โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง Best Practice Active learning) 2566 Active learning
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ ใ ช (Best Practice Active learning) ปี 2566 ใช ์ ์ไ ่ พ ฒ ใ ช ์ ช ้ ป ถ ปี ่ ่ ผ ช่ ข พื้ ่ ป ถ ข ณ ข ้ พื้ ฐ
ก โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง การจัดท ารายงานน าเสนอผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศในการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Best Practices Active Learning) ปีการศึกษา 2566 โดยใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพัฒนา นักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด รายวิชาวิทยาศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ซึ่งได้รายงานถึงความเป็นมาของ Best Practice จุดประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน กระบวนการปฏิบัติงานหรือขั้นตอนการท างาน ซึ่งประยุกต์ใช้วงจร PDCA อันประกอบด้วยขั้นวางแผน (P) ขั้นวางแผน (D) ขั้นด าเนินงาน (C) ขั้นติดตามตรวจสอบประเมินผล (A) ขั้นพัฒนาแก้ไข/ปรับปรุง รวมทั้งได้รายงานผลการด าเนินการผลสัมฤทธิ์ ประโยชน์ที่ได้รับ ปัจจัยแห่งความส าเร็จ บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) ข้อเสนอแนะ การเผยแพร่ ผลงานและภาพกิจกรรม เพื่อเป็นเอกสารประกอบกิจกรรมคัดเลือก ผลงานที่ปฏิบัติเป็นเลิศ ผู้น าเสนอหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้คงจะช่วยอ านวยความสะดวกให้กับคณะกรรมการ ประเมินผลงานที่ปฏิบัติเป็นเลิศ (Best Practice) และจะเป็นประโยชน์ส าหรับโรงเรียนหรือผู้ที่สนใจ และผู้ที่ ก าลังจะพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพทั้งในด้านความรู้ ทักษะและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้มีผลสัมฤทธิ์ที่ สูงขึ้นต่อไปได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณ นางไพลดา อวิรุทธพาณิชย์ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูงและขอขอบคุณผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่สนับสนุน ช่วยเหลือ และให้ก าลังใจ จนผลงานประสบผลส าเร็จในครั้งนี้ นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท ครูโรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง
ข โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ญ ื่ ค าน า ก สารบัญ ข 1. ความส าคัญของนวัตกรรม/วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 1 2. วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการด าเนินงาน 2 3. ขั้นตอนการด าเนินงาน 3 4. ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่ได้รับ 5 5. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) 6 6. ปัจจัยความส าเร็จ 7 7. การเผยแพร่/ การได้รับการยอมรับ 8 8. ภาคผนวก ค - แผนการจัดการเรียนรู้ - แบบทดสอบก่อนเรียน/แบบทดสอบหลังเรียน - รูปภาพการท าสื่อนวัตกรรม - รูปภาพการใช้สื่อนวัตกรรม
1 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices ผ ปฏ ่ ป็ ใ ช (Best Practices Active Learning) ปี 2566 ข พื้ ่ ป ถ ข ชื่ ผ นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท บ้านห้วยแคนโนนสูง อ าเภอ กุดรัง จังหวัด มหาสารคาม ป ข ด้านทักษะวิชาการ .............................................................................................................................................................................. ชื่ ผ การจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active learning) โดยใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 1. ญข / ปฏ ่ ป็ (Best Practice) การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความส าคัญที่สุด ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และ พัฒนา ตนเองได้ ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพ โดยเน้นด้านความรู้ คุณธรรม และกระบวนการเรียนรู้ ในเรื่องสาระความรู้ให้บูรณาการความรู้และทักษะด้าน ต่าง ๆ ให้เหมาะสมในแต่ละระดับการศึกษาเพื่อพัฒนาด้านความรู้เกี่ยวกับตนเองและ ความสัมพันธ์ระหว่าง ตนเองกับสังคม (พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3), 2553) วิชาวิทยาศาสตร์มีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล ความคิด สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีทักษะที่ส าคัญในการ ค้นหาความรู้มีความสามารถในการ แก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจโลกธรรมชาติ พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีตลอดจนการพัฒนา สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน การเรียนรู้วิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากความรู้วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับโลกธรรมชาติซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทุกคนต้อง เรียนรู้เพื่อน าผลการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิต มีการร่วมกันคิดลงมือปฏิบัติจริงก็จะเข้าใจและเห็นความเชื่อมโยงของ วิทยาศาสตร์ อื่น และชีวิต ท าให้สามารถอธิบายท านายคาดการณ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๔๖) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูงจึงมุ่งส่งเสริมให้นักเรียนพัฒนา ความรู้ แบบบูรณาการ เน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สามารถน าองค์ความรู้มาเชื่อมโยงกันในแต่ละสาระการเรียนรู้น าไปสู่การประยุกต์ใช้ได้ จริงน าเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และสามารถสังเคราะห์องค์ความรู้ออกมาในรูปแบบต่าง ๆ ได้ (หลักสูตรโรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง, ๒๕๖๖)
