The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สาระสำคัญหนังสือพระราชนิพนธ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by narumon jaika, 2019-11-24 21:40:21

สาระสำคัญหนังสือพระราชนิพนธ์

สาระสำคัญหนังสือพระราชนิพนธ์

สาระสาคัญหนงั สอื พระราชนิพนธ์
ในสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี
(สมเดจ็ พระกนิษฐาธริ าชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร)ี

สารบญั

เรอ่ื ง หน้า

ข้ามฝั่งแห่งฝนั 1
ข้าวไทยไปญ่ีปุ่น 2
คนื ถิน่ จีนใหญ่ 3
เจียงหนานแสนงาม 4
ชมช่อมาลตี 5
แดรก๊ คลู า่ ผู้น่ารกั 6
ต้นน้า ภูผา และปา่ ทราย 7
ใตเ้ มฆทีเ่ มฆใต้ 8
ทัศนะจากอินเดยี 9
ไทยเทย่ี วพมา่ 10
เบอรล์ ินส้ินก้าแพง 11
ประพาสภาษา 12
ประพาสราชสถาน 13
ประพาสอุทยาน 14
ฟืน้ ภาษา ได้อาหาร 15
มนตร์ ักทะเลใต้ 16
มว่ นซ่นื เมอื งลาว 17
มหศั จรรยท์ ุกวัน 18
มุ่งไกลในรอยทราย 19
เมอื่ ขา้ พเจา้ เป็นนักเรยี นนอก 20
ยา้่ แดนมงั กร 21
เย็นสบายชายนา้ 22
เยอื นถนิ่ จนี โพน้ ทะเล 23
เยือนถนิ่ อนิ เดียนแดง 24
รอยย้ิมหมขี าว 25
โรมันสญั จร 26
ลดั ฟา้ ลา่ วชิ าหาอาจารย์ 27
ลาวใกล้บ้าน 28
ลาวตอนใต้ 29
ลาวเหนือเม่ือปลายหนาว 30
ลุยป่าฝ่าฝน 31
เลา่ เร่ืองเมอื งฝรงั่ 32

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า

สวนสมุทร 33
สงิ คโปร์สญั จร 34
หวงเหออ่อู ารยธรรม 35
อนมั สยามมิตร 36
แอนตาร์กตกิ า : หนาวหนา้ รอ้ น 37
“ไอรกั ” คอื อะไร? 38

1

ขา้ มฝง่ั แหง่ ฝนั

การเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนประเทศอังกฤษ ระหวา่ งวนั ที่ 4 ถงึ วันที่10 กรกฎาคม
พ.ศ. 2538 และเสด็จพระราชดาเนินทรงเปิดงานสาคัญ 2 งาน คือ งานด้านดนตรีไทย
ศึกษาที่ SOAS มหาวิทยาลัยลอนดอน และนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 9 ในวโรกาสฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ที่ ROYAL GEOGRAPHICAL
SOCIETY นอกจากนี้เสด็จพระราชดาเนินไปยังสถานที่สาคัญอ่ืน ๆ อาทิ สวนพฤกษศาสตร์คิว
พิพธิ ภณั ฑ์ประวตั ิศาสตร์ธรรมชาติ พิพิธภณั ฑ์ดนตรี พระราชวงั วนิ ดเ์ ซอร์ ฯลฯ

2

ข้าวไทยไปญป่ี นุ่

การเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนประเทศญป่ี ุน่ ตามคาเชิญของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ
เพ่ือทรงร่วมงาน JAPAN-IRRI DAY ที่นครโตเกียวและทรงบรรยายพิเศษเร่ืองข้าวไทยโดย
ทรงบรรยายถงึ ประวตั ขิ า้ วไทยต้ังแต่สมัยโบราณความสาคัญของข้าวต่อเศรษฐกิจของประเทศ
พระราชกรณียกิจด้านการเกษตรของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
รัชกาลท่ี 9 วิถีชีวิต ประเพณี และวัฒนธรรมต่าง ๆ ของไทยท่ีเกี่ยวข้องกับข้าว การบรรยาย
คร้งั นีท้ าใหข้ า้ วไทยเปน็ ทน่ี ่าสนใจและเปน็ ผลดีตอ่ การสง่ ออกข้าวของประเทศไทย

3

คนื ถน่ิ จนี ใหญ่

การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนสาธารณรฐั ประชาชนจีน ระหวา่ งวันท่ี 25 มิถุนายน ถึง
วันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 ทรงร่วมพิธีส่งมอบฮ่องกงกลับคืนเป็นของจีนพิธีประกาศตั้ง
คณะผู้บริหารเขตบริหารพิเศษฮ่องกง พิธีเฉลิมฉลองและงานเล้ียงรับรองในโอกาสก่อต้ัง
เขตบริหารพิเศษฮ่องกง ทรงเยือนสถานที่ ต่าง ๆ ในมณฑลกวางตุ้ง อาทิ เมืองซัวเถา
เมืองแต้จิ๋ว ซ่ึงเป็นแผ่นดินบรรพบุรุษของคนไทยท่ีมีเช้ือสายจีนจานวนมาก และได้เสด็จ
พระราชดาเนินไปทอดพระเนตรสถานที่ต่าง ๆ ในเมืองอ่ืนที่สาคัญ อาทิ กวางโจว เส่ินเจิ้น
มาเกา๊ จงซาน จไู ห่ ฯลฯ

