ปรบั พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ช้นั ม. 4 หนา้ 1
ปรบั พ้นื ฐานวิชาวทิ ยาศาสตร์ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4
สาขา วชิ าฟิสิกส์
วิทยาศาสตร์ (science) หมายถงึ การศึกษาความเป็นจริงในธรรมชาติทั้งท่มี ีชีวิตและไมม่ ชี วี ติ
แบ่งเป็น 2 สาขาดังน้ี
1.วิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical science) เป็นการศึกษาธรรมชาติเก่ียวกับส่ิงไมม่ ชี ีวติ แขนงวิชา
วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพที่สำคัญมี 2 สาขาคือฟสิ กิ ส์และเคมี
2.วิทยาศาสตร์ชวี ภาพ (Biological science) เปน็ การศึกษาเก่ียวกับสง่ิ มีชวี ติ ตา่ งๆทั้งพชื และสัตว์
ฟสิ กิ ส์ (Physics) มาจากภาษากรีกคำวา่ Physisซ่ึงหมายความวา่ ธรรมชาติ (nature) คอื
วทิ ยาศาสตร์ที่ศึกษาเกยี่ วกับมวลสารและพลังงานเพื่อนำไปอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ่ีสงั เกตเหน็ หรอื
แกป้ ญั หาที่เร้นลับทางธรรมชาติ
ฟสิ ิกสแ์ ยกการศกึ ษาออกเปน็ 2 ประเภทดงั น้ี
1.ฟิสกิ ส์ยุคเกา่ (Classical Physics) เป็นการศึกษาเพ่อื ค้นควา้ หาหลกั เกณฑ์และขบวนการตา่ งๆที่
จะนำมาอธบิ ายปรากฏการณท์ างธรรมชาติทส่ี ังเกตเห็นได้ดว้ ยตาหมายความวา่ เป็นการศกึ ษาระบบท่ีเก่ียวกบั มวล
ท่ีมีขนาดใหญ่ๆเช่นการเคลอ่ื นทขี่ องวัตถตุ ่างๆ
2.ฟิสกิ ส์ยุคใหม่ (Modern Physics) เปน็ การศึกษาสง่ิ ท่เี ร้นลบั ที่มองด้วยตาเปล่าไมเ่ หน็ เช่น
โครงสรา้ งอะตอมพลงั งานทไ่ี ดจ้ ากการสลายตวั ของธาตุกมั มนั ตรังสีฯลฯ
ปรับพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ช้นั ม. 4 หน้า2
เทคโนโลยี (technology)หมายถึงวิทยาการท่ีเกย่ี วกับศิลปะในการสรา้ งผลิตหรือใช้วัสดุอุปกรณต์ ่างๆ
เพ่ืออำนวยประโยชนต์ ่อมนษุ ย์โดยตรงหรอื ส่งิ ตา่ งๆทมี่ นษุ ยใ์ ชส้ อยได้
วิชาฟสิ กิ ส์
วิชาฟิสกิ สท์ ี่นักเรียนจะไดเ้ รียนจะเปน็ ความรู้ความเข้าใจท่ีเกิดขึ้นและสะสมกนั มาในชว่ งเวลา 400ปี
ซ่งึ เป็นส่วนพ้ืนฐานของวชิ าที่ไดจ้ ัดให้เป็นระบบเพือ่ ใหเ้ กิดความสะดวกต่อการเรยี นรแู้ ละในท่สี ดุ เร่ืองตา่ งๆท่เี รยี น
จะสมั พนั ธ์กันทกุ เรื่องการเรียนรทู้ ี่ดจี ะต้องมคี วามเขา้ ใจหลกั การของเรือ่ งนั้นๆจนสามารถนำหลักการไปประยกุ ต์
ได้การฝกึ ให้สามารถประยกุ ต์หลักการกับการทำแบบฝกึ หดั หรือโจทยป์ ัญหาเปน็ ส่วนสำคญั อย่างหน่งึ ท่นี กั เรยี น
ควรพยายามคดิ ด้วยตนเองซ่ึงจะเปน็ การฝึกคดิ อย่างฟิสกิ ส์หรอื อย่างนักวทิ ยาศาสตร์การทำการทดลอง
นอกจากจะทำให้นกั เรียนรดู้ ว้ ยความเข้าใจแบบเป็นรปู ธรรมแล้วยังฝกึ ให้เรียนรวู้ ิธที ำการทดลองและการ
วเิ คราะหผ์ ลในลักษณะที่นกั วิทยาศาสตรป์ ฏิบัติกัน
คณติ ศาสตร์สำหรบั ฟิสกิ ส์
เศษส่วน( fraction)
เศษส่วน คือ จำนวนที่มนษุ ยส์ ร้างขน้ึ เพอื่ แทนปริมาณทไี่ ม่ใช่จำนวนเต็ม โดยใช้สัญลักษณเ์ ศษส่วน
ท่ีเขยี นในรปู a เม่ือ a และbเป็นจำนวนเต็มท่ีb 0 เรยี ก a ว่า เศษ เรียก b ว่า ส่วน
b
เราอาจแสดงเศษสว่ นในรูปทศนยิ ม (decimal) หรือแสดงในรูปร้อยละหรอื เปอรเ์ ซน็ ต์
(percent)
เชน่ 1 ในรปู ทศนิยม เขยี นไดเ้ ปน็ 0.25 = 25 %
4
และในรูปรอ้ ยละ เขียนได้เป็น 0.25 × 100 %
จงหาผลลัพธ์ของปริมาณต่อไปน้ี
1.) 8 + 7 2.)7 - 5
9 10 68
วธิ ีทำ วิธที ำ
ปรบั พ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ชนั้ ม. 4 หนา้ 3
3.) (1 ÷2 ) × 1 4.) ( 2.35 + 12.076 - 4.1 ) ÷ 1.2 × 3.1
3 วธิ ีทำ
4
วิธีทำ
5.) 0.54 ( 3.171 – 1.5 ) ÷ 0.2 6.) 8 % ของ 25 มีค่าเทา่ ไร
วธิ ที ำ วิธที ำ
7.) นกั เรยี นสอบตก 10% ถ้าสอบได้ 45 คน สอบได้ 8.) ปัจจุบนั สุดาอายุ 23 ปี เจา้ เต้ียเป็นสนุ ัขท่ีสุดา
มากกว่าสอบตกกี่คน นำมาเลย้ี งเม่อื 5 ปีท่ีแลว้ ในขณะน้นั เจ้าเตยี้ มีอายุ
วิธที ำ เป็น 2 ของอายสุ ุดา ปัจจุบนั เจา้ เตยี้ มอี ายุกป่ี ี
9
วิธีทำ ปจั จุบันสุดาอายุ 23 ปี
เมื่อ 5 ปที ่ีแลว้ สุดาอายุ = 23 - 5 ปี
= 18 ปี
เจา้ เตี้ยมีอายเุ ป็น 2 ของอายุสดุ า
9
อายขุ องเจา้ เตี้ย = 2 18 ปี
9
= 4 ปี
เมอื่ 5 ปีที่แลว้ เจ้าเต้ยี มีอายุ 4 ปี
ปจั จบุ นั เจ้าเต้ยี มีอายุ = 4 + 5 ปี
= 9 ปี
ปรับพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ชนั้ ม. 4 หน้า4
เลขชีก้ ำลัง ( Exponent)
1
หมายถงึ ตวั เลขหรือสัญลักษณท์ ่ีเขยี นไว้ด้านบนขวาของจำนวนหรือนพิ จน์ใดๆ เชน่ 23 , 54 ,92 , 4a ,
( x+1)2 มี 3 , 4 , 1 , a และ 2 เป็นเลขชี้กำลัง ส่วนจำนวนหรอื นิพจน์ 2 , 5 , 9 , 4 และ x + 1 เป็นฐานเลขชี้
2
กำลังจะบอกใหท้ ราบวา่ จะต้องคูณจำนวนหรอื นิพจน์ (ฐาน) กี่ตวั เชน่ a3หมายถงึ a × a × a หรอื a.a.a
ตัวอยา่ ง 33 = 3 × 3 × 3
= 27
ตวั อยา่ ง ( -3)3 = (-3)×(-3)×(-3)
= -27
จงหาผลลัพธข์ องปรมิ าณต่อไปน้ี
1.) 73 2.) (-1)5
วธิ ีทำ วธิ ีทำ
3.) (1 + 3)4 4.) ( 1 )4
วธิ ีทำ
3
5.) (0.1)3
วธิ ีทำ วธิ ีทำ
6.) (- 1 )5
3
วิธีทำ
7.) (-0.2)4 8.) -(0.2)4
วิธที ำ วธิ ที ำ
9.) 104× 10-7 10.) 10-3÷ 105
วิธีทำ วิธีทำ
ปรับพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 5
การแกส้ มการ
จงหาผลลพั ธข์ องปรมิ าณต่อไปน้ี
1.) ถา้ a + 5 = 7 แลว้ a - 4 เทา่ กับจำนวนใด 2.) ถ้า 7a = 35 แล้ว 2a เทา่ กบั จำนวนใด
วธิ ีทำ วิธีทำ
3.) ให้ - 3 y = 6 ดังนัน้ y เท่ากับเท่าไร 4.) ให้ 7 = 1 - c แล้ว c เท่ากับเท่าไร
วิธที ำ
5
วธิ ีทำ
5.) ถ้า = 2 1 แลว้ a มีค่าเท่าไร 6.) จงหา x และ y ในสมการ (1) x – 2y =
(−2) 4 4
และ สมการ (2) 3x + y = 5
วิธีทำ วิธีทำ
7.) จงหา x จากสมการ x2 + 2x – 8 = 0 8.) จงหา t จากสมการ s = ut + 1 at2เมือ่