2 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices ดังนั้นข้าพเจ้าจึงมีแนวคิดในการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านการ ลงมือปฏิบัติจริงและการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยการออกแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ โดยการสร้าง “เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง” เพื่อให้นักเรียนใช้ฝึกได้ทั้งในเวลา เรียนและนอกเวลาเรียน โดยจัดท าอุปกรณ์ชุดฝึกให้นักเรียนได้เห็นเป็นรูปธรรม เพื่อให้นักเรียนเข้าใจง่าย นักเรียนสามารถน าความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ และเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเกิด ความอยากรู้อยากเห็น พร้อมมีเนื้อหาประกอบค าอธิบายเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาด้วยตนเอง มีกิจกรรมให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการใช้สื่อการเรียนการสอน เพราะนักเรียนมีความส าคัญที่สุดในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน โดยน าเกมมาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนแล้วจะช่วยแก้ปัญหาความไม่เข้าใจเกี่ยวกับ การจ าแนกสัตว์และพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการการจ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลัง ซึ่งเป็นทักษะพื้นฐานในการเรียนชั้นสูงต่อไป และเพื่อนักเรียนเกิดความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับการเรียน วิทยาศาสตร์ เป็นการพัฒนาการสอนวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตลอดจนท าให้ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิทยาศาสตร์สูงขึ้นและมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี บรรลุตามเป้าหมายของหลักสูตรอีกด้วย 2. ถ ป ์ 1.) เพื่อพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด โดยใช้เกมบิงโกสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและสัตว์ที่ไม่มี กระดูกสันหลัง 2.) เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 3.) เพื่อให้นักเรียนให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องที่เรียนอย่างแท้จริง 4.) เพื่อยกผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ . ป้ ➢ ช ป ณ 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 22 คน ได้ผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติ จริงและการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) โดยใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง พัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด 2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ➢ ช ณ พ 1. นักเรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21
3 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices 4. ข ้ 4.1 การจัดกิจกรรมเกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังโดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA กระบวนการ PLC และการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มีรายละเอียดดังตาราง ่ ่ ข ปฏ P (Plan) การวางแผน - การมีส่วนร่วมในการ วางแผน โดยใช้กระบวนการ PLC - ประชุมคณะครูที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกับผู้บริหาร เพื่อเสนอปัญหา และร่วมกันวางแผน - วางแผนออกแบบและก าหนดปฏิทินการด าเนินงาน D (Do) การปฏิบัติ - ก าหนดวิธีการจัดการ เรียนรู้โดยใช้กระบวนการ การจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning - วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๐) มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด - ส ารวจสภาพข้อมูลพื้นฐาน วิเคราะห์นักเรียน รายบุคคล เพื่อการจัดการเรียนรู้ให้เต็มตามศักยภาพ - จัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ ในหน่วยการเรียนรู้ที่ เลือกไว้ - สร้างนวัตกรรม บิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง และจัดพิมพ์ออกมาเป็นบัตรภาพ และใบกิจกรรมเพื่อเป็นนวัตกรรมประกอบการจัดการ เรียนการสอน - ปฏิบัติกิจกรรมและจัดการเรียนรู้ตามที่วางแผน และออกแบบไว้ C (Check) การตรวจสอบ ประเมินผล - ตรวจสอบและประเมินผล โดยใช้กระบวนการ PLC - นักเรียนและครูร่วมกันตรวจสอบประเมินผล และ วิเคราะห์ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - สรุปและรายงานโครงการต่อผู้บริหาร และครูที่ เกี่ยวข้อง A (Action) การปรับปรุง แก้ไข - การวิเคราะห์ปัญหา/ อุปสรรควิธีการแก้ไข โดยใช้ กระบวนการ PLC - น าผลการประเมินมาวิเคราะห์ร่วมกันกับครู ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะได้น าไปเป็นข้อมูลในการ วางแผนพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