4

เจยี งหนานแสนงาม

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันท่ี 2 ถึง วันท่ี14
เมษายน พ.ศ. 2542 ในการเสด็จพระราชดาเนินครั้งน้ีทรงเยือนปักกิ่ง 4 วัน เจียงหนาน 7 วัน
คุนหมิง 2 วัน ได้ทอดพระเนตรเร่ืองราวต่าง ๆ ของแต่ละเมือง ทั้งด้านประวัติศาสตร์
ศิลปวัฒนธรรม การศึกษา ภาษา ศาสนา อุตสาหกรรม ฯลฯ ทรงเยือนสวนสาธารณะและ
แหล่งท่องเทีย่ วธรรมชาตทิ ี่ผสมกลมกลนื กับแหล่งอารยธรรมของจีนศิลปวัตถุโบราณของพิพิธภัณฑ์
ตา่ ง ๆ ทรงพระราชนพิ นธ์ถอดความบทกวนี ิพนธข์ องจีนบางชว่ งบางตอน เป็นบทพรรณนาร้อยแก้ว
อย่างมีวรรณศิลป์ ประกอบการเล่าเร่ืองในหนังสือ เช่น “ยอดหมู่บ้านกลางน้าแห่งเจียงหนาน”
ตั้งอยู่ในทางตอนใต้ของมณฑลเจียงซู่ในเขตเมือง คุนซาน เสมือนหนึ่งดอกบัวลอยอยู่บนผิวน้า
มีลาคลองสองสายไหลจากตะวันตกถึงตะวันออก และทิศเหนือถึงทิศใต้ ถนนหนทางและบ้านเรือน
พอเหมาะพอเจาะ สะท้อนภาพเขียนและกลอนของจีนในสมัยโบราณท่ีเขียนไว้ว่า “สะพานเล็ก
ลาคลอง และบ้านเรอื นแม้ดเู รียบง่ายแต่เต็มไปด้วยลลี า” เปน็ ต้น

5

ชมชอ่ มาลตี

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศอินโดนีเซียและออสเตรเลียตั้งแต่วันท่ี 2 ถึง
วันท่ี 16 ตุลาคม พ.ศ. 2527 ทรงเล่าเร่ืองวัฒนธรรมของประเทศอินโดนีเซีย โดยสอดแทรก
อารมณ์และความรู้สึกท่ีมีต่อวัฒนธรรมอันงดงาม ทรงเปรียบวัฒนธรรมที่งดงามน้ีเป็นดังเช่น
ดอกไม้ทรงตั้งช่ือพระราชนิพนธ์เล่มน้ีว่า “ชมช่อมาลตี” เพื่อหมายถึงดอกไม้ประจาชาติของ
ประเทศอินโดนเี ซีย

6

แดร๊กคลู ่า ผู้นา่ รกั

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนกลุ่มประเทศในทวีปยุโรป คือ โรมาเนีย สาธารณรัฐ
ฮังการี สาธารณรัฐออสเตรีย เบลเยียม และสวิตเซอร์แลนด์ ระหว่างวันที่ 13 ถึง วันท่ี 15
มีนาคม พ.ศ. 2537 เสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรสถานที่สาคัญ ๆ เช่น วัดโวโรเนต
วัดโมลโดวิตา พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ เมืองซูจาว่า เป็นต้น มีเน้ือหากล่าวถึงประวัติศาสตร์
ภมู ิศาสตร์ สถาปตั ยกรรม การศกึ ษา และสภาพบา้ นเมอื งท่สี วยงามนา่ สนใจ

7

ต้นน้า ภูผา และป่าทราย

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 13 ถึง วันท่ี
27 สิงหาคม พ.ศ. 2544 ทอดพระเนตร 3 พื้นท่ีสาคัญ ได้แก่ มณฑลชิงไห่ เขตปกครอง
ตนเอง หนิงเซ่ีย เขตปกครองตนเองทิเบต มหานครปักก่ิง และมณฑล เหอเป่ย ในพระ
ราชนิพนธ์ทรงกล่าวว่า “...พื้นท่ีทั้ง 3 แห่งท่ีเป็นจุดหลักของการไปเยี่ยมเยือนคร้ังนี้ มี
ลักษณะทางภมู ิศาสตร์ท่ีโดดเด่นเรอ่ื งภเู ขาและทร่ี าบสงู ทรี่ าบสงู ชิงไห่ – ทิเบตอยู่เหนือกว่า
ระดับน้าทะเล 4,000 – 5,000 เมตร มีพ้ืนที่ประมาณ 2.3 ล้านตารางกิโลเมตร เป็นท่ีราบ
สูงที่สูงท่ีสุดในโลก จนได้สมญาว่า “หลังคาโลก” นอกจากนั้น ยังมีพื้นท่ีทะเลทราย
มีป่าทราย และโอเอซิสเขียวขจีในบางแห่ง ส่วนท่ีหนิงเซ่ียน้ันมีที่ราบสูงดินเหลืองพื้นท่ี
ดงั กลา่ วจงึ เปน็ ดินแดนแห่งสสี ันทางวัฒนธรรมที่นา่ สนใจ

