The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่9 การจัดการและควบคุมพัสดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บ้าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorats033, 2021-04-30 02:25:30

บทที่9 การจัดการและควบคุมพัสดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บ้าน

บทที่9 การจัดการและควบคุมพัสดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บ้าน

Keywords: การจัดการและควบคุมพัสดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บ้าน

บทที่ 9
การจดั การและควบคุมพสั ดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บ้าน

(Inventory Control)

 ประเภทของพสั ดุอุปกรณ์
 Par Level คืออะไร ?
 ผา้ ประเภทตา่ งๆ (Linens)
 ชุดยนู ิฟอร์ม (Unifroms)
 ส่ิงของสาหรับใหแ้ ขกยมื (Guest Loan Items)
 เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ต่างๆ (Machines and Equipment)
 วสั ดุในการทาความสะอาด (Claening Supplies)
 ของใชส้ าหรับแขก (Gueat Supplies)

 ประเภทของพสั ดุอปุ กรณ์
โดยทว่ั ไปแล้ว ผูท้ ี่รับผิดชอบในการควบคุมดูแลพสั ดุอุปกรณ์ในแผนกแม่บา้ น คือ ผูจ้ ดั การ

แผนกแม่บา้ น (Executive Housekeeper) เราสามารถแบ่งประเภทของพสั ดุอุปกรณ์หรือ inventory ในแผนก
แม่บา้ นออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. Recycled inventory คือ พสั ดุที่สามารถนามาใช้หมุนเวียนไดใ้ หม่ เช่น ผา้ ชนิดต่างๆ ชุดยูนิ
ฟอร์ม ส่ิงของท่ีเอาไวใ้ หแ้ ขกยมื เครื่องมือทุน่ แรงประเภทตา่ งๆ

2. Non-recycled inventory คือ พสั ดุท่ีไมส่ ามารถนากลบั มาใชใ้ หม่หรือวสั ดุสิ้นเปลืองต่างๆ เช่น
วสั ดุในการทาความสะอาด อุปกรณ์เล็กต่างๆ ของใชส้ ิ้นเปลืองสาหรับแขก (สบู่ ยาสีฟัน แชมพู เป็นตน้ )

 Par Level คอื อะไร ?
Par Level คือ ระดบั ของจานวนพสั ดุอุปกรณ์ที่แผนกแม่บา้ นควรจะตอ้ งมีไวใ้ นคงคลงั เพื่อใชใ้ น

การดาเนินงานในแต่ละวนั ในการพิจารณาจานวน Par Level ของพสั ดุอุปกรณ์จะแตกต่างกนั ระหวา่ ง
recycled inventory และ non-recycled inventory ซ่ึงการพิจารณาของ recycled inventory จาเป็ นตอ้ งข้ึนอยู่
กบั การทางานร่วมกบั แผนกอ่ืนๆดว้ ย เช่น ผา้ ประเภทต่างๆ ตอ้ งข้ึนอยกู่ บั การทางานของแผนกซกั รีดดว้ ยวา่
จะสามารถซกั รีดผา้ เหล่าน้ีไดร้ วดเร็วมากนอ้ ยเพยี งใด

 ผ้าประเภทต่างๆ (Linens)
ผา้ ประเภทต่างๆ คือ พสั ดุที่สาคญั ที่สุดในแผนกแม่บ้าน และถือว่าเป็ น recycled inventory

นอกเหนือจากค่าแรงงานแลว้ ค่าผา้ ประเภทต่างๆ คือ ค่าใช้จ่ายท่ีแพงที่สุดของแผนกแม่บา้ น ดงั น้ัน การ
สร้างระบบการควบคุมผา้ ประเภทตา่ งๆ จึงเป็นส่ิงที่สาคญั มากอยา่ งหน่ึง

การแบ่งชนิดของผา้ สามารถแบง่ ไดอ้ อกเป็น 3 ประเภท คือ
1. ผา้ ปูเตียง ประกอบดว้ ย ผา้ ปเู ตียงขนานต่างๆ ปลอกหมอน ผา้ รอง เตียงกนั เป้ื อน และผา้ คลุม

เตียง
2. ผา้ ขนหนูสาหรับหอ้ งน้า ประกอบดว้ ย ผา้ เช็ดตวั ขนานต่างๆ ผา้ เช็ดมือ ผา้ เช็ดเทา้ และ