4 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices ป พ ข ้ ณ พ PDCA 5. ผ 5.1 ผ ่ ป ์ 1.) นักเรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้มากขึ้นโดยใช้นวัตกรรมเกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2.) นักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 3.) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องที่เรียนอย่างแท้จริง 4.) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในรายวิชาวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
5 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices 5.2 ผ ฤ ์ ตาราง ผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน โดยใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลังพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด เป็นนวัตกรรมประกอบการจัดการเรียนการสอน สาระการเรียนรู้ เรื่องสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ข ่ ชื่ - ่ (10 ) (10 ) 1 เด็กชายธีรดนย์ ปะนะทัง 5 10 2 เด็กชายธีรเดช หินประกอบ 4 8 3 เด็กชายธีรภัทร มัคคะรม 5 10 4 เด็กชายณภัทร์ แสนเมือง 5 8 5 เด็กชายรัชชานนท์ พรมแสน 5 8 6 เด็กชายอัครชัย ศรีธรราษฎร์ 7 7 7 เด็กหญิงณดา ชาเหลา 5 8 8 เด็กหญิงณัฐชา ซินโซ 5 8 9 เด็กหญิงณัฐยาภรณ์ แก้วน้อย 5 8 10 เด็กหญิงณัฐิดา แพงแสง 6 6 11 เด็กหญิงนันท์นภัส วงษา 5 8 12 เด็กหญิงปิยรัตน์ดา ดอนพาบุญ 5 7 13 เด็กหญิงพิมพ์ชนก พลมั่น 4 7 14 เด็กหญิงพีรดา โสภักดี 5 10 15 เด็กหญิงศิรัญญา ศรีสังข์ 6 10 16 เด็กหญิงศุภนันท์ เหล่านอก 3 9 17 เด็กหญิงสุจิตรา ดงฉวี 7 10 18 เด็กหญิงอรอนงค์ ไชยรัตน์ 5 10 19 เด็กหญิงณัฐพร เพวงค์ 3 9 20 เด็กชายชยังกูร ศรีสัง 5 8 21 เด็กชายชนะชล สุเสนา 3 6 22 เด็กชายธนกฤต นูชิต 5 9 ่ ฉ ่ 5 .0 92.0
6 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices สรุปผลการท าแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน เมื่อใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังเป็นนวัตกรรมประกอบการจัดการเรียนการสอน สาระการเรียนรู้เรื่อง สัตว์มีกระดูกสันหลังและ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ผ ่ ่ ฉ ่ ่ ่ ฉ ่ ช ้ ป ถ ปี ่ 5 .0 92.0 + 8 5.3 ผ ฤ ์ข ผลการด าเนินงานการจัดการเรียนการสอน Active learning โดยใช้เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด พบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้น ในกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มากขึ้น เช่น การค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง การท างานร่วมกัน เป็นทีม การสร้างความรู้ด้วยตนเอง และการแสดงผลงานที่สร้างความภูมิใจให้กับนักเรียน ท าให้นักเรียน สามารถจดจ าและเข้าใจเนื้อหาที่เรียนไปได้ดียิ่งขึ้น นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดแก้ปัญหาองค์ความรู้เป็นทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 5.4 ป ช ์ ่ไ 1.) นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 2.) นักเรียนมีความกระตือรือร้นในกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์มากขึ้น 3.) นักเรียนได้ฝึกความคิดเชิงวิพากษ์วิจารณ์และเปิดใจกว้าง ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น จนสามารถพัฒนาไปใช้ในชีวิตประจ าวัน 6. ่ไ (Lesson Learned) 6.1 ่ไ 1.) นักเรียนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 2.) นักเรียนมีความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองและเพื่อนร่วมชั้น 3.) นักเรียนได้เรียนรู้ร่วมกันจากการท างานเป็นกลุ่ม มีการอภิปราย การสื่อสารระหว่างกัน การมีส่วน ร่วมในชั้นเรียน สามารถเขียนสรุปองค์ความรู้จากการเรียนได้ถูกต้อง 6.2 ข ข 1.) นักเรียนอาจมีประสบการณ์และทักษะในการค้นคว้า การเลือกใช้และรวบรวมข้อมูล การจัดท า ผลงานหรือนวัตกรรมน้อย ผู้สอนต้องดูแล ให้ค าแนะน าในลักษณะของผู้อ านวยความสะดวก (Facilitator)
7 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices และผู้ให้ค าแนะน า (Coach) อย่างใกล้ชิด พร้อมช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหา ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมตาม แผนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) 2.) ครูผู้สอนต้องวางแผนการจัดท าผลงานหรือนวัตกรรมของนักเรียนให้มีความชัดเจน เพื่อให้การ ด าเนินงานเป็นไปตามแผนที่ก าหนดไว้ 3.) ครูผู้สอนควรจัดกิจกรรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนได้มีการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง มีส่วนร่วม ในกิจกรรมมากที่สุดและทั่วถึงทุกคน เพื่อให้สามารถค้นหาความรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ตลอดจนน าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ได้ 4.) ครูผู้สอนควรค านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ครูผู้สอนควรมีการชี้แนะแนวทางในการหา ค าตอบมากกว่าการบอกค าตอบนั้นแทน 6.3 ใ พ ฒ พ ่ 1.) การพัฒนาผลงานหรือนวัตกรรมของนักเรียนด้วยการจัดการเรียนการสอน Active learning โดยใช้เกมบิงโกสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด