุด์ ีไม่สามารถใหน้ มไดม้ ากเทา่ ท่ีควร

2) ขาดแคลนแม่โคนมและคุณภาพโคนมไม่เหมาะสม ซ่ึงการปรับปรุงพนั ธุ์
ทท่ี ากนั อยใู่ นขณะน้ีใชล้ ูกผสมที่เกิดจากพอ่ พนั ธุโ์ คนมยโุ รปและแม่พนั ธุ์พ้นื เมือง ซ่ึงสามารถให้
ลูกทีใ่ หน้ มไดด้ ี (กรมปศสุ ตั ว,์ 2551)

3) การบริโภคนมยงั ไม่แพร่หลายในหมู่ของคนไทยเท่าที่ควร ซ่ึงบางคนถือว่า
การบริโภคนมเป็นส่ิงไม่จาเป็นถึงแมว้ า่ จะมีการศกึ ษาทด่ี ี ราคานมค่อนขา้ งแพงและในบางทอ้ งท่ี
ไม่สามารถจะหานมด่ืมได้

4) ตน้ ทุนของน้านมคนื รูป (หางนมผงและไขมนั เนย) ทใี่ ชว้ ตั ถุดิบในการผลิต
จากตา่ งประเทศมีราคาต่ากวา่ ราคาน้านมดิบทีผ่ ลิตไดใ้ นประเทศ และการใชน้ ้านมดิบผลิตนมผง
กเ็ ช่นเดียวกนั คือ มีตน้ ทุนการผลิตสูงกวา่ ราคานาเขา้ นมผงสาเร็จรูปจากต่างประเทศ เนื่องจาก
ประเทศผสู้ ่งออกใชน้ โยบายอุดหนุนการส่งออก ทาใหร้ าคาวตั ถุดิบและนมผงสาเร็จรูปดงั กล่าว
ต่ากวา่ ราคาจริง ซ่ึงมีผลกระทบโดยตรงต่ออุตสาหกรรมการแปรรูปน้านมดิบของไทย

5) แหล่งเล้ียงโคนมส่วนใหญ่อยกู่ ระจดั กระจายทาให้ตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายในการ
รวบรวมและขนส่งน้านมดิบสูง รวมท้งั ทาใหก้ ารบริการดา้ นผสมเทยี มและการป้ องกนั รกั ษาโรค
ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ ่ายสูง

6) เกษตรกรขาดเงินทุนในการเล้ียงโคนม เพราะตอ้ งใชเ้ งินลงทุนค่อนขา้ งสูง
ขาดแคลนทุง่ หญา้ เล้ียงโคนมที่มีประสิทธิภาพ ขาดแคลนแหล่งน้าสาหรับทาแปลงหญา้ และใชท้ า
ความสะอาดคอกและตวั โค

7) อาหารสตั วม์ ีราคาแพงและมีการนาผลพลอยไดท้ างการเกษตรมาใชใ้ นการ
เล้ียงโคไม่ถูกวธิ ี

8) ขาดแคลนเจา้ หนา้ ท่สี ่งเสริม การเล้ียงโคนมในประเทศมีลกั ษณะกระจาย
เจา้ หนา้ ท่ขี องรฐั ทมี่ ีอยใู่ นปัจจุบนั ยงั ไม่เพยี งพอต่อการให้บริการดา้ นการส่งเสริม การผสมเทียม
การป้ องกนั รกั ษาโรคและการใหค้ วามรู้แก่ผปู้ ฏบิ ตั ิงานของสหกรณ์หรือศนู ยร์ ับนม

13

9) การเล้ียงโคนม การรวบรวมน้านมดิบ การขนส่ง และการแปรรูปน้านม
มีหน่วยงานรับผดิ ชอบหลายหน่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน มีอิสระไม่ข้นึ ตอ่ กนั จึงเป็ นการยาก
ทจ่ี ะกาหนดนโยบาย หรือแนวทางในการพฒั นาการเล้ียงโคนม หรือการจดั ระบบการเล้ียงโคนม
และการแปรรูปน้านมดิบใหม้ ีระเบยี บเป็นเอกภาพ ซ่ึงรัฐอาจจดั ต้งั ในรูปแบบของคณะกรรมการ
ระดบั ชาตหิ รือสภานม (milk board) เป็ นตน้ (เครือขา่ ยโคนมไทย, 2552)