ผา้ ขนหนูอ่ืนๆ
3. ผา้ ปูโตะ๊ ประกอบดว้ ย ผา้ ปูโตะ๊ ขนานตา่ งๆ ผา้ เช็ดปาก ผา้ อื่นๆ ที่ใชใ้ นแผนกอาหารและ

เคร่ืองดื่ม

การสร้างระบบ Par Level สาหรับผา้ ประเภทตา่ งๆ
ส่ิงแรกท่ีจาเป็ นต้องกระทา เพ่ือให้การจัดการเกี่ยวกับผา้ ประเภทต่างๆ เป็ นไปอย่างมี

ประสิทธิภาพเรียบร้อย คือ ควรพจิ ารณาจานวนผา้ ประเภทต่างๆ ท่ีควรมีไวใ้ นมือ เพื่อใหก้ ารดาเนินงานของ

โรงแรมไม่เกิดอาการสะดุด และจาเป็ นจะตอ้ งแน่ใจดว้ ยวา่ จานวนที่กาหนดเอาไวน้ ้นั เพียงพอสาหรับการ
ดาเนินงานของแผนกแมบ่ า้ นและแผนกอ่ืนๆ ท้งั หมด ถา้ การต้งั ระดบั ของจานวนผา้ ประเภทต่างๆ ต่าเกินไป
จะทาให้การทางานของท้งั แผนกเกิดสะดุด ทาให้แขกท่ีเขา้ พกั เกิดความไม่พอใจข้ึนได้ เนื่องจากตอ้ งรอ
หอ้ งพกั ท่ียงั ทาความสะอาดไม่เสร็จ และลดระดบั ของห้องที่พร้อมจะขาย ซ่ึงจะทาให้โรงแรมสูญเสียรายได้
จากการขายหอ้ งพกั ทาให้ผา้ สูญเสียคุณภาพเร็ว เพราะตอ้ งซักบ่อยๆ แต่ถา้ แผนกแม่บา้ นต้งั ระดบั ของ Par
Level สูงเกินไปจะทาใหต้ อ้ งลงทุนกบั ผา้ ประเภทต่างๆ มากเกินความจาเป็น

จานวน Par สาหรับผา้ คือ จานวนผา้ ท่ีมีเพียงพอสาหรับการทางานทว่ั ไปของแผนก คาวา่ “one
par of linen” หมายถึง จานวนผา้ แต่ละชนิดที่เพียงพอสาหรับห้องพกั แขกในทุกหอ้ ง แต่แค่ one par of linen
ไม่เพียงพอสาหรับการดาเนินงานของแผนก คาวา่ “two par of linen” หมายถึง จานวนผา้ แต่ละชนิดท่ี

เพยี งพอสาหรับการทางานสองคร้ังหรือสองรอบ
ดงั น้นั ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น ตอ้ งเป็ นผรู้ ับผิดชอบพิจารณาวา่ จะกาหนด Par of linens จานวน

เท่าไร เพ่ือให้เพียงพอกบั การทางานท้งั แผนก หลกั การพิจารณาควรคานึงถึงปัจจยั 3 อย่าง คือ ระบบการ
หมุนเวยี นของการซกั รีด จานวนผา้ ที่มีเอาไวท้ ดแทน และเหตุการณ์ฉุกเฉินตา่ งๆ
ตวั อยา่ ง การคานวณ king-sized sheets สาหรับโรงแรมท่ีมีแผนกซกั รีด และใช้ sheete จานวน 2 ชิ้นในการปู
เตียงแตล่ ะคร้ัง มีจานวนเตียงท้งั หมด 300 เตียง

1 Par สาหรับห้องพกั แขก = 1 x 600 = 600 ชิ้น
1 Par สาหรับหอ้ งเกบ็ ผา้ = 1 x 600 = 600 ชิ้น
1 Par สาหรับผา้ สกปรกในแผนกซกั รีด = 1 x 600 = 600 ชิ้น
1 Par สาหรับผา้ ที่เอาไวท้ ดแทน = 1 x 600 = 600 ชิ้น
1 Par สาหรับเหตุการณ์ฉุกเฉิก = 1 x 600 = 600 ชิ้น

การควบคุมผา้ ประเภทต่างๆ
ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น ควรมีการสร้างนโยบายและระบบข้นั ตอนวา่ ผา้ จะเก็บท่ีไหน อย่างไร

เม่ือใด และใครสามารถเบิกผา้ เหล่าน้ีไดบ้ า้ ง รวมถึง ระบบการควบคุมดูแลผา้ เมื่อส่งไปซกั ท่ีแผนกซกั รีด
1. การเกบ็ ผา้ (storage)
ส่วนมากระบบการหมุนเวยี นของผา้ ประเภทต่างๆ จะอยูร่ ะหวา่ งสองส่วน คือ ห้องพกั แขกและห้อง