วธิ ีทำ
2
กำหนดค่า s = 100 , u = 5 , a = -10
วิธที ำ
ปรับพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หน้า6
ปรมิ าณทางฟสิ กิ สแ์ ละหนว่ ย
ปริมาณทางฟิสิกสแ์ บ่งเปน็ 2 ประเภทคอื
1. ปรมิ าณสเกลาร์ (Scalar quantity) เปน็ ปรมิ าณทม่ี แี ต่ขนาดเพียงอย่างเดยี วเชน่ มวลระยะทาง
เวลา อัตราเร็วฯลฯ
2. ปริมาณเวกเตอร์ (Vector quantity ) เป็นปรมิ าณที่มีทั้งขนาดและทิศทางเชน่ น้ำหนกั
การกระจดั ความเร็วความเรง่ ฯลฯ
เครอื่ งมอื วดั ทางวทิ ยาศาสตรห์ รอื ฟิสิกส์
เครอ่ื งมอื วัดทางวิทยาศาสตรม์ ีความจำเปน็ ดังนี้
1. เคร่อื งมอื วดั ช่วยทำใหเ้ ราสามารถวดั ปรมิ าณตา่ งๆท่ีตอ้ งการได้สะดวกรวดเร็วและปลอดภัย
2. เครือ่ งมอื วัดทำให้เราสามารถวัดปรมิ าณตา่ งๆท่ีประสาทการรับรขู้ องมนษุ ย์ไมส่ ามารถตรวจสอบได้
โดยตรง
3. งานต่างๆทางดา้ นวิทยาศาสตรห์ รอื ฟิสิกส์จำเป็นอยา่ งยิ่งทตี่ อ้ งอาศัยเครือ่ งมือเขา้ ช่วย
*** เครื่องวัดช่วยใหไ้ ดม้ าซ่งึ ข้อมลู ใหมๆ่ ที่ต้องการ ***
การแสดงผลการวดั
โดยท่ัวไปเครือ่ งมอื วัดจะแสดงผลการวัด 2 แบบคือ
1. แสดงผลการวัดแบบขดี สเกลเชน่ ไมบ้ รรทดั , ไมเ้ มตร , สายวัดฯลฯ
ปรับพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 7
2. แสดงผลการวัดแบบตวั เลขเช่นนาฬกิ าจบั เวลา , มิเตอร์รถยนต์, เคร่ืองชว่ั มวล ฯลฯ
เรามาทบทวนกนั หน่อยนะ
1. ให้นกั เรียนทำเครือ่ งหมาย✓หน้าขอ้ ทเ่ี ห็นวา่ ถูกและทำเคร่ืองหมายหนา้ ข้อความท่ีเห็นวา่ ผิด
…………… 1. งานทางดา้ นฟิสิกส์เครือ่ งมือวัดเปน็ ส่ิงจำเปน็ น้อยมากในการได้มาซึ่งข้อมลู ใหม่ๆ
…………… 2. ประสาทการรับรู้ของมนษุ ย์ในเรอื่ งต่างๆไมจ่ ำเปน็ ต้องอาศยั เคร่อื งมือช่วย
…………… 3. การใช้เครื่องมือวดั ทีเ่ หมาะสมกบั งานจะชว่ ยให้ปลอดภัยประหยดั เวลาไดร้ ายละเอยี ด
ทถี่ ูกตอ้ ง
…………… 4. ขณะทำการวดั ถ้าสภาพแวดล้อมแตกต่างจากเงื่อนไขที่กำหนดคา่ ที่วัดได้จะผดิ พลาดสูง
…………… 5. การวัดเพยี งครงั้ เดียวจะให้ค่าท่ถี กู ต้องมากกว่า
2. กำหนดสงิ่ ต่อไปนี้ให้
นำ้ หนกั เวลา ระยะทาง มวล การกระจัด ความเรว็ ความยาว อัตราเรว็ อณุ หภมู ิ
ความเร่ง
ความหนา พืน้ ท่ี ปริมาตร แรง งาน พลงั งาน โมเมนตัม ความหนาแน่น
จงแยกวา่ สิ่งใดเป็นปริมาณสเกลาร์ และส่ิงใดเปน็ ปริมาณเวกเตอร์
ปริมาณสเกลาร์ ปริมาณเวกเตอร์
ปรับพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ชัน้ ม. 4 หนา้ 8
หนว่ ยการวดั
หน่วย (unit) คือชอ่ื ท่ใี ชก้ ำหนดปรมิ าณเดมิ ใช้กันหลายระบบปัจจุบนั องค์การระหว่างประเทศว่าดว้ ย
มาตรฐานเสนอให้ใช้หน่วยระบบเดยี วกนั เรียกวา่ ‘ระบบหน่วยระหว่างชาต’ิ (System International Units)
เรียกโดยย่อว่าหนว่ ยเอสไอ (SI unit)
หนว่ ยฐาน (Base units) เปน็ หนว่ ยหลกั ของเอสไอ มีท้งั หมด 7 หน่วย ดังน้ี
ปริมาณฐาน ช่อื หน่วย สัญลกั ษณ์
(Base quantities) (Units) (Symbols)
เมตร
ความยาว กโิ ลกรัม m
มวล วินาที kg
เวลา แอมแปร์ s
เคลวนิ A
กระแสไฟฟ้า K
อุณหภูมอิ ุณหพลวตั ิ โมล mole
ปรมิ าณของสาร แคนเดลา cd
ความเขม้ ของการส่องสว่าง
หน่วยอนุพนั ธ์ (Derived units) เป็นหน่วยซง่ึ ประกอบดว้ ยหน่วยฐานหลายหน่วยมาเกีย่ วขอ้ งกนั ในลักษณะ
การคณู หรอื หารกันเชน่ อตั ราเรว็ (m/s) ซึง่ มเี มตร และวินาที เป็นหนว่ ยฐาน หนว่ ยอนุพันธม์ หี ลายหนว่ ย
เชน่
ความถี่ มหี นว่ ยเปน็ เฮิรตซ์ (Hz) s-1
แรง มีหนว่ ยเปน็ นวิ ตนั (N) kg ms-2
ความดนั มีหน่วยเปน็ พาสคลั (Pa) kg m -1 s-2
งาน , พลังงาน มหี น่วยเป็น จลู (J) kg m2 s-2
กำลัง มหี น่วยเป็น วัตต์(W) kg m2 s-3
ประจไุ ฟฟ้า มีหนว่ ยเป็น คลู อมบ์ (C) A s
ความตา่ งศักย์ มหี น่วยเป็น โวลต์ (V) kg m2 A-1 s-3
ความตา้ นทาน มีหนว่ ยเป็น โอหม์ ( ) kg m2 A-2 s-3
ความจุ มีหน่วยเป็น ฟารัด (F) A2 s4 kg-1 m-2
ฯลฯ
ปรับพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ชั้น ม. 4 หนา้ 9
หนว่ ยเสริม (Supplementary Units) เปน็ หนว่ ยทีม่ ีช่อื พเิ ศษมอี ยู่ 2 หน่วยคอื หน่วยวัดมุมบนระนาบ
(plane angle) เรียกว่าเรเดยี น (Radian , Rad) และหนว่ ยวัดมมุ ตัน (Solid angle) เรียกวา่ สเตอเรเดยี น
(Steradian , Sr)
มาทบทวนเร่ืองหน่วยกนั หน่อย
กำหนดให้ เฮริตซน์ วิ ตันเมตรคลู อมบ์เคลวนิ โอหม์ โมล จูลกิโลกรัมวัตต์ วนิ าที
โวลต์ แอมแปร์ แคนเดลา เมตรต่อวนิ าที พาสคัล
จงแยกว่าหน่วยใดเปน็ หนว่ ยมลู ฐานและหนว่ ยใดเป็นหน่วยอนุพนั ธ์
หนว่ ยมลู ฐาน หน่วยอนุพนั ธ์
คำนำหนา้ หน่วยหรอื คำอปุ สรรค (SI PREFIXES)
คำนำหนา้ หน่วยในระบบเอสไอ คอื สัญลกั ษณ์ท่ีถูกนำมาวางไวห้ นา้ หน่วย เชน่ สญั ลกั ษณ์ “µ” อา่ นว่า
ไมโคร (micro) แทนตวั เลข 10-6 หรอื “M” อา่ นว่า เมกะ (mega) แทนตัวเลข 106
ปจั จบุ ัน ในหนว่ ย SI กำหนดคำนำหน้าหนว่ ย(คำอุปสรรค)ไว้ 20 ตัว ดงั นี้
คำนำหนา้ หน่วย สัญลกั ษณ์ ตวั คณู แฟคเตอร์
ยอตตะ Y 1024 1,000,000,000,000,000,000,000,000
เซตตะ Z 1021 1,000,000,000,000,000,000,000
เอก๊ สะ E 1018 1,000,000,000,000,000,000
เพตะ P 1015 1,000,000,000,000,000
เทระ T 1012 1,000,000,000,000
จกิ ะ G 109 1,000,000,000
เมกะ M 106 1,000,000
ปรับพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ช้นั ม. 4 หน้า10
คำนำหน้าหนว่ ย สัญลกั ษณ์ ตวั คูณ แฟคเตอร์
กโิ ล k 103 1,000
เฮกโต h 102 100
เดคา da 101 10
เดซิ d 10-1 0.1
เซนติ c 10-2 0.01
มิลลิ m 10-3 0.001
ไมโคร 10-6 0.000 001
นาโน μ 10-9 0.000 000 001
พิโก n 10-12 0.000 000 000 001
เฟมโต p 10-15 0.000 000 000 000 001
อัตโต f 10-18 0.000 000 000 000 000 001