ควรจัดท าในรูปแบบของสื่อออนไลน์เพื่อให้สามารถมีผู้เข้าถึงองค์ความรู้ที่นักเรียนได้ศึกษา ค้นคว้าและเรียบ เรียงอย่างเป็นระบบได้จ านวนมากและวงกว้างยิ่งขึ้น 2.) การน าเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาประยุกต์ใช้กับผลงานหรือนวัตกรรมของนักเรียนมากขึ้น เพื่อสอดคล้องกับการพัฒนาการศึกษาในยุคไทยแลนด์ 4.0 7. ปั ็ 1.) กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน Active learning โดยใช้เกมบิงโกสัตว์ มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังพัฒนานักเรียนให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด มีการวางแผนในการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ ท าให้เกิดประสิทธิภาพในการสร้างองค์ความรู้ของนักเรียน 2.) ผู้บริหารโรงเรียนมีการก ากับ นิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนพร้อมให้ค าแนะน า เพื่อพัฒนา ปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน 3.) ครูผู้สอนปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีสอนจากการสอนแบบ “พูด บอก เล่า” มาเป็นผู้ชี้แนะการเรียนรู้ (Learning Coaching) ให้นักเรียนมีส่วนร่วม และปฏิบัติกิจกรรมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน มากขึ้น ท าให้นักเรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
8 โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ปฏ ่ ป็ Best Practices 8. ผ พ ่ผ 8.1 ผ พ ่ 1.) เผยแพร่เป็นเอกสารในรูปแบบ E-book ประชาสัมพันธ์ให้กับนักเรียน และคณะครูในโรงเรียน 2.) เผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์Facebook 8.2 ไ / ่ไ นักเรียนได้รับรางวัล ดังนี้ 1.) รางวัลระดับเหรียญทอง การแข่งขันกิจกรรมการการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ ประเภทสิ่งประดิษฐ์ ระดับชั้น ป.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา 2.) รางวัลระดับเหรียญเงิน การแข่งขันกิจกรรมการแสดงทางวิทยาศาสตร์ Science Show ระดับชั้น ป.4-6 ระดับชั้น ป.4-6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 70 ปีการศึกษา 2565 ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ลงชื่อ ผู้เสนอ (นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท) ต าแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ลงชื่อ ผู้รับรอง (นางไพลดา อวิรุทธพาณิชย์) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง
ค โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ - ผ - ่ / - ป พ ื่ - ป พ ใช ื่
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ว 14101 รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต เวลาเรียน 15 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง .................................................................................................................................................................................................................................. 1. ฐ / ช ้ ว 1.3 ป.4/3 จ าแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมี กระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ โดยใช้ข้อมูลที่รวบรวมได้ ป.4/4 บรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในกลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ สะเทินน้ าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ านม และยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตในแต่ละกลุ่ม 2. ป ์ 1. สังเกตและบรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลังได้(K) ด้านความรู้ ความเข้าใจ 2. จ าแนกสัตว์ออกเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็น เกณฑ์ได้(P) ด้านทักษะกระบวนการ 3. ปฏิบัติกิจกรรมเพื่อจ าแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มได้ถูกต้องตามขั้นตอน (P) ด้านทักษะกระบวนการ 4. มีความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนรู้ (A) ด้านคุณลักษณะ 3. ถ ่ - ใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการจ าแนก สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง - สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มนก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา 4. ญ/ สัตว์ต่าง ๆ มีมากมายหลายชนิด ในการจ าแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มสามารถใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ จึงจ าแนกสัตว์ได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง สัตว์มีกระดูกสันหลังมีหลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่ม นก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ านม ซึ่งสัตว์แต่ละกลุ่มจะมีลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้แตกต่างกันไป 5. ถ ญข ผ 1) ความสามารถในการสื่อสาร - ทักษะการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด - ทักษะการจ าแนกประเภท - ทักษะการส ารวจค้นหา - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการรวบรวมข้อมูล - ทักษะการคิดสังเคราะห์ - ทักษะการให้เหตุผล 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา - ทักษะการแก้ปัญหา - ทักษะการสังเกต 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต - ทักษะการท างานร่วมกัน 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี - ทักษะการใช้เทคโนโลยี 6. ณ ณ พ ป ์(A) 1) มีวินัย 2) ใฝ่เรียนรู้ 3) มุ่งมั่นในการท างาน 7. ่ พ ฒ ผ ถ ข ผ ใ ่ 21 R1 - (R)eading (อ่านออก) R2 –W(R)iting (เขียนได้) R3 - A(R)ithmetics (คิดเลขเป็น) C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ ในการแก้ปัญหา) C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม) C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า) C5 - Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และการรู้เท่าทันสื่อ)