8

ใต้เมฆทีเ่ มฆใต้

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนมณฑลยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันท่ี
27 กุมภาพันธ์ ถึง วันท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2538 เสด็จพระราชดาเนินไปยังมณฑลยูนนาน ซึ่งมี
ความหมายว่า “เมฆใต”้ มีประชากรหลากหลายเชื้อชาติอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นจานวนมาก และ
ทอดพระเนตรสถานที่ท่องเท่ียวต่าง ๆ ทรงเย่ียมสถาบันวิชาการท่ีน่าสนใจ อาทิ พิพิธภัณฑ์
ยูนนาน โรงงานผลิตยานครคุณหมิง มหาวิทยาลัยยูนนาน สวนพฤกษศาสตร์สมุนไพร
สวนพฤกษศาสตร์เขตรอ้ นสิบสองปันนา ฯลฯ ซง่ึ เป็นแหล่งรวบรวมความรทู้ ส่ี าคัญยิ่ง

9

ทัศนะจากอนิ เดยี

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนอินเดีย ระหว่างวันที่ 10 ถึง วันท่ี 28 มีนาคม พ.ศ.
2530 ทรงเยือนเมืองสาคัญต่าง ๆ ของอินเดีย ตั้งแต่นครกัลกัตตา เมืองโครักขปุระ
ปัตนะ พาราณสี ศรีนาคาร์ และกรุงเดลี ทอดพระเนตรสถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์
โบราณคดี ศาสนา และศิลปวัฒนธรรมหลายแห่ง อาทิ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
กัลกัตตาเจดีย์ และสถูปในสาลวโนทยาน (สถานท่ีปรินิพพาน) ที่กุสินารามหาวิทยาลัย
นาลันทา มกุฏพันธนเจดีย์ (สถานท่ีถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ) พิพิธภัณฑ์นาลันทา
วดั ไทยนาลนั ทา ฯลฯ

10

ไทยเทย่ี วพม่า

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมสหภาพพม่า หรือสหภาพพม่า
ในปัจจุบัน เม่ือวันท่ี 21 ถึง วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2529 ตามคากราบทูลเชิญของท่าน
อู เนวิน ประธานพรรคโครงการสังคมนิยมพม่าในขณะนั้น ซ่ึงเป็นการเสด็จ พระราชดาเนิน
เยือนประเทศพม่าเป็นคร้ังแรกของพระองค์ เน้ือหาส่วนใหญ่ทรงเล่าถึงสภาพบ้านเมือง
ภูมิประเทศ ความเป็นอยู่ โบราณวัตถุ โบราณสถานที่งดงามและทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์
วฒั นธรรม การพฒั นาประเทศ ฯลฯ สอดแทรกสาระนา่ รูพ้ รอ้ มภาพประกอบจานวนมาก

11

เบอรล์ ินส้นิ กาแพง

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างวันท่ี 21 ถึง วันท่ี 24
พฤษภาคม พ.ศ. 2538 ซึ่งมีพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญ คือ การเสด็จพระราชดาเนิน
ทรงเปิดนิทรรศการฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ณ Kurzentrum นครแฟรงก์เฟิร์ต ซ่ึงเป็น
การจัดนิทรรศการคร้ังแรกในทวีปยุโรป และทรงเข้าร่วมในการประชุมวิชการแผนท่ีเยอรมัน
ทรงพบประธานาธิบดี (Prof. Dr. Roman Herzog) แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน
ที่นครเบอร์ลิน ทอดพระเนตรสถานที่สาคัญหลายแห่ง เช่น พิพิธภัณฑ์ศิลปะและหัตถกรรม
สถาบันนาวิกศาสตร์ทางทะเลและอุทกศาสตร์ พิพิธภัณฑ์โนลเด อุทยานแห่งชาติ
Hamburger Hallig เบอรล์ นิ ตะวนั ออก เป็นต้น

12

ประพาสภาษา

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ระหว่างวันท่ี 19
กุมภาพันธ์ ถึง วันท่ี 20 มีนาคม พ.ศ. 2545 เพ่ือทรงศึกษาภาษาเยอรมันท่ีเมือง เกิตติงเงน
ทรงร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆ หลายแหง่ นอกจากเรื่องทรงพระอักษรยังได้ทอดพระเนตรเรื่องศิลปะ
และวัฒนธรรมวิชาการ เทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนสถานที่สาคัญ ๆ ในเมืองต่าง ๆ อาทิ
ห้องสมดุ รฐั สภา ประสาทเก่า มหาวิทยาลยั พิพธิ ภณั ฑ์ โรงงานทาตกุ๊ ตา ฯลฯ

13

ประพาสราชสถาน

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนกรุงนิวเดลีและรัฐราชสถาน ระหว่างวันที่ 2 ถึง วันที่
12 เมษายน พ.ศ. 2544 รัฐราชสถาน (Rajasthan) เป็นรัฐทางตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย
และมีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของอินเดีย รองจากรัฐมัธยประเทศ เมืองหลวง คือ ชัยปูร
(Jaipur) ทรงบันทึกเกร็ดประวัติศาสตร์อารยธรรมอันเก่าแก่ ความงดงามทางสถาปัตยกรรม
ประติมากรรม อาคารโบราณสถานท่ีสาคัญต่าง ๆ ท้ังพิพิธภัณฑ์เมือง และพิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติอินเดีย วัด วัง และอนุสรณ์สถาน และโบราณสถานและโบราณวัตถุอันงดงามของ
อนิ เดีย