เซปโต a 10-21 0.000 000 000 000 000 000 001
ยอคโต z 10-24 0.000 000 000 000 000 000 000
y
001
การใชค้ ำนำหน้าหนว่ ยมจี ดุ ประสงคเ์ พ่ือให้การแสดงปรมิ าณมคี วามกะทดั รัดมากขน้ึ สัญลกั ษณ์เหลา่ น้ี
จะเข้าไปคณู กับหน่วย เช่นระยะทางจากจดุ ก ไปจดุ ข เท่ากับ 7,600,000 เมตร สามารถถกู แสดงในรปู ที่ส้ัน
กวา่ เปน็ 7.6 เมกะเมตร (7.6 Mm) เป็นตน้ กฎสำหรบั การใชค้ ำนำหนา้ ช่อื หนว่ ยทถี่ กู ตอ้ ง
1. คำนำหนา้ หน่วยใช้ในการอา้ งอิงถงึ กำลังของ 10 เท่าน้นั
ตัวอย่าง หนึง่ กิโลบติ แทน 103 bits หรือ 1000 bits
2. ตอ้ งเขียนคำนำหนา้ หนว่ ยโดยไมม่ ชี อ่ งวา่ ข้างหนา้ สญั ลักษณ์ของหน่วย
ตวั อยา่ ง เขยี นเซนตเิ มตรเปน็ cm ไมใ่ ช่ c m
3. ไมใ่ ช้คำนำหนา้ หน่วยรวมกัน
ตวั อยา่ ง ต้องเขียน 10-6 kg เป็น 1 mg ไมใ่ ช่ 1 µkg
ปรับพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ชนั้ ม. 4 หนา้ 11
การเปล่ยี นหนว่ ย = 60 103 = 6 104 เมตร
ตวั อยา่ งการเปลี่ยนหน่วย = ...................................................................มลิ ลเิ มตร
= ...................................................................ไมโครเมตร
60 กโิ ลเมตร มีคา่
2.) 20 mm ให้เปน็ m
จงเปลีย่ นหนว่ ยต่อไปนี้ วิธีทำ
1.) 20 m ให้เปน็ nm
วิธที ำ
3.) 0.005 m ใหเ้ ปน็ cm 4.) 800 µA ใหเ้ ปน็ A
วธิ ที ำ วธิ ีทำ
5.) 2ไมโครกรัมให้เป็นกโิ ลกรัม 6.) อัตราเร็ว 36 km/hr เปน็ m/s
วิธที ำ วิธีทำ
ปรับพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หน้า12
ปรับพน้ื ฐานวิชาวทิ ยาศาสตร์ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4
สาขา วชิ าเคมี
เรอ่ื ง ความปลอดภยั และทกั ษะในปฏิบตั ิการเคมี
1. ความปลอดภยั ในการทำงานกบั สารเคมี
การทำปฏิบัติการเคมีส่วนใหญ่ต้องมีความเก่ียวขอ้ งกบั สารเคมี อปุ กรณ์และเคร่ืองมือต่าง ๆ ซ่งึ ผู้ทำ
ปฏิบัตกิ ารตอ้ งตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั ของตนเอง ผอู้ ื่น และส่งิ แวดล้อม โดยผู้ทำปฏิบตั กิ าร ควรทราบ
เกยี่ วกับประเภทของสารเคมีท่ีใช้ ข้อควรปฏิบัติในการทำปฏิบตั กิ ารเคมี และการกำจดั สารเคมที ใี่ ช้แล้วหลัง
เสร็จส้นิ ปฏบิ ัตกิ าร เพือ่ ให้สามารถทำปฏิบัติการเคมีได้อยา่ งปลอดภัย
1.1 ประเภทของสารเคมี
สารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบตั แิ ตกต่างกนั สารเคมจี ึงจำเป็นต้องมฉี ลากที่มี ขอ้ มูล
เกีย่ วกับความเปน็ อนั ตรายของสารเคมีเพ่ือความปลอดภัยในการจัดเกบ็ การนำไปใช้ และการ กำจัด โดยฉลาก
ของสารเคมที ่ีใช้ในหอ้ งปฏิบตั กิ ารควรมีข้อมูล ดงั นี้ 1. ชอื่ ผลิตภณั ฑ์ 2. รูปสัญลกั ษณ์ แสดงความเป็นอนั ตราย
ของสารเคมี 3. คำเตอื น ข้อมลู ความเปน็ อนั ตราย และขอ้ ควรระวัง 4. ขอ้ มูลของบริษทั ผู้ผลติ สารเคมี
ตวั อยา่ งของฉลาก แสดงดงั รูป 1.1
บนฉลากบรรจุภณั ฑ์มีสัญลกั ษณแ์ สดงความเปน็ อันตรายทสี่ อื่ ความหมายได้ชัดเจนเพอื่ ใหผ้ ู้ใช้สังเกตได้
งา่ ย สัญลักษณแ์ สดงความเป็นอันตรายมีหลายระบบ ในทีน่ ี้จะกลา่ วถงึ 2 ระบบ ทีม่ กี ารใชก้ ันอย่างแพรห่ ลาย
คอื Globally Harmonized System of Classifi cation and Labelling of Chemicals (GHS) ซ่ึง
เปน็ ระบบทใี่ ช้สากล และ National Fire Protection Association Hazard Identifi cation System
(NFPA) เป็นระบบท่ีใช้ในสหรัฐอเมรกิ า ซงึ่ สญั ลักษณท์ ้ังสองระบบน้ี สามารถพบเหน็ ได้ทั่วไปบนบรรจุภัณฑ์
สารเคมีในระบบ GHS จะแสดงสญั ลกั ษณ์ในส่เี หล่ียมกรอบสแี ดง พนื้ สีขาว ลกั ษณะดังรูป 1.2
ปรับพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 13
สำหรับสัญลักษณ์แสดงความเปน็ อนั ตรายในระบบ NFPA จะใช้สีแทนความเปน็ อนั ตรายใน
ด้านตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ สีแดงแทนความไวไฟ สนี ้ำเงนิ แทนความเปน็ อันตรายตอ่ สุขภาพ สเี หลืองแทนความวอ่ งไวใน
การเกดิ ปฏิกริ ิยา โดยใส่ตวั เลข 0 ถงึ 4 เพ่ือระบุระดบั ความเปน็ อนั ตรายจากนอ้ ยไปหามากและชอ่ งสีขาวใช้ใส่
อกั ษรหรอื สญั ลักษณท์ ่ีแสดงสมบตั ิทเ่ี ปน็ อนั ตรายดา้ นอน่ื ๆ ดังตัวอย่างในรปู 1.3
นอกจากฉลากและสัญลักษณ์แสดงความเป็นอนั ตรายตา่ ง ๆ ทป่ี รากฏบนบรรจุภัณฑ์ของสารเคมี
แลว้ สารเคมที ุกชนดิ ยงั ต้องมีเอกสารความปลอดภยั (safety data sheet, SDS) ซง่ึ มีข้อมูลเกี่ยวกับ
ความปลอดภยั ในการใช้สารเคมอี ย่างละเอยี ด เช่น สมบตั ิและองคป์ ระกอบของสารเคมี ความเปน็ อันตราย
การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น
1.2 ข้อควรปฏิบัตใิ นการทำปฏิบตั ิการเคมี
การทำปฏิบตั ิการเคมใี ห้เกดิ ความปลอดภัยนอกจากตอ้ งทราบขอ้ มูลของสารเคมีท่ีใช้แลว้ ผู้ทำ
ปฏิบัตกิ ารควรทราบเก่ยี วกบั การปฏิบัติตนเบื้องต้นทง้ั กอ่ น ระหวา่ ง และหลงั ทำปฏิบตั กิ าร ดงั ต่อไปน้ี
กอ่ นทำปฏิบตั ิการ
1) ศึกษาขัน้ ตอนหรือวธิ ีการทำปฏบิ ัตกิ ารใหเ้ ข้าใจ วางแผนการทดลอง หากมีขอ้ สงสยั ตอ้ ง สอบถาม
ครผู สู้ อนก่อนที่จะทำการทดลอง
2) ศกึ ษาขอ้ มูลของสารเคมีท่ีใช้ในการทดลอง เทคนคิ การใช้เคร่ืองมอื วัสดอุ ุปกรณ์ ตลอดจน วิธีการ
ทดลองทถ่ี ูกตอ้ งและปลอดภัย
ปรบั พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ช้ัน ม. 4 หน้า14
3) แตง่ กายใหเ้ หมาะสม เชน่ สวมกางเกงหรือกระโปรงยาว สวมรองเทา้ มดิ ชิดสน้ เต้ยี คนทมี่ ี ผมยาว
ควรรวบผมให้เรยี บร้อย หลกี เลี่ยงการสวมใส่เครื่องประดบั และคอนแทคเลนส์
ขณะทำปฏบิ ัติการ
1) ขอ้ ปฏบิ ัตโิ ดยทัว่ ไป
1.1 สวมแวน่ ตานริ ภัย สวมเสอ้ื คลมุ ปฏิบตั กิ ารทตี่ ิดกระดมุ ทุกเมด็ ควรสวมถงุ มอื เมือ่ ต้อง