ซกั รีด หลงั จากแผนกซกั รีดส่งผา้ ที่ซกั เรียบร้อย มายงั หอ้ งเก็บผา้ ใหญ่ ควรมีการเกบ็ ผา้ เอาไวก้ ่อนอ่างนอ้ ย 24
ชวั่ โมง ก่อนจะนาไปใชใ้ หมอ่ ีกคร้ัง เพื่อเป็นการยดื อายกุ ารใชง้ านของผา้ และเปิ ดโอกาสให้รอยยน่ ไดย้ ดื ตวั
การเก็บผา้ ต่างๆ ควรเก็บไวใ้ นสถานท่ีๆ ระบุเอาไวอ้ ย่างชดั เจน คือ ห้องผา้ ใหญ่ของแผนก ห้องพกั ผา้ ใกล้
แผนกซกั รีดก่อนที่จะขนยา้ ยไปยงั บริเวณต่างๆ ในโรงแรม และตูเ้ ก็บผา้ ในแต่ละชิ้น

ลกั ษณะของห้องเก็บผา้ ควรจะเป็ นห้องที่ปราศจากความช้ืน และมีการระบายอากาศท่ีดี ช้ันวางผา้
ตา่ งๆ ควรจะมีลกั ษณะพ้ืนผวิ เรียบและโล่ง รวมท้งั มีการจดั แยกประเภทของผา้ แต่ละชนิด นอกจากน้ี พ้ืนท่ี
ของหอ้ งควรมีขนานท่ีมากพอเพยี ง เพือ่ ผา้ ตา่ งๆ จะไดไ้ ม่ตอ้ งวางรวมกนั จนแน่นเกินไป ห้องผา้ เหล่าน้ีควรมี
การลอ็ คกญุ แจอยเู่ สมอ และมีการวางระบบการควบคุมการถือกุญแจที่เขม้ งวด