14

ประพาสอทุ ยาน

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศอังกฤษ สก็อตแลนด์และสวิตเซอร์แลนด์
ระหว่างวันท่ี 4 ถึง วันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 โดยรัฐบาลอังกฤษเป็นเจ้าภาพ
ทอดพระเนตรสวนพฤกษศาสตร์หลายแห่ง ท้ังในอังกฤษ สก็อตแลนด์ และทัศนียภาพ
ทางธรรมชาติท่ีงดงาม ทรงสอดแทรกเกร็ดความรู้เก่ียวกับพรรณไม้ธรรมชาติไว้อย่างน่าสนใจ
พร้อมทั้งภาพประกอบท่ีสวยงามเป็นจานวนมาก นอกจากผู้อ่านจะได้รับความเพลิดเพลิน
และสาระความรู้ด้านพฤกษศาสตร์แล้วยังได้เรียนรู้คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ในบริบทด้าน
พฤกษศาสตร์อยา่ งครบถ้วนชัดเจน

15

ฟื้นภาษา ได้อาหาร

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศฝร่ังเศส เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ด้านภาษาฝร่ังเศส
ณ สถาบันภาษาตูแรน ที่เมืองตูร์ ประเทศฝรั่งเศส ระหว่างวันท่ี 14 ถึง วันท่ี 30 สิงหาคม
พ.ศ. 2550 หลังจากทรงสาเร็จการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยแล้ว โอกาส ท่ีจะได้ใช้ภาษา
ฝรั่งเศสนั้นน้อยลง จึงทรงศึกษาภาษาฝรั่งเศสเพ่ิมเติม และได้เสด็จ พระราชดาเนินเยือน
สถานท่ีสาคญั ต่าง ๆ ของประเทศฝรั่งเศส อาทิ โรงพยาบาลเด็ก ท่ีเมืองตูร์ บ้านรับรองพิเศษ
สาหรบั คนพิการทางสมอง เล แอะส์ วฟิ ส์ และปราสาทหลวงแห่งเมอื งอองบวช ฯลฯ

16

มนต์รักทะเลใต้

การเสด็จพระราชดาเนนิ เยือนหม่เู กาะทะเลใต้ ระหวา่ งวันท่ี 15 ถึง วันท่ี 25 เมษายน
พ.ศ. 2539 เริ่มจากสิงคโปร์สู่ปาปัวนิวกินีราชอาณาจักรตองกา หมู่เกาะคุก สาธารณรัฐฟิจิ
และหมู่เกาะโซโลมอน เสด็จพระราชดาเนินไปยังสถานที่สาคัญ ๆ เช่น Night Safari
สวนพฤกษศาสตร์สิงคโปร์ รัฐสภา พิพิธภัณฑ์ สวนพฤกษศาสตร์หมู่บ้านบาราเกา
ในปาปัวนิวกินี ฯลฯ ได้ทอดพระเนตรศูนย์วัฒนธรรมของตองกา Tonga National Centre
สถานีทดลองกระทรวงเกษตรและป่าไม้ของตองกา เกาะคุก ฯลฯ และเสด็จพระราชดาเนิน
ไปยงั พิพิธภัณฑฟ์ ิจิ มหาวทิ ยาลยั แปซิฟิกใต้ สถานท่ี ตา่ ง ๆ ของหมู่เกาะโซโลมอน เป็นตน้

17

มว่ นซน่ื เมืองลาว

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 4 ครั้ง
คร้ังแรกเพื่อทอดพระเนตรเมืองปากเซ เม่ือวันท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2535 คร้ังท่ี 2
ทรงประกอบพิธีถวายผ้าพระกฐินท่ีเวียงจันทร์และทอดพระเนตรกิจการและสถานที่ต่าง ๆ
ที่แขวงเชียงขวาง แขวงหลวงพระบาง แขวงพงสาลี ระหว่างวันท่ี 16 ถึง วันที่ 19 ตุลาคม
พ.ศ. 2535 ครงั้ ท่ี 3 ตามเสด็จสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ในขณะน้ัน)
ไปทรงร่วมพิธีฌาปนกิจศพท่านไกสอน พมวิหาน อดีตประธานประเทศ เมื่อวันที่ 27
พฤศจิกายน พ.ศ. 2535 และครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 9 ถึง วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536
เพ่ือทรงประกอบพิธีถวายผ้าพระกฐินและทอดพระเนตรกิจการและสถานท่ีต่าง ๆ ในแขวง
เวยี งจันทร์ หลวงพระบาง บอลิคาไซ และคาม่วน

18

มหัศจรรยท์ ุกวัน

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ของประเทศอินเดีย
ระหว่างวนั ท่ี 19 ถึง วันที่ 25 ธนั วาคม พ.ศ. 2539 โดยเรือหลวงสิมิลนั จากท่าเรือจังหวัดภูเก็ต
ไปยังหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ประเทศอินเดีย เสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตร
สถานที่ต่าง ๆ อาทิ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ Cellular Jail, Sippighat Farm, เกาะ Ross,
Mayabunder, เกาอันดามันเหนือ, ป่าชายเลนตามเกาะต่าง ๆ , พิพิธภัณฑ์ Samudrika,
พิพิธภัณฑ์มานุษยวิทยา, เกาะ Great Nicobar, Indira Point ซึ่งเป็นจุดใต้สุดของ
เกาะอันดามันและนิโคบาร์ ฯลฯ ท้ายเล่มมีภาคผนวก คาอธิบายเกี่ยวกับหมู่เกาะอันดามัน
และนิโคบารจ์ ากพพิ ธิ ภณั ฑ์ Samudrika เมอื ง Port Blair