ใชส้ ารกดั กรอ่ นหรือสารทม่ี อี ันตราย ควรสวมผ้าปิดปากเมอ่ื ตอ้ งใช้สารเคมีทีม่ ไี อระเหย และทำ ปฏิบตั กิ ารในท่ี
ซ่งึ มอี ากาศถา่ ยเทหรือในตู้ดูดควนั ดงั รปู 1.4
1.2 ห้ามรับประทานอาหารและเคร่ืองด่มื หรือทำกจิ กรรมอื่น ๆ ทไ่ี มเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การ
ทำปฏิบตั กิ าร
1.3 ไม่ทำการทดลองในห้องปฏิบัตกิ ารตามลำพงั เพยี งคนเดยี ว เพราะเมอ่ื เกดิ อุบตั ิเหตุขนึ้
จะไม่มีใครทราบและไม่อาจชว่ ยไดท้ ันท่วงที หากเกดิ อุบตั เิ หตุในหอ้ งปฏบิ ัติการ ต้องแจ้งให้ครผู สู้ อนทราบทันที
ทกุ ครั้ง
1.4 ไม่เลน่ และไมร่ บกวนผู้อื่นในขณะที่ทำปฏิบัติการ
1.5 ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอนและวิธกี ารอยา่ งเครง่ ครดั ไม่ทำการทดลองใด ๆ ทีน่ อกเหนือ
จากท่ีไดร้ ับมอบหมาย และไม่เคล่ือนย้ายสารเคมี เครือ่ งมือ และอปุ กรณ์สว่ นกลางทตี่ อ้ งใชร้ ่วมกัน นอกจาก
ไดร้ บั อนญุ าตจากครูผู้สอนเท่าน้นั
1.6 ไม่ปลอ่ ยให้อุปกรณ์ใหค้ วามร้อน เชน่ ตะเกยี งแอลกอฮอล์ เตาแผน่ ให้ความรอ้ น
(hot plate) ทำงานโดยไมม่ คี นดแู ล และหลงั จากใชง้ านเสรจ็ แล้วใหด้ ับตะเกยี งแอลกอฮอล์หรือปดิ เครื่องและ
ถอดปลัก๊ ไฟออกทนั ที แล้วปล่อยไวใ้ ห้เยน็ กอ่ นการจัดเก็บ เมือ่ ใช้เตาแผ่นให้ความร้อนต้องระวังไม่ใหส้ ายไฟ
พาดบนอุปกรณ์
2) ขอ้ ปฏิบัติในการใช้สารเคมี
2.1 อ่านชื่อสารเคมีบนฉลากให้แนใ่ จก่อนนำสารเคมไี ปใช้
2.2 การเคลื่อนยา้ ย การแบ่ง และการถ่ายเทสารเคมตี ้องทำด้วยความระมัดระวัง โดยเฉพาะ
ปรบั พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 15
อย่างยงิ่ สารอันตราย และควรใช้อปุ กรณ์ เชน่ ชอ้ นตักสารและบีกเกอร์ท่ีแหง้ และสะอาด การเทของเหลวจาก
ขวดบรรจุสารให้เทด้านตรงข้ามฉลาก เพอื่ ป้องกนั ความเสยี หายของฉลากเนอื่ งจากการสัมผัสสารเคมี
2.3 การทำปฏกิ ิรยิ าของสารในหลอดทดลอง ต้องหันปากหลอดทดลองออกจากตวั เองและ
ผู้อ่นื เสมอ
2.4 หา้ มชมิ หรอื สูดดมสารเคมโี ดยตรง ถา้ จำเปน็ ต้องทดสอบกลิ่นให้ใชม้ อื โบกให้ไอของสาร
เขา้ จมูกเพยี งเลก็ น้อย
2.5 การเจอื จางกรด หา้ มเทนำ้ ลงกรดแต่ให้เทกรดลงน้ำ เพอื่ ใหน้ ำ้ ปรมิ าณมากชว่ ยถ่ายเท
ความร้อนท่เี กิดจากการละลาย
2.6 ไม่เทสารเคมีท่เี หลือจากการเทหรือตกั ออกจากขวดสารเคมีแลว้ กลับเขา้ ขวดอย่าง
เดด็ ขาด ให้เทใส่ภาชนะท้งิ สารทจี่ ัดเตรยี มไว้
2.7 เมอื่ สารเคมีหกในปริมาณเลก็ น้อยให้กวาดหรือเช็ด แล้วทงิ้ ลงในภาชนะสำหรับทิ้ง
สารทเ่ี ตรียมไวใ้ นหอ้ งปฏบิ ตั ิการ หากหกในปริมาณมากใหแ้ จง้ ครผู ้สู อน
หลงั ทำปฏิบตั ิการ
1) ทำความสะอาดอุปกรณ์ เครื่องแกว้ และวางหรอื เก็บในบริเวณท่ีจดั เตรียมไว้ให้ รวมท้ัง
ทำความสะอาดโต๊ะทำปฏิบัตกิ าร
2) กอ่ นออกจากหอ้ งปฏิบตั ิการให้ถอดอปุ กรณ์ป้องกันอันตราย เชน่ เสอ้ื คลมุ ปฏิบัติการ แว่นตา
นริ ภัย ถุงมือ
1.3 การกำจัดสารเคมี
สารเคมีทีใ่ ช้แลว้ หรอื เหลอื ใช้จากการทำปฏิบตั ิการเคมี จำเปน็ ตอ้ งมีการกำจดั อย่างถกู วธิ ี เพ่ือ
ให้เกิดความปลอดภัยตอ่ ส่งิ แวดลอ้ มและสิง่ มชี ีวติ การกำจัดสารเคมีแต่ละประเภท สามารถปฏบิ ัติไดด้ งั นี้
1) สารเคมีทเ่ี ปน็ ของเหลวไม่อนั ตรายทลี่ ะลายนำ้ ได้และมี pH เป็นกลาง ปริมาณไม่เกิน 1 ลิตร
สามารถเทลงอ่างนำ้ และเปดิ นำ้ ตามมาก ๆ ได้
2) สารละลายเข้มข้นบางชนดิ เช่น กรดไฮโดรคลอรกิ โซเดียมไฮดรอกไซด์ ไม่ควรท้งิ ลงอ่างน้ำ หรอื
ทอ่ นำ้ ทนั ที ควรเจอื จางกอ่ นเทลงอา่ งนำ้ ถ้ามปี ริมาณมากต้องทำใหเ้ ปน็ กลางก่อน
3) สารเคมที ีเ่ ป็นของแขง็ ไม่อนั ตราย ปรมิ าณไม่เกิน 1 กโิ ลกรัม สามารถใส่ในภาชนะท่ีปิดมดิ ชดิ
พรอ้ มท้ังตดิ ฉลากช่อื ให้ชดั เจน กอ่ นทิ้งในทซ่ี ่งึ จดั เตรยี มไว้
4) สารไวไฟ ตัวทำละลายท่ีไม่ละลายน้ำ สารประกอบของโลหะเปน็ พษิ หรอื สารที่ทำปฏกิ ิรยิ า
กบั น้ำ หา้ มทิ้งลงอา่ งนำ้ ใหท้ ง้ิ ไว้ในภาชนะที่ทางห้องปฏิบตั ิการจัดเตรียมไว้ให้
ปรับพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ช้นั ม. 4 หนา้ 16
2. อุบัตเิ หตุจากสารเคมี
ในการทำปฏบิ ัติการเคมอี าจเกิดอุบัติเหตตุ ่าง ๆ จากการใชส้ ารเคมไี ด้ ซง่ึ หากผู้ทำปฏบิ ัตกิ ารมี
ความร้ใู นการปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ จะสามารถลดความรนุ แรงและความเสยี หายทเ่ี กิดขึน้ ได้ โดยการ
ปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ จากอุบัติเหตุจากการใช้สารเคมี มขี ้อปฏบิ ัตดิ ังน้ี
การปฐมพยาบาลเมอื่ รา่ งกายสัมผสั สารเคมี
1. ถอดเสอ้ื ผ้าบรเิ วณทเี่ ปอ้ื นสารเคมีออก และซบั สารเคมีออกจากร่างกายใหม้ ากที่สดุ
2. กรณีเป็นสารเคมที ่ีละลายน้ำได้ เช่น กรดหรือเบส ให้ล้างบรเิ วณทส่ี มั ผสั สารเคมีดว้ ยการเปิดนำ้
ไหลผ่านปรมิ าณมาก
3. กรณเี ป็นสารเคมที ี่ไม่ละลายน้ำ ใหล้ ้างบริเวณทส่ี ัมผัสสารเคมีดว้ ยน้ำสบู่
4. หากทราบวา่ สารเคมีทส่ี ัมผัสร่างกายคือสารใด ใหป้ ฏบิ ัติตามขอ้ กำหนดในเอกสารความปลอดภัย
ของสารเคมี
กรณีท่ีรา่ งกายสัมผสั สารเคมีในปริมาณมากหรอื มคี วามเขม้ ขน้ สงู
ให้ปฐมพยาบาลเบื้องต้นแล้วนำสง่ แพทย์
การปฐมพยาบาลเมอื่ สารเคมเี ขา้ ตา
ตะแคงศรี ษะโดยใหต้ าด้านท่สี ัมผัสสารเคมอี ยู่ด้านลา่ ง ลา้ งตาโดยการเปิดนำ้ เบา ๆ ไหลผ่านด้งั จมกู ให้
น้ำไหลผา่ นตาขา้ งทีโ่ ดนสารเคมี ดงั รูป 1.5 พยายามลมื ตาและกรอกตาในน้ำอยา่ งนอ้ ย 10 นาที หรือจนกว่า
แนใ่ จว่าชะล้างสารออกหมดแลว้ ระวงั ไม่ใหน้ ้ำเข้าตาอีกข้างหนง่ึ แลว้ นำส่งแพทยท์ ันที
การปฐมพยาบาลเมอื่ สูดดมแกส๊ พิษ