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง 8. /ช ้ - กิจกรรม ตะลุย เกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง - ใบงานจ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 9. รูปแบบการสอนแบบ : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) ➢ข ้ ่ 1 ข ้ ใ (Engage) 5 1. ครูให้นักเรียนดูภาพสัตว์ 4 ชนิด แล้วให้ร่วมกันอภิปราย ดังนี้ จากภาพ เป็นสัตว์ชนิดใด นักเรียนรู้จักสัตว์ทั้ง 4 ชนิดนี้หรือไม่ (แนวตอบ : ปู นก ไก่ และไส้เดือน ) 2. นักเรียนคิดว่า สัตว์ทั้ง 4 ชนิดนี้ มีลักษณะเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไรบ้าง (แนวตอบ : ขึ้นอยู่กับค าตอบของนักเรียน ให้อยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน) ➢ข ้ ่ 2 ข ้ (Explore) 10 1. ครูให้นักเรียนศึกษาความรู้จาก PowerPoint เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ จากหนังสือเรียนจากนั้น สนทนากับนักเรียน เกี่ยวกับการเตรียมตัวและการเตรียมวัสดุ-อุปกรณ์ส าหรับการท ากิจกรรมของ นักเรียนแต่ละกลุ่ม 2. ครูตั้งค าถามกระตุ้นความคิด โดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น ดังนี้ 1) นักเรียนคิดว่า สัตว์มีกระดูกสันหลังกับสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไรบ้าง (แนวตอบ : สัตว์มีกระดูกสันหลังมีกระดูกแข็งเป็นแกนกลางของล าตัว ส่วนสัตว์ไม่มีกระดูกสัน หลังเป็นสัตว์ที่ไม่มีกระดูกแข็งเป็นแกนกลางของล าตัว) 2) สัตว์ชนิดใดบ้างเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง สัตว์ชนิดใดบ้างเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง (แนวตอบ : สัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น สุนัข กระต่าย แมว งู จระเข้ ลิง เพนกวิน เป็นต้น สัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น กิ้งกือ หอยทาก มด แมงปอ เป็นต้น) 3) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนรับบัตรภาพสัตว์ต่าง ๆ จากครู กลุ่มละ 4-5 ภาพ จากนั้นให้ช่วยกัน สังเกตโครงสร้างและลักษณะของสัตว์ในภาพ 4) ช่วยกันจัดกลุ่มสัตว์ในภาพ โดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ ➢ ข ้ ่ ข ้ (Explain) 10 ครูให้แต่ละกลุ่มผลัดกันออกมาน าเสนอผลการจัดกลุ่มสัตว์ จากนั้นให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายจนได้
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ข้อสรุปว่า สัตว์บางชนิดมีกระดูกต่อกันเป็นข้อๆ ท าหน้าที่เป็นแกนกลางของร่างกาย เช่น ปลา แมว วัว เป็นต้น และ สัตว์บางชนิดไม่มีกระดูกต่อกันเป็นข้อๆ ท าหน้าที่เป็นแกนกลางของร่างกาย เช่น กุ้ง หมึก ผีเสื้อ เป็นต้น จาก ลักษณะ เช่นนี้ จึงสามารถน ามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจ าแนกสัตว์ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สัตว์มีกระดูกสันหลัง และสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง ➢ ข ้ ่ ข ้ ข ข ใ (Elaborate) 25 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อท ากิจกรรมเกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสัน หลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2. ครูให้นักเรียนแต่ละคนศึกษาและอ่านชื่อสัตว์แต่ละชนิดในบัตรภาพบิงโก แล้วบันทึกชื่อสัตว์ใส่สมุด ประจ าตัวนักเรียน และท าใบงาน เรื่องจ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ที่ครูแจกให้โดยให้ดู ภาพและจ าแนกว่า สัตว์ชนิดใดเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังหรือสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง พร้อมกับบอกเหตุผลประกอบ ➢ ข ้ ่ 5 ข ้ ผ (Evaluate) 10 1. ครูประเมินผลนักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการตอบค าถาม พฤติกรรมการท างานรายบุคคล พฤติกรรมการท างานกลุ่ม และจากการท ากิจกรรมเกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2. ครูตรวจสอบผลการท ากิจกรรมท้าทายการคิดขั้นสูงในใบงานเรื่อง จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 3. ครูให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการน าเอาความรู้ความเข้าใจนั้น ๆ ไปต่อยอดและ ประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจ าวัน 10. ื่ 1. PowerPoint เรื่อง ความหลากหลายของสัตว์ 2. บัตรภาพสัตว์มีกระดูกสันหลัง เช่น ปลา กบ จระเข้ นก สุนัข เป็นต้น 3. บัตรภาพสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมงกะพรุน ไส้เดือน ดาวทะเล หอยแครง ผีเสื้อ เป็นต้น 4. ใบงานเรื่อง จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 5. ชุดนวัตกรรมเกมบิงโก