19

มุ่งไกลในรอยทราย

ก า ร เ ส ด็ จ พ ร ะ ร า ช ด า เ นิ น เ ยื อ น ส า ธ า ร ณ รั ฐ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ป ร ะ ช า ช น จี น
อย่างเป็นทางการ คร้ังท่ี 2 ตามเส้นทางสายแพรไหมหรือทางภาคตะวันตกของจีน ระหว่าง
วันที่ 7 ถึง วันท่ี 21 เมษายน พ.ศ. 2533 เส้นทางสายแพรไหม (Silk Road) เป็นเส้นทาง
การค้าระหว่างประเทศยุคก่อนซ่ึงดาเนินการโดยกองคาราวานติดต่อการค้าระหว่างจีน
กับแคว้นต่าง ๆ ในเอเชียและยุโรป รวมทั้งแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่น่าสนใจ ต่อการศึกษา
ค้นคว้าและการท่องเทยี่ ว มีภาพประกอบสีส่ สี วยงาม ภาพวาดฝีพระหัตถ์ และภาพการ์ตูนทา
ให้หนงั สอื นา่ อา่ นยิง่ ขนึ้

20

เมอื่ ข้าพเจ้าเป็นนกั เรียนนอก

การเสด็จพระราชดาเนินทรงศึกษาภาษาจีน ณ มหาวิทยาลัยปักก่ิง กรุงปักก่ิง
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 15 มีนาคม
พ.ศ. 2544 ในคานาทรงเลา่ ถึงการเสด็จพระราชดาเนนิ ไปทรงศึกษาในครั้งน้ีว่า “ข้าพเจ้าเรียน
ภาษาจีนมา 20 ปีแล้ว แต่ความรู้ยังไม่ก้าวหน้าเท่าท่ีควรทั้ง ๆ ที่สถานทูตจีนจัดครูมาสอน
เป็นประจา จึงเกิดความคิดว่าถ้าข้าพเจ้าได้มาอยู่ในแวดวงคนจีนเรียนภาษาจีนอย่างเดียว
ไม่ต้องทางานอ่ืนสักพักหนึ่งน่าจะดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ว่าระยะหลัง ๆ นี้ การงานที่เมืองไทย
ค่อนข้างมาก จะปลีกตัวมาได้นานสักเท่าไหร่ เม่ือ 3 ปีก่อนเคยไปสหรัฐอเมริกาเดือนหน่ึง
จงึ คดิ วา่ น่าจะอยู่จนี ได้เหมือนกัน ได้ไปลองปรึกษากับใคร ๆ ที่เมืองจีน ท้ังทางมหาวิทยาลัย
และคนอ่ืน ทกุ คนตา่ งเหน็ ดดี ว้ ย...”

21

ย่าแดนมังกร

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน อย่างเป็นทางการ ครั้งแรก
ระหว่างวันท่ี 12 ถึง วันท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 ตามคากราบบังคมทูลเชิญ
ของนายกรัฐมนตรี จ้าวจ่ือหยาง ทรงเสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรกิจการ ต่าง ๆ และ
ทรงมีพระราชดาริว่า สิ่งที่ได้ทอดพระเนตรน้ัน ถ้าได้ถ่ายทอดให้ชาวไทยได้รับรู้จะเป็น
ประโยชน์อย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ จึงได้ทรงพระวิริยะอุตสาหะบันทึกการเสด็จ
พระราชดาเนนิ ครงั้ น้ี ท้ายเลม่ มีหมายกาหนดการโดยละเอียด พระราชดารัส 3 องค์ คัดสาเนา
พร้อมด้วยสุนทรพจน์ ฯพณฯ จ้าวจื่อหยาง, ฯพณฯ หยู่หมิงเทา, ฯพณฯ หลิวหมิงฮุย ตีพิมพ์
ในหนงั สือ

22

เยน็ สบายชายน้า

การเสด็จพระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันท่ี 14 ถึง วันท่ี 27
สงิ หาคม พ.ศ. 2539 เรมิ่ จากคุณหมงิ ถงึ ฉงชงิ่ แล้วประทับเรือพระที่น่ังล่องไปตามแม่น้าแยงซี
ทอดพระเนตรโครงการสร้างเข่ือนท่ีใหญ่ที่สุดในโลก และทรงเยือนสถานท่ีสาคัญต่าง ๆ อาทิ
ศูนย์แสดงสินค้านานาชาตินครคุนหมิง สะพานข้ามแม่น้า แงเจียง นครฉงชิ่ง พิพิธภัณฑ์
ศิลปะถ้า อนุสรณ์สถาน หมู่บ้านจิตรกร สวนเอ๋อหล่ิงหยวน โครงการเข่ือนซานเสีย
ชมพิพิธภัณฑ์ปักธงสามสี หอนกกระเรียนเหลือง พิพิธภัณฑ์แห่งชาติหูเป่ย มหาวิยาลัยภาษา
และวัฒนธรรมปกั กง่ิ มหานครเซ่ยี งไฮ้ พพิ ธิ ภณั ฑ์หลู่ซนุ ฯลฯ