1. เมือ่ มีแก๊สพษิ เกดิ ขึน้ ตอ้ งรบี ออกจากบริเวณน้ันและไปบริเวณท่มี ีอากาศถา่ ยเทสะดวกทันที
2. หากมผี ทู้ ี่สูดดมแก๊สพษิ จนหมดสตหิ รอื ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ ตอ้ งรีบเคลอ่ื นย้ายออกจาก
บรเิ วณน้นั ทันที โดยทผ่ี ู้ชว่ ยเหลอื ต้องสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกนั ทเ่ี หมาะสม เชน่ หนา้ กากป้องกันแก๊สพษิ ผา้ ปดิ ปาก
3. ปลดเส้อื ผ้าเพอ่ื ให้ผูป้ ระสบอุบตั ิเหตหุ ายใจไดส้ ะดวกขนึ้ หากหมดสติให้จับนอนคว่ำและตะแคง
หนา้ ไปดา้ นใดดา้ นหน่ึง เพอ่ื ป้องกนั โคนลิ้นกีดขวางทางเดินหายใจ
ปรบั พื้นฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 17
4. สังเกตการเต้นของหัวใจและการหายใจ หากวา่ หวั ใจหยุดเตน้ และหยุดหายใจใหน้ วดหวั ใจ
และผายปอดโดยผู้ท่ีผ่านการฝกึ แต่ไม่ควรใช้วธิ เี ป่าปาก (mouth to mouth) แล้วนำส่งแพทย์ทันที
การปฐมพยาบาลเมอ่ื โดนความรอ้ น
แชน่ ำ้ เยน็ หรอื ปดิ แผลดว้ ยผ้าชบุ น้ำจนหายปวดแสบปวดรอ้ น แลว้ ทายาขีผ้ ้ึงสำหรบั ไฟไหม้
และน้ำร้อนลวก หากเกดิ บาดแผลใหญ่ใหน้ ำสง่ แพทย์
กรณีทส่ี ารเคมเี ขา้ ปากใหป้ ฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำตามเอกสารความปลอดภยั
แล้วนำสง่ แพทย์ทุกกรณี
3. การวัดปริมาณสาร
ในปฏิบัตกิ ารเคมีจำเปน็ ตอ้ งมีการช่ัง ตวง และวัดปรมิ าณสาร ซ่ึงการช่ัง ตวง วัด มีความคลาด
เคล่อื นที่อาจเกิดจากอปุ กรณท์ ี่ใช้ หรือผู้ทำปฏบิ ัติการ ทีจ่ ะสง่ ผลให้ผลการทดลองท่ีไดม้ คี า่ มากกวา่ หรอื นอ้ ย
กวา่ คา่ จริง
ความน่าเช่อื ถือของข้อมูล สามารถพจิ ารณาได้จาก 2 สว่ นด้วยกนั คือ ความเทีย่ ง (precision) และ
ความแม่น (accuracy) ของขอ้ มลู โดยความเท่ยี ง คอื ความใกล้เคยี งกนั ของ คา่ ท่ีได้จากการวัดซำ้ สว่ นความ
แม่น คือ ความใกล้เคียงของค่าเฉล่ียจากการวดั ซำ้ เทยี บกบั ค่าจรงิ ดงั แสดงในรปู 1.6
จากรูป 1.6 จะเห็นว่า หน้า18
ก) ขอ้ มูลมกี ารกระจายตัวมากและมคี ่าเฉล่ยี ท่ไี มใ่ กลเ้ คยี งกบั คา่ จรงิ
ปรบั พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ช้ัน ม. 4
ข) ขอ้ มูลมกี ารกระจายตัวมากถงึ แม้ว่าอาจให้ค่าเฉลีย่ ใกล้เคยี งกับค่าจรงิ ก็จัดเปน็ ขอ้ มูลทีม่ คี วาม
น่าเช่ือถอื น้อย
ค) ข้อมูลมีการกระจายตวั นอ้ ยแตม่ คี า่ เฉลี่ยไม่ใกล้เคยี งกบั คา่ จรงิ จึงยังถือวา่ เปน็ ขอ้ มูลทมี่ คี วาม
นา่ เชอื่ ถือนอ้ ยเช่นกนั
ง) ขอ้ มลู มกี ารกระจายตัวน้อยและมคี า่ เฉลย่ี ใกลเ้ คียงกับคา่ จริง จึงเปน็ ขอ้ มลู ที่น่าเชอ่ื ถอื
ความเที่ยงและความแมน่ ของข้อมลู ทไ่ี ด้จากการวัดขน้ึ อยูก่ ับทักษะของผทู้ ีท่ ำการวดั และความ
ละเอยี ดของอปุ กรณ์ที่ใช้ อปุ กรณก์ ารวดั ท่ใี ช้โดยทั่วไปในปฏิบตั ิการเคมี ไดแ้ ก่ อุปกรณ์วดั ปรมิ าตร และ
อปุ กรณ์วดั มวล ซ่ึงมรี ะดับความละเอียดของอปุ กรณแ์ ละวธิ ีการใช้ที่แตกตา่ งกัน
การแบง่ กล่มุ อปุ กรณ์วดั ปริมาตร ได้แก่ บกี เกอร์ ขวดรูปกรวย กระบอกตวง ปิเปตต์ บิวเรตต์
และขวดกำหนดปรมิ าตร โดยใช้ความแมน่ เปน็ เกณฑ์ จะสามารถแบง่ กลุ่มไดอ้ ยา่ งไร
3.1 อปุ กรณว์ ดั ปริมาตร
อปุ กรณ์วัดปรมิ าตรสารเคมที ่ีเปน็ ของเหลวท่ี ใช้ในห้องปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์มหี ลายชนดิ แต่ละ
ชนิดมีขดี และตวั เลขแสดงปริมาตรที่ไดร้ ับการตรวจสอบมาตรฐาน และกำหนดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้
บางชนดิ มีความคลาดเคลือ่ นนอ้ ย บางชนิด มีความคลาดเคลอ่ื นมาก ในการเลือกใชต้ ้องคำนึงถึงความ
เหมาะสมกับปรมิ าตรและ ระดับความแม่นท่ีต้องการ อปุ กรณว์ ัดปรมิ าตรบางชนิดทีน่ กั เรียนไดใ้ ชง้ านในการทำ
ปฏบิ ตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตรท์ ี่ผ่านมา เชน่ บีกเกอร์ ขวดรูปกรวย กระบอกตวง เปน็ อปุ กรณ์ทไี่ ม่สามารถบอก
ปรมิ าตรไดแ้ ม่นมากพอสำหรบั การทดลองในบางปฏบิ ัตกิ าร
บีกเกอร์
บีกเกอร์ (beaker) มลี กั ษณะเป็นทรงกระบอกปากกว้าง มีขดี บอกปรมิ าตรในระดบั มิลลิลิตร มี
หลายขนาด ดังรปู 1.7
ขวดรปู กรวย หนา้ 19
ปรบั พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ชั้น ม. 4
ขวดรปู กรวย (erlenmeyer flask) มลี ักษณะคล้ายผลชมพู่ มีขีดบอกปริมาตรในระดับมิลลิลติ ร มี
หลายขนาด ดังรูป 1.8
กระบอกตวง
กระบอกตวง (measuring cylinder) มลี ักษณะเปน็ ทรงกระบอก มขี ีดบอกปรมิ าตรในระดบั
มิลลลิ ิตร มหี ลายขนาด ดังรูป 1.9
นอกจากนยี้ ังมอี ปุ กรณ์ท่สี ามารถวดั ปรมิ าตรของของเหลวไดแ้ ม่นมากกว่าอปุ กรณ์ข้างต้น โดย มที ง้ั ที่
เปน็ การวดั ปรมิ าตรของของเหลวที่บรรจุอยภู่ ายใน และการวัดปรมิ าตรของของเหลวทถ่ี า่ ยเท เช่น ปิเปตต์
บิวเรตต์ ขวดกำหนดปริมาตร
ปเิ ปตต์
ปิเปตต์ (pipette) เปน็ อุปกรณ์วัดปรมิ าตรทม่ี ีความแมน่ สงู ซงึ่ ใช้สำหรับถ่ายเทของเหลว ปเิ ปตต์ท่ีใช้
กันทัว่ ไปมี 2 แบบ คอื แบบปรมิ าตรซึ่งมีกระเปาะตรงกลาง มีขีดบอกปรมิ าตรเพยี งค่าเดยี ว และแบบใช้ตวง
มีขีดบอกปริมาตรหลายค่า ดังรูป 1.10
ปรบั พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ชั้น ม. 4 หน้า20
บิวเรตต์
บวิ เรตต์ (burette) เปน็ อปุ กรณส์ ำหรับถ่ายเทของเหลวในปริมาตรต่าง ๆ ตามต้องการ มลี ักษณะ
เปน็ ทรงกระบอกยาวทม่ี ีขีดบอกปรมิ าตร และมีอุปกรณค์ วบคุมการไหลของของเหลวท่ีเรียกว่า ก๊อกปิดเปิด
(stop cock) ดังรูป 1.11
ขวดกำหนดปรมิ าตร
ขวดกำหนดปรมิ าตร (volumetric flask) เป็นอปุ กรณ์สำหรบั วัดปริมาตรของของเหลวท่บี รรจุ
ภายใน ใช้สำหรบั เตรียมสารละลายทีต่ ้องการความเขม้ ขน้ แนน่ อน มีขีดบอกปรมิ าตรเพียงขดี เดียว
มีจุกปิดสนทิ ขวดกำหนดปรมิ าตรมหี ลายขนาด ดังแสดงในรปู 1.12