2. การจ่ายผา้ (Issuing)
ควรมีการสร้างระบบ Floor Par ข้ึนมา เพ่ือท่ีจะไดร้ ู้ถึงจานวนผา้ ที่จาเป็ นตอ้ งใช้ในแต่ละวนั ตาม
จานวนหอ้ งท่ีตอ้ งทาความสะอาดในแต่ละช้นั ดงั น้นั แผนกแมบ่ า้ นจะทราบจานวนที่แน่นอนวา่ ในแต่ละช้นั
ตอ้ งการเบิกผา้ เท่าไรจากห้องผา้ ใหญ่ ส่วนแบบฟอร์มรายงานสภาพห้องจากแผนกบริการส่วนหน้า หรือ
Front office department ในทุกวนั สามารถนามาช่วยในการประเมินจานวนผา้ ท่ีตอ้ งการจะใชใ้ นแต่ละวนั
และแตล่ ะช้นั ได้
ในบางโรงแรมมีนโยบายใหพ้ นกั งานทาความสะอาดหอ้ งพกั น้นั ทาหนา้ ที่บนั ทึกจานวนของผา้ ที่ถูก
ส่งไปซกั โดยให้แบ่งตามประเภทของผา้ ดงั น้นั จานวนผา้ ท่ีพนกั งานทาความสะอาดห้องพกั บนั ทึกเอาไว้
จะตอ้ งตรงกบั จานวนห้องในแบบฟอร์มรายงานสภาพห้อง ในช่วงสุดทา้ ยของการทางานในแต่ละกะน้นั
พนกั งานในแผนกแมบ่ า้ น จะตอ้ งนาเอาผา้ จากหอ้ งผา้ ใหญ่มาเติมตูเ้ ก็บผา้ ในแต่ละช้นั เพราะฉะน้นั การจ่าย
ผา้ ออกไปเท่ากบั จานวนผา้ ที่ถูกใชไ้ ปจริงเท่าน้นั ซ่ึงวิธีน้ีจะช่วยในการตรวจสอบจานวนผา้ ท่ีจริงใจไดอ้ ีก
ทางหน่ึง
3. ข้นั ตอนพเิ ศษสาหรับผา้ ที่ชารุด
ข้นั ตอนพิเศษจะจาเป็ นสาหรับผา้ ที่ชารุด และตอ้ งการการทดแทน ดงั น้นั เม่ือมีผา้ ชารุดและมีการ
พจิ ารณาแลว้ วา่ ไม่สมควรนามาใชง้ านอีกต่อไป ควรนาผา้ ไปเก็บไวใ้ นภาชนะบรรจุพิเศษ และนาไปเก็บไว้
ท่ีหอ้ งผา้ ใหญ่ หรือ สานกั งานกลางแผนกแม่บา้ น จากน้นั ให้กรอกแบบฟอร์มวา่ ผา้ ที่ชารุดเป็ นผา้ ชนิดไหน
บริเวณที่ชารุด ลกั ษณะของการชารุด เก็บผา้ ที่ชารุดมาจากบริเวณไหน ชื่อของพนักงานท่ีพบวา่ ผา้ ชารุด
จากน้นั ผจู้ ดั การแผนกซกั รีด (Laundry Manager) จะเพม่ิ จานวนผา้ ในตูเ้ ก็บผา้ ช้นั ท่ีมีผา้ ชารุดส่งมาคืน เมื่อผา้
ชารุดซกั แลว้ ควรส่งแยกมาต่างหากให้กบั ผูจ้ ดั การแผนกซกั รีด หรือ ผูท้ ่ีเหมาะสมพิจารณาดูวา่ เหมาะสมที่
จะใชต้ ่อไปอีก หรือ สามารถนามาซ่อมแซมใหม่ไดห้ รือไม่ ควรมีการลงบนั ทึกอยา่ งระมดั ระวงั สาหรับผา้ ที่
ชารุด และไม่สามารถนามาใชไ้ ดใ้ หม่
4. ผา้ ที่ใชส้ าหรับแผนกอาหารและเคร่ืองด่ืม
ผา้ ที่ใช้ในแผนกอาหารและเครื่องด่ืม ควรมีการควบคุมเหมือนกบั ผา้ ท่ีใชใ้ นห้องพกั แขก ควรมีการ
พิจารณาวา่ มีร้านอาหารในโรงแรมท้งั หมดกี่แห่ง แลว้ จึงสร้างระบบ Par level ข้ึนมา ผา้ ที่สกปรกแลว้ ควรมี
การนบั ทุกคืน และทาบนั ทึกก่อนจะส่งไปยงั แผนกซักรีด ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ นกบั ผูจ้ ดั การแผนกซักรีด
สามารถใช้ บนั ทึกเหล่าน้ีเป็นตวั ควบคุมและตวั๋ จา่ ยผา้ ในวนั ตอ่ ไปทุกๆ วนั ควรมีการขนยา้ ยผา้ ประเภทต่างๆ
ไปคืนตามจานวนที่ส่งมาซกั ในกรณีท่ีตอ้ งการใชผ้ า้ ประเภทตา่ งๆ เพิ่มเติม จาเป็ นตอ้ งมีการทาบนั ทึกคาร้อง
มาวา่ ตอ้ งผา้ ชนิดใดเพม่ิ และจานวนเท่าใด

รูปภาพท่ี 9-1 ตวั อยา่ งแบบฟอร์มส่งผา้ ไปซกั ยงั แผนกซกั รีด และใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการควบคุมจานวนผา้
(ที่มา : Central Plaza Hotel, Bangkok, Thailand)

5. การนบั จานวนผา้
การนบั จานวนผา้ น้นั ควรมีการกระทาอยา่ งสม่าเสมอเดือนละคร้ัง หรืออยา่ งนอ้ ย 3 เดือนหน่ึงคร้ัง โดย
ปกติแลว้ จะมีการนบั จานวนในวนั สิ้นงบบญั ชีของแต่ละเดือน เพ่ือผูจ้ ดั การแผนกแม่บา้ น จะไดร้ ู้เก่ียวกบั
การควบคุมตน้ ทุนของแผนกในการจดั เตรียมงบประมาณ เพราะผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ นจะทราบถึงจานวนที่
แน่นอนของผา้ ท่ีใชอ้ ยจู่ านวนผา้ ท่ีชารุด สูญหาย หรือ ตอ้ งการการทดแทน การควบคุมวิธีน้ีจาเป็ นมากใน
การทางบประมาณ และเป็ นการทางานให้แน่ใจวา่ แผนกแม่บา้ นมีพสั ดุอุปกรณ์เพียงพอกบั ความตอ้ งการ
ของโรงแรมหรือไม่

 ชุดยนู ิฟอร์ม (Uniforms)
หลายโรงแรมมีแบบฟอร์มใหพ้ นกั งานไดส้ วมใส่ในเวลาทางาน โดยทวั่ ไปแผนกแม่บา้ นจะเป็ น