23

เยือนถ่ินจนี โพน้ ทะเล

การเสด็จพระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 14 ถึง วันที่ 23
ตุลาคม พ.ศ. 2545 ทอดพระเนตร 4 พื้นท่ีสาคัญ ได้แก่ เมืองปักกิ่ง เมืองฝูโจวในมณฑล
ฝูเจี้ยนหรือฮกเก้ียน เมืองเซี่ยเหมินมณฑลไห่หนานหรือไหหลา และเมือง ก่วงโจวหรือ
กวางโจวในมณฑลกวางตุ้ง เนื้อหากล่าวถึงสภาพภูมิศาสตร์ ธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมพ้ืนถิ่น
โบราณสถาน ศาสนสถาน พิพิธภัณฑก์ ารศึกษา สภาพเศรษฐกิจ และสถานท่ีสาคัญอ่ืน ๆ

24

เยือนถ่ินอนิ เดยี นแดง

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา ระหว่างวันที่ 6 ถึง วันท่ี 19
พฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ทรงบนั ทึกการเสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรกิจการและสถานท่ี
ตา่ ง ๆ ในกรุงวอชิงตนั ดี.ซ.ี มลรัฐต่าง ๆ อาทิ แมรี่แลนด์ เวอร์จิเนีย แมสซาซูเสตส์ แอริโซนา
แคลิฟอร์เนีย ฮาวาย เป็นต้น จากการที่รงพระวิริยะอุตสาหะรวบรวมสาระและเกร็ดความรู้
ด้านต่าง ๆ เก่ียวกับประเทศนี้ ซ่ึงเป็นดินแดนแห่งประวัติศาสตร์ที่เป็นแหล่งรวมสรรพวิทยา
และเทคโนโลยีอันทันสมัย จนได้ชื่อว่าเป็นประเทศมหาอานาจท่ีสาคัญของโลก
ทรงพระราชนิพนธ์เรื่องราวมากมายไว้ในหนังสือเล่มนี้ เพ่ือสารประโยชน์และความรู้ต่างๆ
ท่ีนา่ สนใจและทรงคณุ คา่

25

รอยย้มิ หมีขาว

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสหพันธรัฐรัสเซีย ระหว่าง วันที่ 13 ถึง วันที่ 24
มีนาคม พ.ศ. 2536 ตามคาเชิญของรัฐสภารัสเซียในนามของ สหพันธรัฐรัสเซีย ประเทศน้ี
เคยได้รับสมญานามว่าเป็น “ดินแดนหลัง ม่านเหล็ก” และเป็นประเทศมหาอานาจท่ีสาคัญ
ของโลกประเทศหนึ่ง ที่มีพื้นท่ีกว้างใหญ่ไพศาลครอบคลุมดินแดน ทั้ งด้านตะวันตก
และ ตะวันออกของโลก จึงทาให้สหพันธรัฐรัสเซียกลายเป็นศูนย์รวมของวัฒนธรรมท้ังของ
ตะวันตกและตะวนั ออกท่เี ต็มไปดว้ ยความหลากหลาย ทางด้านศลิ ปวัฒนธรรม

26

โรมันสญั จร

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 3 ถึง วันท่ี 16 เมษายน
พ.ศ. 2531 ทรงร่วมเป็นคณะกรรมการหนังสือสาหรับเยาวชน ระหว่างประเทศหรือ IBBY
ณ ประเทศอิตาลี เพ่ือคัดเลือกผู้ที่สมควรได้รับรางวัล ฮันส์ คริสเตียน แอนเดอร์สัน ซึ่งเป็น
รางวัลระดับนานาชาติ สาหรับผู้แต่งและผู้เขียนภาพประกอบหนังสือสาหรับเด็กและเยาวชน
ยอดเย่ียม นอกจากทรงเขา้ รว่ มการประชุมตดั สินหนงั สอื เดก็ ของ IBBY ได้เสด็จพระราชดาเนิน
ไปในเมืองต่าง ๆ เช่น โบโลญญา เวนิส ปีซ่าฟลอเรนซ์ เนเปิล เป็นต้น และเสด็จ
พระราชดาเนินไปเฝ้าพระสันตะปาปา ที่นครวาติกนั

27

ลัดฟา้ ล่าวชิ าหาอาจารย์

การเสดจ็ พระราชดาเนนิ เยือนประเทศอังกฤษ ฝรงั่ เศส เบลเย่ยี ม และสวิตเซอร์แลนด์
ระหว่างวันท่ี 8 ถึง วันท่ี 30 มกราคม พ.ศ. 2534 เน้ือหากล่าวถึงการเดินทางไปทรงศึกษา
ประวัติศาสตร์หลักสูตรนั้น ๆ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปยังสถาน ที่ต่าง ๆ อาทิ ร้านหนังสือ
พิพิธภัณฑ์สถาบันการศึกษา ห้องสมุดที่จัดเก็บหนังสือเก่า ห้องสมุด วิทยาศาสตร์
แหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี ฯลฯ