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง 11. ป ผ ื่ ื ณฑ์ ป 1. พฤติกรรมการท างานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม - แบบสังเกตพฤติกรรม การท างานกลุ่ม - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 2. ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์(A) 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการท างาน - สังเกตพฤติกรรม รายบุคคล - แบบประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 3. กิจกรรมพัฒนาการ เรียนรู้ - ตรวจสมุดประจ าตัว และใบงาน - สมุดประจ าตัว และใบงาน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป ่ ช ้ ให้คะแนนและท าเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียน ตามความจริง ่ ชื่ - ็ ฟั ็ ่ ไ ณ พ ผ่ ไ ่ผ่ 3 2 1 3 2 1 3 2 1 9 1 เด็กชายธีรดนย์ ปะนะทัง ✓ ✓ ✓ 6 ดี ✓ 2 เด็กชายธีรเดช หินประกอบ ✓ ✓ ✓ 6 ดี ✓ 3 เด็กชายธีรภัทร มัคคะรม ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 4 เด็กชายณภัทร์ แสนเมือง ✓ ✓ ✓ 8 ดีมาก ✓ 5 เด็กชายรัชชานนท์ พรมแสน ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 6 เด็กชายอัครชัย ศรีธรราษฎร์ ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 7 เด็กหญิงณดา ชาเหลา ✓ ✓ ✓ 7 ดีมาก ✓ 8 เด็กหญิงณัฐชา ซินโซ ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 9 เด็กหญิงณัฐยาภรณ์ แก้วน้อย ✓ ✓ ✓ 7 ดีมาก ✓ 10 เด็กหญิงณัฐิดา แพงแสง ✓ ✓ ✓ 6 ดี ✓ 11 เด็กหญิงนันท์นภัส วงษา ✓ ✓ ✓ 8 ดีมาก ✓ 12 เด็กหญิงปิยรัตน์ดา ดอนพาบุญ ✓ ✓ ✓ 6 ดี ✓ 13 เด็กหญิงพิมพ์ชนก พลมั่น ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 14 เด็กหญิงพีรดา โสภักดี ✓ ✓ ✓ 8 ดีมาก ✓ 15 เด็กหญิงศิรัญญา ศรีสังข์ ✓ ✓ ✓ 7 ดีมาก ✓ 16 เด็กหญิงศุภนันท์ เหล่านอก ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 17 เด็กหญิงสุจิตรา ดงฉวี ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 18 เด็กหญิงอรอนงค์ ไชยรัตน์ ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓ 19 เด็กหญิงณัฐพร เพวงค์ ✓ ✓ ✓ 6 ดี ✓ 20 เด็กชายชยังกูร ศรีสัง ✓ ✓ ✓ 8 ดีมาก ✓ 21 เด็กชายชนะชล สุเสนา ✓ ✓ ✓ 8 ดีมาก ✓ 22 เด็กชายธนกฤต นูชิต ✓ ✓ ✓ 9 ดีมาก ✓
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ลงชื่อ…………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท) เกณฑ์การประเมินกิจกรรมการท างานกลุ่ม ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ าเสมอ= ดีมาก ให้ 3 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง = ดี ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง = ปรับปรุง ให้ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ เกณฑ์การผ่านการประเมิน : ระดับดี ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 7-9 5-6 3-4 0-2 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง ป ณ พ ระดับคุณภาพ ดีมาก(3) จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ดี(2) จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 27.72 พอใช้(1) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ปรับปรุง(0) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ปผ ป ผ่าน จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ไม่ผ่าน จ านวน – คน คิดเป็นร้อยละ - *หมายเหตุ ระดับดีขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป ณ ณ พ ป ์ ช ์ ค าชี้แจง ท าเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องระดับคะแนนให้ตรงกับพฤติกรรมของนักเรียนตามความจริง ่ ชื่ - ณ ณ พ ป ์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการท างาน 3 2 1 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 ผ่าน ไม่ผ่าน 3 2 1 ผ่าน ไม่ผ่าน 1 เด็กชายธีรดนย์ ปะนะทัง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 2 เด็กชายธีรเดช หินประกอบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 3 เด็กชายธีรภัทร มัคคะรม ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 4 เด็กชายณภัทร์ แสนเมือง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 5 เด็กชายรัชชานนท์ พรมแสน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 6 เด็กชายอัครชัย ศรีธรราษฎร์ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 7 เด็กหญิงณดา ชาเหลา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 8 เด็กหญิงณัฐชา ซินโซ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 9 เด็กหญิงณัฐยาภรณ์ แก้วน้อย ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 10 เด็กหญิงณัฐิดา แพงแสง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 11 เด็กหญิงนันท์นภัส วงษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 12 เด็กหญิงปิยรัตน์ดา ดอนพาบุญ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 13 เด็กหญิงพิมพ์ชนก พลมั่น ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 14 เด็กหญิงพีรดา โสภักดี ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 15 เด็กหญิงศิรัญญา ศรีสังข์ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 16 เด็กหญิงศุภนันท์ เหล่านอก ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 17 เด็กหญิงสุจิตรา ดงฉวี ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 18 เด็กหญิงอรอนงค์ ไชยรัตน์ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 19 เด็กหญิงณัฐพร เพวงค์ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 20 เด็กชายชยังกูร ศรีสัง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 21 เด็กชายชนะชล สุเสนา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ 22 เด็กชายธนกฤต นูชิต ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ลงชื่อ…………………………………………..