ผรู้ ับผดิ ชอบในการเก็บรักษา การจ่าย และการควบคุมชุดยนู ิฟอร์มของพนกั งานท้งั โรงแรม งานน้ีเป็ นงานท่ี
คอ่ นขา้ งซบั ซอ้ นและยงุ่ ยาก โดยเฉพาะถา้ โรงแรมมีขนาดใหญ่ มีชุดยนู ิฟอร์มจานวนมาก มีหลายขนาน และ
มีหลายแบบ

การสร้างระบบ Par Level ของชุดยนู ิฟอร์ม
เป็ นงานที่ค่อนขา้ งยากในการสร้างระบบ Par Level สาหรับชุดยนู ิฟอร์มเพราะวา่ มีหลายแบบ

และหลายขนาด นอกจากน้ี ยงั มีปัจจยั อื่นๆ อีก เช่น การลาออกของพนักงาน หรือชุดที่อาจเสียหายโดย
อุบตั ิเหตุ ก่อนที่จะสร้าง Par Level ผูจ้ ดั การแผนกแม่บา้ นจาเป็ นตอ้ งรู้ว่า ในแต่ละแผนกน้ันมีจานวน
พนกั งานท้งั หมดเท่าไรชุดแบบไหนบา้ งท่ีจะตอ้ งใชแ้ ผนก และความบ่อยท่ีจะตอ้ งซกั ชุดยูนิฟอร์มเหล่าน้ี
สาหรับเรื่องของขนาดของชุดยนู ิฟอร์มน้นั จะแกไ้ ขไดโ้ ดยการตดั ให้กบั พนกั งานใหม่ในคร้ังแรกของการ
เขา้ ทางาน ซ่ึงในปัจจุบนั โรงแรมพยายามแกไ้ ขปัญหาการเปล่ียนงานบ่อยของพนกั งาน ที่เป็ นสาเหตุของการ
สิ้นเปลืองงบประมาณชุดยูนิฟอร์ม โดยวิธีการตดั ชุดยูนิฟอร์มเป็ นขนานต่างๆ เช่น เล็ก กลาง ใหญ่ เม่ือ
พนกั งานใหม่เขา้ มาทางาน จึงให้ชุดยนู ิฟอร์มตามขนาดท่ีตอ้ งการ และอาจมีการแกไ้ ขนิดหน่อยเพ่ือใหพ้ อดี
กบั รูปร่าง

อีกปัจจยั หน่ึงที่ตอ้ งคานึงถึง คือ เวลาที่ตอ้ งใชใ้ นการซกั รีด Per Level สาหรับชุดยนู ิฟอร์มจะ
ข้ึนอยกู่ บั ความบ่อยในการซกั เช่น ถา้ ตอ้ งการซกั อาทิตยล์ ะคร้ัง ดงั น้นั พนกั งานตอ้ งการซักชุด 5 ชุด เมื่อ
เร่ิมตน้ สัปดาห์ รวมท้งั ชุดที่พนกั งานคนน้นั ตอ้ งสวมในวนั แรกท่ีเขาจะมารับชุดดว้ ย เพราะฉะน้นั ระดบั ของ
Par Level จะเท่ากบั 11 ชุด แต่ส่วนใหญ่จะซกั ทุกวนั เพราะประหยดั กวา่ ดงั น้นั พนกั งานจะมีชุดยนู ิฟอร์ม
ท้งั หมด 3 ชุด คือ ชุดท่ีสวมใส่ ชุดที่นาไปซกั และชุดที่เอามาแลกเปลี่ยน

การควบคุมชุดยนู ิฟอร์ม
ชุดยูนิฟอร์มทุกชุดควรมีระบบการจ่ายและควบคุมโดยห้องยูนิฟอร์ม ในห้องยูนิฟอร์มควรมี

พ้ืนที่ในห้องเพียงพอท่ีจะไวเ้ ก็บชุดยูนิฟอร์มเหล่าน้ี โดยการแบ่งตามขนาดและชนิด มีการจดั แบ่งออก
ตามแต่ละแผนก เพื่อเป็ นการประหยดั เวลาเม่ือพนกั งานนาชุดของตนมาแลกในแต่ละช่วงเวลา ผูจ้ ดั การ
แผนกแม่บา้ นควรมีการสร้างระบบการดาเนินงานในการควบคุมชุดยูนิฟอร์ม ระบบควรครอบคลุมการรับ
ชุดเพ่ือนาไปซกั ระบบกรบนั ทึกสาหรับการรับชุดของท้งั หอ้ งยนู ิฟอร์มและหอ้ งซกั รีด พนกั งานประจาหอ้ ง
ชุดยนู ิฟอร์มควรมีการส่งจานวนชุดยนู ิฟอร์มที่ส่งไปซกั ในแต่ละวนั ใหก้ บั แผนกซกั รีด