28

ลาวใกล้บา้ น

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่
28 ตุลาคม ถงึ วันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรกิจการและ
สถานท่ตี า่ ง ๆ เช่น เวยี งจันทน์ แขวงไซยะบุลี เขตพิเศษ เซียงฮ่อนหงสา แขวงบ่อแก้ว เป็น
ต้น และเสด็จพระราชดาเนินไปทรงประกอบพิธีทอดผ้าพระกฐิน ณ วัดจอมเขามณีรัตน์
ทอดพระเนตรโครงการศูนย์พัฒนาและบริการด้านเกษตร หลัก 22 ซึ่งเป็นโครงการตาม
พระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ท่ีพระราชทานแก่รัฐบาล
และประชาชนลาว

29

ลาวตอนใต้

การเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ระหว่างวันท่ี 8
ถงึ วันท่ี 11 เมษายน พ.ศ. 2539 เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรกิจการและสถานท่ีต่าง ๆ
ในเมืองปากเซ แขวงจาปาสัก แขวงเซกอง และทอดพระเนตรการดาเนินงานในมหาวิทยาลัย
แห่งชาติ โรงเรียนต่าง ๆ ห้องสมุด โรงพยาบาล โครงการศูนย์พัฒนาและการบริการ
ด้านการเกษตรตามพระราชดาริ พร้อมทั้งพระราชทานส่ิงของ หนังสือ พระราชทานทรัพย์
เพ่ือช่วยบรรเทาปัญหาของชาวบ้าน ซ่ึงทรงมีข้อวินิจฉัยถึงปัญหาและแนวทางพัฒนาในเร่ือง
ต่าง ๆ นอกจากนี้ได้ทอดพระเนตรสถานที่สาคัญทางธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนวิถี
ชวี ติ ความเปน็ อย่ขู องประชาชนลาว ในเมอื งต่าง ๆ

30

ลาวเหนือเม่ือปลายหนาว

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ระหว่างวันที่
21 ถึง วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2540 เสด็จพระราชดาเนินทอดพระเนตรโครงการตาม
พระราชดาริ สถานศึกษา และสถานที่สาคัญต่าง ๆ ในแขวงอุดมไซ แขวงหลวงน้าทา
และเมืองสิง อาทิ หอคา น้าตกตาดซอน ศูนย์พัฒนาและบริการด้านการเกษตรห้วยซอน –
ห้วยชั้ว โรงเรียนวัฒนธรรมเด็กกาพร้า หลัก 67 พระธาตุหลักเมือง วัดแซกดาการผลิตเกลือ
สินเธาว์ บ่อน้าร้อน โรงเรียนอุดมของแขวงอุดมไซ ด่านบ่อเต็น บ่อหาน วัดหลวงเซียงไจ
เรือนพระยาเซกอง ฯลฯ ทรงติดตามโครงการความร่วมมือไทย – ลาว เช่น การตั้งกองทุน
สนับสนุนในด้านการพยาบาลสาธารณสุข การศึกษา อาหารโรงเรียน การส่งเสริมอาชีพของ
เกษตรกร ฯลฯ

31

ลยุ ปา่ ฝ่าฝน

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนกรุงกัวลาลัมเปอร์ และรัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย
ระหวา่ งวนั ท่ี 11 ถงึ วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2537 ทรงเข้าเฝ้าสมเด็จพระราชาธิบดี และพระ
ราชินีแห่งมาเลเซีย และทรงพบผู้นารัฐบาลมาเลเซีย และเสด็จพระราชดาเนินไปยังเมืองคูชิง
และเมืองมิริในรัฐซาราวัก เพื่อทอดพระเนตรและทรง ทัศนศึกษาสถานท่ีสาคัญทางธรรมชาติ
และพฤกษศาสตร์ เช่น สวนเกษตรท่ีใหญ่ท่ีสุด พิพิธภัณฑ์ของป่าไม้ ชนิดของป่าไม้ เช่น
ป่าชายเลน ป่าพรุ ป่าหินปูน ป่าดิบเขา ป่าไม้ยาง ป่าริมแม่น้า ฯลฯ ถ้าหินงอกหินย้อย
เป็นต้น

32

เลา่ เรอ่ื งเมืองฝรง่ั

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเล่าถึงการเสด็จ
พระราชดาเนนิ เยอื นสาธารณรฐั ฝรั่งเศสคร้ังแรก ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2523 ตามคา
กราบบงั คมทูลเชญิ ของรัฐบาลฝร่ังเศส เสดจ็ พระราชดาเนินพร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ
เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ได้ทอดพระเนตรสถานท่ีสาคัญต่าง ๆ
อาทิ โมบิลิเย นาซิอองนาล สภากาชาดของฝร่ังเศส พิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ ซองตร์ ซีอองดฟิก
โรงงานผลติ รถยนต์เรอโนลต์ และพระราชวงั แวรช์ ายส์ ฯลฯ