ครูผู้สอน (นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท) ป ณ พ ( ) ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ดี(2) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผ่าน(1) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ไม่ผ่าน(0) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - สรุปผลการประเมิน ผ่าน จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ไม่ผ่าน จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - * ระดับดีขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ป ณ พ ( ใฝ่ ) ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) จ านวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 77.27 ดี(2) จ านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 22.72 ผ่าน(1) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ไม่ผ่าน(0) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - สรุปผลการประเมิน ผ่าน จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ไม่ผ่าน จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - * ระดับดีขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน ป ณ พ ( ่ ่ ใ ) ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม(3) จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ดี(2) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผ่าน(1) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ไม่ผ่าน(0) จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - สรุปผลการประเมิน ผ่าน จ านวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ไม่ผ่าน จ านวน - คน คิดเป็นร้อยละ - * ระดับดีขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การประเมิน
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ณฑ์ ป ณ ณ พ ป ์ ใฝ่ ่ ่ ใ พฤ ่ ช ้ ไ ่ผ่ (0) ผ่ (1) (2) ่ ( ) 1. มีวินัย ไม่ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรม และรับผิดชอบใน การท างาน -ปฏิบัติตนตาม ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ และ ไม่ละเมิดสิทธิของ ผู้อื่น -ตรงต่อเวลาในการ ปฏิบัติกิจกรรมและ รับผิดชอบในการท างาน 2.ใฝ่เรียนรู้ ไม่ตั้งใจเรียน ไม่ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ใน การเรียน และมีส่วน ร่วมในการเรียนรู้ และ เข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่างๆ เป็น บางครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียน และมี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่างๆ บ่อยครั้ง เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน เอาใจ ใส่ในการเรียน และมี ส่วนร่วมในการเรียนรู้ และเข้าร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ต่างๆ ทั้ง ภายในและภายนอก โรงเรียนเป็นประจ า 3.มุ่งมั่นในการ ท างาน ไม่ตั้งใจปฏิบัติ หน้าที่การงาน ตั้งใจและรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้ส าเร็จ ตั้งใจและรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้ส าเร็จ มีการ ปรับปรุงและ พัฒนาการท างานให้ดี ขึ้น ตั้งใจและรับผิดชอบใน การปฏิบัติหน้าที่ที่ ได้รับมอบหมาย ให้ส าเร็จ มีการ ปรับปรุงและพัฒนาการ ท างานให้ดีขึ้น ภายในเวลาที่ก าหนด ณฑ์ ณ พ ณฑ์ ผ่ ป : ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 3 2 1 0 ดีเยี่ยม ดี ผ่าน ไม่ผ่าน
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง 6) 2) ใ ื่ ์ ์ไ ่ พ ่ ์ช ป็ ์ ์ช ใ ป็ ์ไ ่ พ ใ ผ ป 1. ์ ได้แก่ พ 2. ์ไ ่ ได้แก่ พ 1) 3) 4) 5)
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง 6) 2) ใ เฉลย ื่ ์ ์ไ ่ พ ่ ์ช ป็ ์ ์ช ใ ป็ ์ไ ่ พ ใ ผ ป 1. ์ ได้แก่ 1) ไก่ 4) ปลา 6) สุนัข พ ่ ป็ ข ่ ่ ใ 2. ์ไ ่ ได้แก่ 2) กุ้ง 4) หอยทาก 6) หมึก พ ไ ่ ่ ป็ ข ่ ่ ใ 1) 3) 4) 5)
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ผ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) ด้านคุณลักษณะ (A) ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ชื่ ................................. (นางสาวจันตรียา มาตรมุนโท ) ่ ผ ็ ข ผ ถ ื ผ ่ไ ข้อเสนอแนะ ชื่ ................................. (นางไพลดา อวิรุทธพาณิชย์) ่ ผ