ในบางโรงแรมจะมีการใชร้ ะบบการควบคุม โดยการบงั คบั วา่ จะตอ้ งนาชุดท่ีสกปรกมาแลกกบั
ชุดที่สะอาดเท่าน้นั หรือในบางโรงแรมตอ้ งมีใบเซ็นอนุญาตจากผจู้ ดั การแผนก เมื่อมีการแลกชุดในคร้ังแรก
พนกั งานทุกคนตอ้ งมีการเซ็นรับจานวนและชนิดของชุดที่เบิกไปใช้ เมื่อพนกั งานลาออกตอ้ งนาชุดท้งั หมด
ไปคืน พนกั งานประจาห้องชุดยนู ิฟอร์มจะส่งบนั ทึกไปยงั แผนกการเงิน เพื่อเป็ นการแจง้ วา่ พนกั งานคนที่
ลาออกไดค้ ืนชุดท้งั หมดแลว้ หรือไม่ ถา้ ยงั ไม่ไดค้ ืน จึงจาเป็ นตอ้ งมีการหกั เงินเดือนคา้ งจ่ายจากพนกั งานคน
น้นั เพอ่ื เป็นค่าชุดท่ียงั ไม่ไดค้ ืน

ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น จะเป็ นผดู้ ูแลใหใ้ ชช้ ุดยนู ิฟอร์มอยใู่ นสภาพท่ีเรียบร้อยซ่ึงรวมไปถึงการ
ซ่อมแซมดว้ น ถ้าพนักงานพบว่าชุดที่ตนเองใช้อยู่ ตอ้ งการการซ่อมแซมให้กรอกใบบนั ทึกและแจง้ ให้
พนกั งานประจาหอ้ งชุดยนู ิฟอร์มทราบ

ชุดยนู ิฟอร์มควรมีการตรวจนบั อยา่ งนอ้ ย 3 เดือนตอ่ คร้ัง

 สิ่งของสาหรับให้แขกยมื (Guest Loan Items)
การใหส้ ่ิงของหรือเครื่องใชบ้ างอยา่ งกบั แขกยมื ถือเป็นบริการอยา่ งหน่ึงท่ีโรงแรมพึงจะมีใหไ้ ด้

โดยไม่คิดมูลค่า ดงั น้นั แผนกแม่บา้ นควรมีหน้าที่รับผิดชอบสิ่งของเหล่าน้ี และตอบสนองคาร้องขอของ
แขก อีกท้งั ยงั ตอ้ งเป็นผตู้ ิดตามผลวา่ แขกไดค้ ืนส่ิงของที่ยมื ไปแลว้ หรือไม่

ชนิดสิ่งของสาหรับใหแ้ ขกยมื
สิ่งของสาหรับใหแ้ ขกยมื น้นั จะมีความแตกต่างกนั จากโรงแรมหน่ึงไปยงั อีกโรงแรมหน่ึง เช่น

เตารีด โตะ๊ รีดผา้ ชุดซ่อมแซมผา้ เครื่องเป่ าผม นาฬิกาปลุก เตียงนอนสาหรับเด็กเล็ก หมอ้ แปลงไฟฟ้ า เป็ น
ตน้

ของใชอ้ ื่นๆ ที่อาจจะเพ่ิมเติม เช่น เครื่องโกนหนวด กระเป๋ าน้าร้อน กระติกน้าร้อน ผา้ ห่มไฟฟ้ า
หมอนไร้ฝ่ นุ และรถเขน็ เป็นตน้

การสร้าง Par Level สาหรับส่ิงของสาหรับแขกยมื
การสร้าง Par Level สาหรับสิ่งของสาหรับแขกยืม ข้ึนอยกู่ บั ระดบั การให้บริการของโรงแรมที่

มีให้กบั แขก ความตอ้ งการของแขกท่ีมาพกั ขนาดของโรงแรมระดบั ของจานวนแขกที่เขา้ มาพกั ในแต่ละ