การใชอ้ ปุ กรณ์วัดปรมิ าตรเหล่านใ้ี หไ้ ด้คา่ ท่ีน่าเช่ือถือจะตอ้ งมีการอ่านปรมิ าตรของของเหลวให้ถกู วิธี
โดยต้องใหส้ ายตาอยรู่ ะดับเดยี วกันกบั ระดบั สว่ นโค้งของของเหลว โดยถา้ สว่ นโคง้ ของของเหลวมลี ักษณะเว้า
ให้อา่ นปรมิ าตรทีจ่ ุดต่ำสดุ ของสว่ นโคง้ นน้ั แต่ถา้ ส่วนโค้งของของเหลวมลี ักษณะนนู ใหอ้ า่ นปริมาตรทีจ่ ุดสูงสุด
ของส่วนโคง้ นั้น แสดงดงั รูป 1.13 การอ่านคา่ ปริมาตรของของเหลวให้อา่ นตามขดี บอกปริมาตรและประมาณ
ค่าทศนยิ มตำแหน่งสุดท้าย
ปรบั พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ชัน้ ม. 4 หน้า21
อปุ กรณว์ ัดปรมิ าตรบางชนิด เช่น ปเิ ปตต์แบบปริมาตร ขวดกำหนดปริมาตร มขี ดี บอกปรมิ าตรเพยี ง
ขดี เดียว อปุ กรณ์ประเภทน้อี อกแบบมาเพือ่ ให้ใช้ในการถ่ายเทหรอื บรรจขุ องเหลวท่ีมีปริมาตรเพยี งค่าเดยี ว
ตามทรี่ ะบบุ นอุปกรณ์ ดงั นนั้ ผ้ใู ช้จงึ จำเป็นตอ้ งพยายามปรับระดบั ของเหลวให้ตรงกับขีดบอกปริมาตร
การบนั ทึกค่าปริมาตรใหบ้ นั ทึกตามขนาดและความละเอียดของอุปกรณ์ เช่น ปเิ ปตต์มคี วามละเอียดของคา่
ปริมาตรถงึ ทศนยิ มตำแหน่งทีส่ อง ดังนั้นปรมิ าตรของเหลวทไี่ ดจ้ ากการใชป้ เิ ปตต์ขนาด 10 มิลลิลิตร บนั ทึกค่า
ปรมิ าตรเป็น 10.00 มิลลิลติ ร
3.2 อปุ กรณ์วดั มวล
เครอ่ื งช่งั เปน็ อุปกรณส์ ำหรบั วัดมวลของสารท้ังที่เป็นของแข็งและของเหลว ความนา่ เชอื่ ถือของคา่
มวลที่วดั ได้ขึน้ อยกู่ บั ความละเอยี ดของเครือ่ งชง่ั และวิธีการใชเ้ ครื่องชงั่ เครื่องชั่งทใ่ี ช้ในหอ้ งปฏิบัติการเคมี
โดยทวั่ ไปมี 2 แบบ คอื เครอ่ื งชัง่ แบบสามคาน (triple beam) และเครอื่ งชงั่ ไฟฟา้ (electronic balance) ซึง่
มีส่วนประกอบหลัก ดังรปู 1.14
ปัจจบุ ันเครอ่ื งชัง่ ไฟฟ้าไดร้ ับความนิยมมากขึน้ เน่ืองจากสามารถใช้งานไดส้ ะดวกและหาซอื้ ไดง้ า่ ย
ตัวเลขทศนยิ มตำแหน่ง สุดท้ายซ่ึงเป็นคา่ ประมาณของเคร่ืองช่งั แบบสามคานมาจากการประมาณของผู้ช่งั
ขณะทที่ ศนิยมตำแหนง่ สดุ ท้ายของเครือ่ งชัง่ ไฟฟ้ามาจากการประมาณของอุปกรณ์
ปรบั พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ชั้น ม. 4 หน้า22
ใบงานที่ 1
ความปลอดภัยและทักษะในปฏิบัตกิ ารเคมี
1. ใส่เครื่องหมาย หน้าขอ้ ความท่ถี กู ตอ้ ง และเคร่อื งหมาย หน้าข้อความทีไ่ ม่ถกู ตอ้ ง
……. 1.1 ถ้านักเรียนทำขวดบรรจสุ ารเคมตี กแตกและสารเคมีหกเป้ือนโตะ๊ นักเรยี นตอ้ งกันเพ่ือน ๆ
ออกจากบรเิ วณนั้น และแจง้ อาจารย์ผู้ดแู ลการทดลอง
……. 1.2 วธิ จี ดุ ตะเกยี งแอลกอฮอลท์ ำโดยการเอยี งตะเกียงต่อไฟจากตะเกยี งแอลกอฮอล์อน่ื
……. 1.3 สารละลายที่มสี มบัตเิ ป็นกรดจะเปลีย่ นสีกระดาษลติ มสั จากแดงเปน็ นำ้ เงนิ
……. 1.4 ควรสวมถุงมือ และใช้ผา้ ปิดปาก ปิดจมูก เมือ่ ต้องใช้สารเคมีทีม่ ีสญั ลกั ษณ์ความเปน็ อนั ตราย
รูปหัวกะโหลกไขว้
……. 1.5 หลอดหยดเป็นอุปกรณท์ ีใ่ ช้ในการถ่ายเทสารปรมิ าณน้อย ๆ
……. 1.6 การตวงปรมิ าตรนำ้ สามารถใช้ถว้ ยตวงของเหลวสำหรับทำขนมแทนการตวงด้วย
บีกเกอรไ์ ด้
2. จบั ครู่ ปู อปุ กรณ์กับช่ือใหถ้ ูกตอ้ ง
ปรบั พนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ช้นั ม. 4 หนา้ 23
…... 2.1 บีกเกอร์ …... 2.6 บิวเรตต์
…... 2.2 กระบอกตวง …...2.7 ปเิ ปตต์
..... 2.3 เทอรม์ อมิเตอร์ …... 2.8 กระจกนาฬกิ า
…... 2.4 กรวยกรอง …... 2.9 ถ้วยระเหยสาร
…... 2.5 หลอดทดลอง
3. จากรปู ต่อไปน้ี อุปกรณ์ใดใช้ในการวดั ปริมาณสาร
อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการวัดปรมิ าณสาร
ได้แก่………………………………………………………………………………….........................…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
ปรบั พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ช้ัน ม. 4 หนา้ 24
ใบงานท่ี 2
ความปลอดภยั ในการทำงานกับสารเคมี และอบุ ตั ิเหตจุ ากสารเคมี
จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. จากฉลากของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนีย สารเคมที ้งั สองมอี ันตรายตามระบบGHS อย่างไร
บา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
2. จากสัญลกั ษณ์ความเปน็ อันตรายในระบบ NFPA ของกรดไฮโดรคลอริกและแอมโมเนยี สารเคมีใด
เปน็ อนั ตรายมากกวา่ กนั ในดา้ นความไวไฟ ความเปน็ อันตรายต่อสุขภาพ และความวอ่ งไวในการเกดิ ปฏกิ ิรยิ า
เคมี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
ปรับพืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ช้ัน ม. 4 หนา้ 25
ใบงานที่ 3
แบบฝึกหดั 1.1 : ความปลอดภยั ในการทำงานกบั สารเคมี และอบุ ตั เิ หตจุ ากสารเคมี
จงตอบคำถามต่อไปน้ี
1. พิจารณาข้อมูลบนฉลากของโซเดยี มไฮดรอกไซด ์และวงกลมเพ่ือระบุส่วนที่แสดงขอ้ มลู ต่อไปน้ี
1. ช่อื ผลติ ภัณฑ์
2. รูปสญั ลกั ษณ์ แสดงความเปน็ อันตรายของสารเคมี
3. คำเตือน ข้อมลู ความเป็นอนั ตราย และข้อควรระวัง
2. พิจารณาตวั อยา่ งฉลากสารเคมตี อ่ ไปน้ี หน้า26
ปรับพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ชั้น ม. 4
2.1 สารเคมีใดไม่ควรวางใกลเ้ ปลวไฟ……………………………………………………………
2.2 สารเคมีใดเปน็ พิษต่อส่ิงแวดล้อม………………………………………………………………
2.3 สารเคมีใดมีฤทธ์กิ ดั กร่อนผิวหนัง………………………………………………………………
2.4 เมอ่ื สมั ผัสกบั โซเดียมซัลเฟต ควรปฏิบัตอิ ย่างไร………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………
2.5 สารละลายเลด(II)ไนเทรต (Pb(NO3)2) เข้มขน้ ร้อยละ 10 โดยมวลตอ่ ปริมาตร ท่ีเหลือจากการ
ทดลอง 5 มิลลิลติ ร ควรทงิ้ อยา่ งไร………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………….