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ่ ื่ ข ์ ช ้ จงตอบค าถามต่อไปนี้โดยเลือกค าตอบที่ถูกต้องเพียงต าตอบเดียว จ านวน 10 ข้อ 10 คะแนน 1.) ข ใ ื ณฑ์ ่ใช ใ ์( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ข. สัตว์เลือดอุ่นและสัตว์เลือดเย็น ค. สัตว์ออกลูกเป็นไข่และเป็นตัว ง. สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ าและบนบก 2.) ์ ่ ป็ ่ป ( ฐ. 1. ป. / ) ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท .) ข ป ป ไ ใ ข ( ฐ. 1. ป. / ) ก. หู ข. มือ ค. ล าตัว ง. ขาและเท้า .) ข ใ ่ ไป ้ ื ์ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. ปลาการ์ตูน เต่า ตั๊กแตน ข. แมงมุม ตั๊กแตน หอยทาก ค. เต่า แมงมุม คางคก ง. เต่า คางคก ไก่ 5.) ่ใ ป ใ ข ์ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์เลื้อยคลาน ข. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค. สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก ง. สัตว์ที่มีขาเป็นข้อ 6.) ไ ื ่ใ ป ใ ข ์ไ ่ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์เลื้อยคลาน ข. สัตว์ที่มีล าตัวเป็นปล้อง ค. หนอนพยาธิ ง. สัตว์ที่มีรูกลางล าตัว 7.) ์ ื ็ ผ ็ ข็ ื ใ ป ป็ ณ ข ์ ่ ใ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. กลุ่มนก ข. สัตว์เลื้อยคลาน ค. สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก ง. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 8.) ์ ใ ข ใ ่ใ ป ป ้ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. ปลาทู ม้าน้ า ปลาฉลาม ข. ปลากะพง วาฬ ปลาไหล ค. ปลาการ์ตูน โลมา ปลาผีเสื้อ ง. ปลากระเบน พะยูน ปลาแรด 9.) ์ใ ข ใ ่ ข ื่ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. จิ้งจก ข. คางคก ค. ไส้เดือน ง. นกพิราบ 10.) ้ ป็ ์ป ใ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. กลุ่มปลา ข. กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน ค. กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ง. กลุ่มสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ื่ ข ์ ช ้ จงตอบค าถามต่อไปนี้โดยเลือกค าตอบที่ถูกต้องเพียงต าตอบเดียว จ านวน 10 ข้อ 10 คะแนน 1.) ้ ป็ ์ป ใ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. กลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ข. กลุ่มปลา ค. กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน ง. กลุ่มสัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก 2.) ่ใ ป ใ ข ์ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์เลื้อยคลาน ข. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ค. สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก ง. สัตว์ที่มีขาเป็นข้อ .) ์ ่ ป็ ่ป ( ฐ. 1. ป. / ) ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท .) ์ใ ข ใ ่ ข ื่ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. ไส้เดือน ข. จิ้งจก ค. คางคก ง. นกพิราบ 5.) ไ ื ่ใ ป ใ ข ์ไ ่ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์เลื้อยคลาน ข. สัตว์ที่มีล าตัวเป็นปล้อง ค. หนอนพยาธิ ง. สัตว์ที่มีรูกลางล าตัว 6.) ข ใ ่ ไป ้ ื ์ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. ปลาการ์ตูน เต่า ตั๊กแตน ข. เต่า คางคก ไก่ ค. เต่า แมงมุม คางคก ง. แมงมุม ตั๊กแตน หอยทาก 7.) ์ ื ็ ผ ็ ข็ ื ใ ป ป็ ณ ข ์ ่ ใ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. กลุ่มนก ค. สัตว์สะเทินน้ าสะเทินบก ค. สัตว์เลื้อยคลาน ง. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 8.) ข ใ ื ณฑ์ ่ใช ใ ์( ฐ. 1. ป. / ) ก. สัตว์เลือดอุ่นและสัตว์เลือดเย็น ข. สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ค. สัตว์ออกลูกเป็นไข่และเป็นตัว ง. สัตว์ที่อาศัยอยู่ในน้ าและบนบก 9.) ข ป ป ไ ใ ข ( ฐ. 1. ป. / ) ก. หู ข. มือ ค. ขาและเท้า ง. ล าตัว 10.) ์ ใ ข ใ ่ใ ป ป ้ ( ฐ. 1. ป. / ) ก. ปลากะพง วาฬ ปลาไหล ข. ปลาการ์ตูน โลมา ปลาผีเสื้อ ค. ปลากระเบน พะยูน ปลาแรด ง. ปลาทู ม้าน้ า ปลาฉลาม
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป พ ื่ เคลือบสื่อนวัตกรรมเพื่อความคงทนต่อการใช้งาน ตัดภาพสัตว์แต่ละชนิด บัตรตารางบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลัง และไม่มีกระดูกสันหลัง สื่อนวัตกรรมเกมบิงโก
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป พ ใช ื่ ครูผู้สอนยกตัวอย่างบัตรภาพสัตว์ พร้อมบอกวิธีเล่นเกม บิงโกและการน าไปใช้ทั้งเวลาเรียนและนอกเวลาเรียน จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง นักเรียนได้ฝึกการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป พ ใช ื่ แจกอุปกรณ์ในการเล่นเกมบิงโก สัตว์มีกระดูกสันหลังและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง จ าแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง กิจกรรมกลุ่ม ร่วมด้วยช่วยกันดู นักเรียนได้ฝึกการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง ป พ ใช ื่ สนุกกับเกมบิงโกสัตว์มีกระดูกสันหลังและ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง นักเรียนได้ฝึกการเป็นผู้น าและผู้ตามที่ดี เวลาว่าง พักกลางวันผมขอเอามาเล่นกับเพื่อน นะครับ ผมอยากบิงโกครับ พวกเราสนุกสนานและชอบเกมบิงโก สัตว์มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูกสันหลัง และไม่มีกระดูกสันหลัง
โรงเรียนบ้านห้วยแคนโนนสูง