ช่วงเวลา และระยะเวลาในการเขา้ พกั ของแขก ดงั น้ัน ผูจ้ ดั การแผนกแม่บ้านจาเป็ นต้องทางานร่วมกบั
ผจู้ ดั การทว่ั ไป และแผนกการตลาดในการระบุถึงชนิด และจานวนของสิ่งของสาหรับแขกยมื ที่ทางโรงแรม
ควรมีให้บริการกบั แขก อีกท้งั ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ นยงั เป็ นผทู้ ี่ตอ้ งรับผิดชอบในการรักษาปริมาณสิ่งของ
สาหรับแขกยมื ชนิดตา่ งๆ ใหเ้ พยี งพอกบั ความตอ้ งการท่ีจะใชข้ องแขก

การควบคุม inventory สิ่งของสาหรับแขกยมื
ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น ควรจะเป็ นผสู้ ร้างระบบการควบคุมสิ่งของเหล่าน้ีควรมีการนบั จานวน

ส่ิงของท่ีมีอยู่ท้งั หมด และทาบนั ทึกเอาไว้ การทาบนั ทึกควรบนั ทึกรายละเอียดต่างๆ คือ ชื่อของส่ิงของ
ผผู้ ลิต ผทู้ ่ีเป็นผขู้ ายใหโ้ รงแรม วนั ที่ซ้ือ ราคา รายละเอียดเกี่ยวกบั การประกนั สินคา้ สถานที่เก็บ นอกจากน้ี
ควรมีการระบุถึงจานวน Par level ของส่ิงของแต่ละชนิด และควรมีการปรับบนั ทึกต่างๆ ตลอดเวลา เม่ือ
ส่ิงของใดๆ เกิดความเสียหายหรือชารุด และตอ้ งการการซ่อมแซมหรือเปลี่ยนใหม่

สาหรับการจ่ายของออกไปควรมีข้นั ตอนท่ีแน่นอนและชดั เจน ข้นั ตอนควรจะออกแบบใหเ้ ขา้
กบั ลกั ษณะของแขกท่ีมาใชบ้ ริการ และประวตั ิของสิ่งของที่มกั จะสูญหายหรือถูกขโมย ในบางโรงแรมอาจมี
นโยบายที่ตอ้ งใหแ้ ขกเซ็นช่ือในใบรับรองทุกคร้ัง ซ่ึงกรณีจาเป็ นตอ้ งใหพ้ นกั งานแผนกแม่บา้ นบนั ทึกขอ้ มูล
อื่นๆ ท่ีจาเป็ นเพ่ิมเติมดว้ ย เช่น ชนิดของสิ่งของท่ีใหแ้ ขกยมื ชื่อของแขก และเบอร์หอ้ งพกั รวมท้งั วนั และ
เวลาท่ีนาสิ่งของไปส่งดว้ ย ในกรณีน้ีผทู้ ่ีนาของไปส่งตอ้ งเซ็นช่ือดว้ ย ในบางโรงแรมอาจตอ้ งให้แขกจ่ายเงิน
มดั จา ในทุกคร้ังท่ีแขกยืมสิ่งของเหล่าน้ี จานวนเงินที่จะมดั จาข้ึนอยู่กบั ส่ิงของท่ีตอ้ งการจะยืม ในบางคร้ัง
โรงแรมจะใชน้ โยบายท่ีจะคิดเงินลงไปในบญั ชีของแขกเลยเป็ นค่ามดั จา แต่บางคร้ังอาจกระทาไดโ้ ดยการที่
จ่ายค่ามดั จาเป็ นเงินสด แต่ในกรณีน้ี ตอ้ งระมดั ระวงั ในเร่ืองของการถือเงินสดของพนกั งาน จึงควรมีการ
กาหนดวา่ ไมว่ า่ ในกรณีใดก็ตาม พนกั งานในโรงแรมไม่มีสิทธิในการถือเงินสดใดๆ ท่ีเป็ นเงินมดั จาที่ไดร้ ับ

มาจากแขก

สาหรับใบเสร็จรับเงินมดั จาน้ัน ควรนากลบั มาที่แฟ้ มบญั ชีของแขกที่แผนกบริการส่วนหน้า
และไม่ควรใส่จานวนเงินลงไปทนั ทีในเวลาน้ี เมื่อแขกไดค้ ืนส่ิงของที่ยืมไปแลว้ ควรเอาใบเสร็จน้ีออกจาก
แฟ้ มและทาลายทนั ที เพื่อป้ องกนั ความผดิ พลาดที่อาจจะเกิดข้ึนในเวลาคิดเงินท้งั หมดกบั แขก