ปรบั พื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 27
3. จากรปู ผู้ทำปฏิบัตกิ ารควรปรับปรงุ สิ่งใดบา้ ง เพ่อื ใหเ้ กิดความปลอดภัยในการทำปฏบิ ัตกิ ารเคมี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………………………………………………
ปรับพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ชัน้ ม. 4 หน้า28
ใบงานท่ี 4
แบบฝึกหัด 1.2 : ความปลอดภัยในการทำงานกบั สารเคมี และอุบตั เิ หตจุ ากสารเคมี
จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ให้นักเรยี นระบวุ ธิ ปี ฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ทีเ่ หมาะสม เมือ่ เกิดอุบัติเหตตุ ่อไปน้ใี นหอ้ งปฏบิ ัติการ
1.1 สารละลายกรดกระเดน็ ถกู ผวิ หนัง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..………………………………………………………………
1.2 สัมผัสกบั เมด็ โซเดียมไฮดรอกไซด์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…….………………………………………………………………
1.3 ไอน้ำร้อนจากอา่ งน้ำร้อนสมั ผสั รา่ งกาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..………………………………………………………………
1.4 เศษแก้วจากหลอดทดลองท่ีแตกบาดมอื
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..………………………………………………………………
1.5 เมอ่ื ใช้มอื สัมผัสโตะ๊ ในหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร แลว้ เกดิ อาการแสบรอ้ น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..………………………………………………………………
2. สืบค้นขอ้ มูล safety data sheet ของ 1-naphthyl methylcarbamate ซ่ึงเปน็ ยาฆา่ แมลงในกลมุ่ คาร์บา
เมต (carbaryl insecticide) ทีน่ ำมาใช้ในการกำจดั แมลงศัตรพู ืช เพ่ือตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
2.1 วธิ เี ก็บรกั ษา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………….…………………………………………………………………………………
2.2 วิธีปฐมพยาบาล เม่อื สมั ผัสผวิ หนงั หน้า29
ปรับพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ชนั้ ม. 4
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..………………………………………………………………………………
ปรบั พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 30
ใบงานท่ี 5
การวัดปริมาณสาร
➢ ตรวจสอบความเข้าใจ
ในห้องปฏิบัติการมีปิเปตต์แบบใชต้ วงขนาด 5 มิลลิลติ รและ 10 มลิ ลลิ ติ รและมปี เิ ปตต์แบบปริมาตรขนาด
5 มิลลิลิตรและ 25 มิลลิลิตรหากตอ้ งการของเหลวปรมิ าตรตอ่ ไปน้ี ตอ้ งเลือกปิเปตตแ์ บบใดและขนาดปริมาตร
ใด
1. 2.50 มลิ ลิลิตร……………………………………………………………………………………
2. 5.00 มลิ ลิลติ ร……………………………………………………………………………………
3. 25.00 มลิ ลิลติ ร …………………………………………………………………………………..
➢ ตรวจสอบความเข้าใจ
1. จากรปู ปรมิ าตรของของเหลวในกระบอกตวงมคี า่ เทา่ ใด
…………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………..
2. ปรมิ าตรเริม่ ตน้ และปรมิ าตรสดุ ทา้ ยจากการถ่ายเทของเหลวด้วยบวิ เรตต์ เป็นดงั รปู ของเหลวทถี่ า่ ยเท
ได้มปี รมิ าตรเทา่ ใด
…………………………………………………………………………………………………… หน้า31
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
ปรับพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ช้นั ม. 4
ใบงานที่ 6
แบบฝกึ หดั 1.3 : การวดั ปริมาณสาร
จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี
1. อ่านปรมิ าตรของของเหลว จากรูปต่อไปนี้
…………………… ………………………. ………………………………..
2. อ่านค่าปริมาตรของของเหลวในบวิ เรตตท์ ี่มีปริมาตรเท่ากนั ในมมุ มองทีแ่ ตกตา่ งกนั ได้เทา่ ใด และค่าทอ่ี า่ นได้
ในแตล่ ะขอ้ ถกู ต้องหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด
12 3
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..………………………………
3. วิธีการในแต่ละขอ้ ต่อไปน้ี สามารถวดั ปรมิ าตรน้ำที่ต้องการไดแ้ ม่นหรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด หน้า32
ปรบั พ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ชั้น ม. 4
3.1 ตวงนำ้ โดยใช้กระบอกตวงขนาด 100 มิลลิลิตร ครงั้ ละ 100.00 มลิ ลิลติ ร 2 ครั้ง และ50.00
มลิ ลิลิตร 1 ครัง้ จะไดน้ ำ้ ปริมาตร 250.00 มิลลิลิตร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………….…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………..………………………………………………………………………………………………
3.2 ไขนำ้ จากบวิ เรตตท์ ่ีบรรจนุ ำ้ เร่ิมตน้ ทข่ี ดี บอกปริมาตรเลข 0 มาถึงขดี บอกปริมาตร เลข 20 จะได้
น้ำปริมาตร 20.00 มลิ ลลิ ิตร
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………..………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………..………………………………………………………………………………………………
3.3 เติมนำ้ ลงในขวดกำหนดปรมิ าตรขนาด 100 มลิ ลลิ ิตร ปรับให้พอดีกับขดี บอกปริมาตรเมือ่ เทน้ำ
ออกใส่บกี เกอร์จะไดน้ ้ำปรมิ าตร 100.00 มิลลิลิตรพอดี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…….……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………….………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………
…………
ปรับพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ชัน้ ม. 4 หน้า33
เอกสารประกอบการเรยี นปรบั พน้ื ฐานวิชาชวี วิทยา
เราจะศกึ ษาวิชาชีววทิ ยาอยา่ งไร
1. ความหมาย
มาจากรากศพั ท์ภาษากรีก
Biology = Bios (ชวี ิต) + Logos (หลักการ , เหตผุ ล , การเรยี น)
ชวี วทิ ยา(Biology) = เป็นศาสตร์หรอื วชิ าท่ศี กึ ษาส่ิงมีชวี ิต “Biology is studying in the living
things”
ชีววิทยาประกอบดว้ ยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร(์ Scientific methods) และองค์ความรู้(knowledge)
2. สงิ่ มีชวี ติ คอื อะไร? (What is life ?)