4. แนวทางในการพฒั นาอาชีพการเลยี้ งโคในประเทศไทย

การพฒั นาอาชีพการเล้ียงโคเพอ่ื ใหส้ ามารถเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตต่อตวั ใหส้ ูงข้ึน
ควรมีการวางแผน กาหนดแนวทาง และเป้ าหมายในการเร่งรัดการส่งเสริมอาชีพการเล้ียงโคของ
ประเทศไทย ซ่ึงสามารถสรุปได้ 2 แนวทาง ดงั น้ี

4.1 การพัฒนาด้านพนั ธ์ุและการปรับปรุงพันธ์ุ
เกษตรกรควรมีการพฒั นาดา้ นพนั ธุแ์ ละปรบั ปรุงพนั ธุอ์ ยา่ งต่อเนื่อง ซ่ึงช่วยใหไ้ ดโ้ ค

ลูกผสมที่สามารถเล้ียงไดด้ ี ใหผ้ ลผลิตสูงในสภาพทอ้ งถ่ินของตน ในส่วนของภาครฐั ก็ตอ้ งมีการ
ทดลองวจิ ยั เพอื่ ปรับปรุงและพฒั นาพนั ธุโ์ คอยา่ งตอ่ เนื่อง ในที่สุดจะสามารถสร้างพนั ธุแ์ ทท้ ่ีดีของ
ตนเองได้ พร้อมกบั ส่งเสริมใหเ้ กษตรกรเล้ียงโคอยา่ งจริงจงั ให้บริการและอานวยความสะดวก
ในดา้ นตา่ ง ๆ เช่น จาหน่ายโคพนั ธุแ์ ทห้ รือลูกผสมในราคาถูกเพือ่ ใชเ้ ป็ นพ่อแม่พนั ธุ์ การให้ยมื
พอ่ แม่พนั ธุ์ การใหบ้ ริการผสมเทียมโดยไม่คิดมูลคา่ เป็นตน้

4.2 การพัฒนาด้านการให้อาหาร การจัดการและการป้ องกนั กาจดั โรคตดิ ต่อที่สาคญั
การพฒั นาดา้ นการใหอ้ าหาร การจดั การและการป้ องกนั กาจดั โรคจะช่วยลดตน้ ทุน

การผลิตไดอ้ ยา่ งมาก ดงั น้นั การเล้ียงโคใหป้ ระสบความสาเร็จน้นั เกษตรกรผเู้ ล้ียงจะตอ้ งเป็ นผูม้ ี
ความใฝ่รู้ท้งั ดา้ นการเล้ียงและการจดั การต่าง ๆ มีการบูรณาการภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นร่วมกบั การใช้
เทคโนโลยที ที่ นั สมยั ตลอดจนมีการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาเป็ นแนวทางในการ
ประกอบอาชีพ จะทาใหก้ ารเล้ียงโคประสบความสาเร็จในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบนั ส่วนภาครัฐ
ก็จะตอ้ งมีการส่งเสริมและพฒั นารูปแบบต่าง ๆ เช่น การทดลองวจิ ยั การเผยแพร่ความรู้ทางดา้ น
วชิ าการ การฝึกอบรมใหค้ วามรู้แก่เกษตรกรผเู้ ล้ียง การศึกษาดูงานฟาร์มโคที่ประสบความสาเร็จ
และการควบคุมโรค เป็นตน้

กล่าวโดยสรุปกค็ อื ในการพฒั นาอาชีพการเล้ียงโคน้นั จะตอ้ งดาเนินการท้งั 2 ดา้ น
ควบคูก่ นั ไป ในดา้ นการปรบั ปรุงพนั ธุต์ อ้ งวางแผนระยะยาว ซ่ึงจาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนุน
จากภาครฐั อยา่ งตอ่ เน่ืองและจะตอ้ งมีแผนระยะส้นั ที่เนน้ การพฒั นาดา้ นการใหอ้ าหาร การจดั การ
และการเผยแพร่ความรูเ้ ป็นหลกั ซ่ึงจะเปล่ียนไปตามสภาพเศรษฐกิจและสงั คมไทย