33

สวนสมทุ ร

การเสดจ็ พระราชดาเนินเยือนประเทศฝร่ังเศส ระหว่างวันท่ี 28 มิถุนายน ถึง วันที่ 4
กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ครั้งนี้พระองค์ได้เสด็จพระราชดาเนินไปยังสถานท่ีท่ียัง ไม่เคย
ทอดพระเนตร เช่น ศูนย์อนุรักษ์พรรณพืชแห่งชาติปอร์เกอรอลส์ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์
ธรรมชาติ สานักกาชาดฝร่ังเศส เป็นต้น ทรงเยือนเขตอุตสาหกรรม เขตธุรกิจ และแหล่ง
ท่องเท่ียวในเมืองอองเฟลอร์ เมืองกองในแคว้นนอร์มังดีที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์
ศิลปวัฒนธรรม และการเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศฝร่ังเศสได้เสร็จส้ินลงด้วย
การลอดอุโมงค์ใต้ท้องทะเล อนั เปน็ ทีม่ าของคาวา่ สวนสมุทร

34

สิงคโปรส์ ญั จร

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐสิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 23 ถึง วันที่ 28
มิถุนายน พ.ศ. 2528 ตามคากราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลสิงคโปร์ทรงเข้าร่วมประชุม
สภากาชาดและสภาซีกวงเดือนของกลุ่มประเทศอาเซียนในฐานะผู้แทนฝ่ายไทย ทรงบันทึก
การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสถานท่ีสาคัญต่าง ๆ มีภาพลายเส้นฝีพระหัตถ์และภาพพร้อม
คาบรรยายเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษกว่า 300 ภาพ ให้สาระความรู้เก่ียวกับชีวิต
ความเป็นอยู่ ศลิ ปะ ภาวะเศรษฐกจิ และสถานทที่ ่นี า่ สนใจ

35

หวงเหออูอ่ ารยธรรม

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 7 ถึง วันท่ี 20
มีนาคม พ.ศ. 2543 ได้ทอดพระเนตรสถานที่ต่าง ๆ อาทิ ถ้าทางพุทธศาสนา พิพิธภัณฑ์ขงจื่อ
เรือนจาโบราณ สุสานกวนอู วัดเซ่าหลิน ศาลเจ้าเปาบุ้นจ้ิน ป่าจารึก ฯลฯ ทรงบันทึกเป็น
จดหมาย 14 ฉบับ ตามจานวนวันของการเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน
ในคราวนี้ และเสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรสถานท่ีต่าง ๆ ท่ีน่าสนใจ ในมณฑลส่านซี
มณฑลซานตง มณฑลเหอหนานทแี่ มน่ า้ หวงเหอไหลผา่ นและเปน็ อู่อารยธรรมท่สี าคัญของจีน

36

อนมั สยามมติ ร

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามระหว่างวันท่ี 17
ถึง วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2536 ทรงพระราชนิพนธ์ไว้เม่ือครั้งเสด็จพระราชดาเนิน
สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ทรงพบผู้นาระดับสูงของรัฐบาลเวียดนาม และได้
ทอดพระเนตรสถานที่สาคัญในกรุงฮานอย ท้ังพิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ พิพิธภัณฑ์ศิลปะ
สุสานโฮจิมินห์ และสถานที่สาคัญอ่ืน ๆ อีกมากมาย นอกจากน้ี ได้ทอดพระเนตรเมืองต่าง ๆ
อาทิ เมืองเดียนเบียนฟู เมืองดานัง เมืองเว้ เมืองโฮชิมินห์ซิต้ี ฯลฯ พร้อมภาพประกอบตลอด
ท้ังเล่ม ทาให้ทราบถึง ภูมิหลัง ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ สังคม วิถีชีวิต เศรษฐกิจ ตลอดจน
ศลิ ปวฒั นธรรมของสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม

37

แอนตาร์กตกิ า : หนาว

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนประเทศนิวซีแลนด์ และแอนตาร์กติกา ระหว่างวันท่ี
17 ถึง วันท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2536 เป็นบันทึกเรื่องราวการเสด็จพระราชดาเนินไปยัง
สถานท่ีต่าง ๆ ของประเทศนิวซีแลนด์หรือข้ัวโลกใต้ ดินแดนแห่งความหนาวเย็นและทิวทัศน์
อันงดงาม ทอดพระเนตรหน่วยงานต่าง ๆ ภายใน Scott Base พิพิธภัณฑ์ของศูนย์
แอนตาร์กติการะหว่างประเทศ ถ้าน้าแข็ง Erebus Glacier Tongue ทอดพระเนตร
นกเพนกวิน ซ่ึงทรงเล่าเหตุการณ์ว่าเป็นการเดินทางท่ีต้องผจญภัยคร้ังยิ่งใหญ่สู่ดินแดนที่มี
ความแตกต่างทางภูมศิ าสตรแ์ ละภูมอิ ากาศ

38

“ไอรกั ” คอื อะไร ?

การเสด็จพระราชดาเนินเยือนสาธารณรัฐประชาชนจีน และสาธารณรัฐประชาชน
มองโกเลีย ระหว่างวันที่ 3 ถึง วันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2535 สองดินแดนที่มีวัฒนธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่น่าสนใจ และถือเป็นต้นกาเนิดหนึ่งของอารยธรรมตะวันออก
อนั เก่าแกท่ แ่ี ผก่ ระจายไปในหลายประเทศ ภาพประกอบถึงลักษณะทางภูมิประเทศและสภาพ
ทางธรรมชาติ ศลิ ปวัฒนธรรม และวถิ ชี ีวิตท่ีมเี อกลกั ษณ์เฉพาะทีน่ า่ สนใจ


Click to View FlipBook Version