สง่ิ มีชีวิตต้องประกอบด้วยลกั ษณะและความตอ้ งการดงั ต่อไปนี้
- เพิม่ จำนวนได้(Reproduction) ท้งั แบบอนุภาค หรือเซลล์ อาจจะโดยการจำลองพันธุกรรมใน
- เซลลเ์ จา้ บ้าน(Host cell) หรอื การสบื พนั ธท์ุ ง้ั แบบอาศยั เพศและไมอ่ าศัยเพศ
- พลงั งาน(Energy use) มาใช้ในการขบั เคลอ่ื นกระบวนการ metabolism
- มีเมตาโบลิซึม(metabolism) เมตาโบลิซึม คอื ปฏิกิริยาทเ่ี กิดขนึ้ ในส่ิงมีชวี ิต โดยอาศยั เอนไซม์
เปน็ ตัวเรง่ ปฏิกิริยา ประกอบดว้ ยเมตาโบลิซึมชนิด Anabolism และ Catabolism
- มกี ารจดั ระบบระเบยี บการทำงานของเซลล์(Organization) จากหน่วยที่เลก็ สุดในรา่ งกายไปยงั
หน่วยทใ่ี หญส่ ุดในระดบั ส่ิงมชี วี ิต เซลล์ → เนือ้ เยอ่ื → อวยั วะ → ระบบอวยั วะ → ร่างกาย-
- สง่ิ มชี วี ิตต้องการทอี่ ยอู่ าศัย (Habitat use)
นอกจากน้แี ลว้ ยงั มีนิยามอนื่ อีกทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั สง่ิ มชี วี ติ เชน่ การเคลื่อนไหว การหายใจ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้า เปน็ ตน้
ขอบเขต ความสำคญั และความสัมพันธ์กับแขนงวชิ าอื่น
ชีววิทยา(Biology) แบ่งเปน็ 3 สาขา ไดแ้ ก่
สาขาสัตววทิ ยา(Zoology) ศกึ ษาส่ิงมชี ีวิตกลมุ่ โปรโตซัว และสง่ิ มีชีวติ อาณาจักรสัตว์
สาขาพฤกษศาสตร(์ Botany) ศกึ ษาสิ่งมชี ีวิตกลุ่มสาหรา่ ย และสิ่งมีชีวติ อาณาจกั รพืช
สาขาจุลชีววิทยา(Microbiology) ศึกษาส่ิงมีชีวติ อาณาจักรไวรา ,มอเนอรา , โปรติสตา และฟงั ไจ
ปรับพนื้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ชั้น ม. 4 หนา้ 34
ตัวอย่างวชิ าชีววิทยาท่ีเป็นศาสตรเ์ ฉพาะทาง
สาขาสัตววทิ ยา สาขาพฤกษศาสตร์ สาขาจลุ ชวี วทิ ยา
Anatomy (กายวิภาค) Plant anatomy(กายวิภาคพชื ) Microbiology(จุลชวี วทิ ยา)
Animal physiology(สรรี วทิ ยาสัตว)์ Plant physiology(สรีรวทิ ยาพชื ) Industrial microbiology(จุล
Morphology(สณั ฐานวทิ ยา) Plant morphology(สัณฐานวทิ ยาพืช) ชวี วิทยาอตุ สาหกรรม)
Embryology(คพั ภะวิทยา) Economic botany(พฤกษศาสตร์ Bacteriophysiology(สรรี วิทยา
Histology(มญิ ชวทิ ยา) เศรษฐกิจ) แบคทีเรยี )
Ethology(พฤติกรรมวทิ ยา)
Endocrinology(ต่อมไรท้ ่อวิทยา)
วิชาทีเ่ รียนรว่ มกันGenetics(พันธศุ าสตร์) Evolution(ววิ ัฒนาการ) Ecology(นิเวศวทิ ยา) Cell biology(ชีววทิ ยาเซลล์)
ตวั อย่างวชิ าชีววิทยาทีเ่ ปน็ ศาสตร์ด้านการจำแนก
สาขาสัตววิทยา สาขาพฤกษศาสตร์ สาขาจุลชวี วิทยา
Protozoology(โปรโตซัววทิ ยา) Plant taxonomy(อนกุ รมวธิ านพชื ) Virology(ไวรสั วทิ ยาหรอื
Parasitology(พยาธิวทิ ยา)
Malacology(สังขวิทยา- หอยและหมกึ ) Bryology(พชื ไม่มที ่อลำเลยี ง) วิสาวิทยา)
Entomology(กีฏวทิ ยา- แมลง)
Ichthyology(มนี วทิ ยา- ปลา) Vascular plant(พืชมีท่อลำเลียง) Bacrtiology(แบคทีเรียวทิ ยาหรอื
Herpetology(ศกึ ษาสัตว์คร่ึงบกครง่ึ นำ้ และ
Ethno botany(พฤกษศาสตรพ์ ้ืนบ้าน) บักเตรีวทิ ยา)
เลื้อยคลาน)
Omitology(ปักษีวทิ ยา- นก) Mycology(ราวทิ ยา)
Mammalogy(ศกึ ษาสัตว์เล้ียงลกู ดว้ ยนำ้ นม)
Phycology(สาหร่ายวทิ ยา)
3. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร(์ Scientific methods) หน้า35
ปรบั พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ช้นั ม. 4
3.1 การกำหนดปญั หา(Statement of the problems)
ปัญหามกั พบในคนช่างสังเกต ช่างซักถาม รอบรู้ ช่างคดิ อยากรูอ้ ยากเห็น มีเหตมุ ีผล ใจ
กว้างและไม่เช่ือใครงา่ ย ไอนส์ ไตน(์ Einstein) นักวทิ ยาศาสตรผ์ เู้ สนอทฤษฎีสัมพันธภาพ ได้กลา่ วไว้
วา่ “ การตั้งปญั หานน้ั สำคญั กว่าการแกป้ ัญหา” ฉะน้ันการตงั้ ปัญหาเปน็ ความก้าวหน้าของ
วิทยาศาสตรอ์ ยา่ งแท้จริง ลักษณะปัญหาท่ีตง้ั ขึ้นจะมีใหเ้ ลอื ก 2 ทาง คือ เปน็ ไปไดก้ บั เปน็ ไปไมไ่ ด้
ตวั อย่างเช่น
ปัญหา : แสงมีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพืชหรือไม่?
4.2 การตง้ั สมมติฐาน(Formulation of hypothesis)
สมมติฐาน(Hypothesis) เป็นคำอธบิ ายหรือ การคาดคะเนสง่ิ ท่ีจะเกิดขึน้ โดยยังไม่มกี ารมกี ารทดสอบ
ส่วนใหญ่สมมติฐาน จะมีการตง้ั ประโยคเป็น ถา้ .....(สาเหต)ุ ......ดังนนั้ .......(ผลที่เกิดขึ้น).....เช่น
ปญั หา : แสงมผี ลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื หรือไม่
สมมตฐิ าน : ถ้าแสงมผี ลต่อการเจรญิ เติบโตของพืช ดงั น้นั พืชทีไ่ ด้รบั แสงอยา่ งเพยี งพอจะมีการ
เจริญเติบโตสูง
4.3 การตรวจสอบสมมติฐาน(Test hypothesis)
- แบ่งกล่มุ ทดลองเปน็ 2 กล่มุ ไดแ้ ก่ กลมุ่ ควบคุม (กลุ่มทไี่ มไ่ ดร้ บั ปัจจยั อิสระ) และกลุ่มทดลอง
(กลมุ่ ทไ่ี ด้รบั ปัจจัยอสิ ระ)
- ปัจจยั ท่ีใช้ในการทดลองมี 3 ปจั จยั ได้แก่
1. ปจั จยั อิสระ(Independent variable) ปจั จยั ท่ีเป็นต้นเหตุของปญั หาทีใ่ หเ้ ฉพาะกลุม่ ทดลอง
เทา่ นัน้
2. ปจั จยั ตาม(Dependent variable) ปจั จัยที่ใช้ในการวดั สง่ิ ท่ีเกิดขึ้นจากปัจจัยอิสระ หรือ
ความแตกตา่ งท่ีเกิดข้นึ ส่วนใหญ่จะมหี นว่ ยวัดเป็น ความสูง(cm) และน้ำหนัก(g) เปน็ ต้น
3. ปัจจยั ควบคุม(Control variable) ปัจจยั ที่ให้ทัง้ กลุ่มควบคุมและกลุม่ ทดลองเท่าๆกนั เพอื่
ใช้เปน็ ตวั เปรียบเทยี บผลที่ได้ ปอ้ งกนั ความผิดพลาดและการคลาดเคลือ่ นของข้อมูล
ตวั อยา่ ง เชน่ แสงมีผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื หรือไม่
ปัจจยั อิสระ (Independent variable) คือ การใหแ้ สง(เปน็ กลุ่มทดลอง) กับ การไมใ่ ห้แสง
(เป็น
กลุม่ ควบคมุ )
ปรบั พื้นฐานวิทยาศาสตร์ชัน้ ม. 4 หนา้ 36
ปัจจัยอิสระ(Independent variable)เป็นการวัดการเจรญิ ในรูปความสูง จำนวนใบ นำ้ หนัก
แหง้ หรอื สด
ปัจจยั ควบคมุ (Control variable)คอื การใหน้ ้ำเท่ากัน ใชพ้ ืชชนดิ เดยี วกัน อายุเท่ากนั จำนวน
ต้นท่ที ดลอง เทา่ กนั ปลกู พื้นทเี่ ดียวกัน ใช้ดินท่ีปลกู คุณภาพเดียวกัน
4.4การแปลผลและการสรปุ ผล(Interpret and Conclusion) นำขอ้ มลู มาวเิ คราะห์ในรูปกราฟ
ตาราง และใช้สถติ วิ เิ คราะห์(Statistic for research)
5. ขอ้ มูลทางวทิ ยาศาสตร์
- ขอ้ เท็จจริง(Fact) คอื ส่งิ ท่ไี ดจ้ ากการสังเกต
- ขอ้ มลู (Data) คอื ส่ิงทีไ่ ดจ้ ากการทดลองโดยมีลกั ษณะการวางแผนท่ดี ใี นการทดลอง
- ข้อสรุปหรือบทสรปุ (Conclusion) ผลรวมหรอื การรวบยอดข้อมลู ต่าง ๆ ท่มี ีให้เป็นประเด็นสำคญั ทีส่ ดุ
- ทฤษฎี(Theory) คือข้อมูลท่ไี ด้ผา่ นกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์หลายครง้ั หลายครา จนเป็นทย่ี อมรับ
เช่น ทฤษฎกี ารเกิดเซลล์ยูคาริโอต(Endosymbiosis theory) ทฤษฎีของเซลล์( Cell theory) เปน็ ต้น
- กฎ(Law) คอื หลกั การความเป็นจริงทุกยคุ ทุกสมยั หรือเปน็ ไปตามธรรมชาติ มกี ารแสดงเหตุผลท่ี
สมบรู ณ์ และยอมรบั กันโดยทัว่ ไป เชน่ กฎการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมของเมนเดล (Mendelian Law)
กฎการคัดเลอื กโดยธรรมชาต(ิ Natural selection) ของ Charles Darwin เปน็ ตน้
ปรบั พื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ชน้ั ม. 4 หนา้ 37