14

บทสรุป

การเล้ียงโคถือเป็นอาชีพหน่ึงที่มีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไทย
ปัจจุบนั เกษตรกรหนั มาเล้ียงโคกนั มากข้นึ เน่ืองจากมีรายไดด้ ีกวา่ การทาไร่ ทานา ประกอบกบั
ประเทศไทยมีภมู ิประเทศเหมาะแก่การเล้ียงโค อุดมสมบรู ณ์ดว้ ยพชื อาหารสตั วแ์ ละมีผลพลอยได้
ทางการเกษตรจานวนมาก ทาใหต้ น้ ทุนการผลิตต่า หากมองดา้ นเศรษฐกิจของประเทศจะเห็นวา่
การเพม่ิ ผลผลิตโคมีส่วนช่วยสรา้ งงานในชนบทและช่วยลดการเสียดุลการคา้ จากการนาเขา้ เน้ือโค
และผลิตภณั ฑจ์ ากโคลงได้

สถานการณ์การเล้ียงโคเน้ือของไทย ในปัจจบุ นั (ปี พ.ศ. 2552) มีโคเน้ือ 6.6 ลา้ นตวั
ซ่ึงจานวนโคเน้ือและจานวนผเู้ ล้ียงลดลงจากปี ท่ีผ่านมา 0.79 และ 5.14 เปอร์เซ็นตต์ ามลาดบั
ท้งั น้ีเน่ืองจากปัญหาราคาโคเน้ือลดลงอยา่ งต่อเนื่อง ทาใหเ้ กษตรกรขายโคออกไปหรือเลิกเล้ียง

ส่วนสถานการณ์การเล้ียงโคนมของไทย ในปัจจุบนั (ปี พ.ศ. 2552) มีจานวนโคนม
เพศเมีย 4.9 แสนตวั เพมิ่ ข้ึนเลก็ นอ้ ยจากปี ท่ีผา่ นมา 1.50 เปอร์เซ็นต์ และผลผลิตของน้านมดิบ
มีปริมาณเพมิ่ ข้นึ จากปี ที่ผ่านมา 6.85 เปอร์เซ็นต์ ส่วนปี พ.ศ. 2553 คาดการณ์วา่ จานวนโคนม
และผลผลิตน้านมดิบมีแนวโนม้ เพ่มิ ข้ึน แต่จะเพิ่มเฉพาะฟาร์มขนาดใหญ่ ส่วนฟาร์มเกษตรกร
รายยอ่ ยจะมีแนวโนม้ ลดลง เนื่องจากตน้ ทุนการผลิตสูงและราคาน้านมดิบตกต่า ทาให้รายได้
จากการจาหน่ายน้านมดิบไม่เพยี งพอทจ่ี ะชดเชยตน้ ทุนการผลิต

การพฒั นาอาชีพการเล้ียงโค เพอื่ เพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตตอ่ ตวั ใหส้ ูงข้นึ ควรมีการ
วางแผนกาหนดแนวทางและเป้ าหมายในการเร่งรดั การส่งเสริมอาชีพการเล้ียงโคของประเทศไทย
ซ่ึงสามารถสรุปได้ 2 แนวทาง คือ การพฒั นาดา้ นพนั ธุแ์ ละการปรับปรุงพนั ธุ์ และการพฒั นา
ดา้ นการใหอ้ าหาร การจดั การและการป้ องกนั กาจดั โรคติดต่อท่ีสาคญั

15

บรรณานุกรม

กรมปศุสตั ว.์ 2549. การเลยี้ งโคเนอื้ (Online). http: //www.dld.go.th/ict/yeary49.html,
29 กนั ยายน 2552.
. 2551. แผนการปรับปรุงพนั ธ์ุโคนม (Online).
http://www.dld.go.th/dairy/improve_dairy/improve2.html, 30 กนั ยายน 2552.

เครือขา่ ยโคนมไทย. 2552. ปัญหาการเลยี้ งโคนมในประเทศไทย (Online).
http://www.thaidairy.net/node/105, 1 ตุลาคม 2552.

ศูนยส์ ารสนเทศการเกษตร. 2551. ข้อมูลจานวนสัตว์ในประเทศไทย ปี 2551 (Online).
http://www.dld.go.th/ict/stat_web/yearly/yearly51/stat51.html, 29 กนั ยายน 2552.
. 2551. ข้อมูลพนื้ ฐานเศรษฐกิจการเกษตร. สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
. 2552. ข้อมูลพนื้ ฐานเศรษฐกิจการเกษตร. สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สานกั วจิ ยั เศรษฐกิจการเกษตร. 2552. สถานการณ์สินค้าเกษตรท่ีสาคญั และแนวโน้มปี 2553.
สานกั งานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

สุรชยั บุญเอก. ม.ป.ป. การเลีย้ งโคขุน. กรุงเทพมหานคร: โครงการหนงั สือเกษตรชุมชน.

16


Click to View FlipBook Version