นโยบายและระเบียบการปฏิบตั ิอ่ืนๆ ที่ควรนามาพจิ ารณาในการควบคุมส่ิงของท่ีแขกยมื เช่น
- เม่ือเป็ นไปได้ ควรมีการโทรติดตามผล เพ่ือถามแขกว่าไดร้ ับส่ิงของที่ตอ้ งการจะยืมเรียบร้อย

แลว้ หรือไม่ และตรวจสอบดูวา่ แขกตอ้ งการความช่วยเหลืออ่ืนหรือไม่

- เมื่อส่ิงของที่แขกต้องการจะยืมได้ส่งถึงมือของแขกแล้ว ควรจะบอกให้แขกแจ้งกลับมาที่
สานกั งานแผนกแม่บา้ นภายในหน่ึงวนั เม่ือไดใ้ ชส้ ิ่งของน้นั เสร็จแลว้ และในกรณีท่ีแขกไม่โทร
กลบั มา ควรโทรไปหาแขกเอง

- ส่ิงของสาหรับแขกยมื ไมค่ วรใหย้ มื คา้ งคืน
- ส่ิงของสาหรับแขกยมื ควรมีการตรวจสอบประสิทธิภาพและความปลอดภยั วา่ ยงั คงสภาพที่ดีอยู่

หรือไม่เป็ นประจา ก่อนที่ส่ิงของน้นั ๆ จะส่งถึงมือแขกควรมีการตรวจสอบการทางานทุกคร้ัง
โดยเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้ า ถา้ มีส่ิงใดชารุดเสียหายใหร้ ีบทาการซ่อมแซมทนั ที

 เครื่องจักรและอปุ กรณ์ต่างๆ (Machines and Equipment)
ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น มีหน้าท่ีตอ้ งดูแลวา่ พนกั งานในแผนกทุกคนมีเคร่ืองมือถูกตอ้ งกบั การ

ทางานที่ไดร้ ับมอบหมาย เครื่องมือเหล่าน้ี คือ เคร่ืองจกั รกลและอุปกรณ์ต่างๆ ใชใ้ นการทาความสะอาด
ห้องพกั แขก และบริเวณพ้ืนที่สาธารณะต่างๆ ผูจ้ ดั การแผนกแบบบา้ นจาเป็ นตอ้ งมีการพฒั นาระบบและ
ข้นั ตอนตา่ งๆ ในการควบคุมจานวนสิ่งของเหล่าน้ี

ชนิดของเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ตา่ งๆ
- รถเขน็ สาหรับพนกั งานทาความสะอาดห้องพกั
- เคร่ืองดูดฝ่ นุ ประเภทต่างๆ เช่น เคร่ืองดูดฝ่ นุ สาหรับหอ้ งพกั แขก เครื่องดูดฝ่ นุ ท่ีสามารถดูดน้า

ได้ เครื่องดูดฝ่ นุ บริเวณทางเดิน เป็นตน้
- เครื่องซกั พรม
- เครื่องขดั พ้ืนประเภทต่างๆ
- เคร่ืองมือเกบ็ ขยะต่างๆ
- เครื่องซกั ผา้ และเคร่ืองอบผา้
- จกั รเยบ็ ผา้
- อุปกรณ์ตา่ งๆ ในหอ้ งซกั รัด เป็นตน้

การสร้าง Par level สาหรับเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ต่างๆ
จานวนและชนิดของเครื่องจกั รและอุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็นตอ้ งใชใ้ นแผนกแมบ่ า้ นควรข้ึนอยู่

กบั ปัจจยั หลายอยา่ ง เช่น
- ขนานของโรงแรม เช่น จานวนหอ้ งพกั แขกมีจานวนเทา่ ไหร่
- พ้นื ท่ีท่ีจาเป็นตอ้ งทาความสะอาดท้งั หมด
- ทาเลท่ีต้งั ของโรงแรม
- ลกั ษณะและประเภทของพ้นื และผนงั ภายในโรงแรม
- ขนานของแผนกซกั รีด

การควบคุม inventory ของเครื่องจกั รและอุปกรณ์ต่างๆ
ในการควบคุมจานวนเคร่ืองจักรและอุปกรณ์ต่างๆ รวมไปถึง การบารุงรักษาสภาพของ

เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ การทาบนั ทึกประเภทตา่ งๆ การสร้างระบบการเบิกจ่าย รวมท้งั พิจารณาพ้ืนท่ีท่ีมาใช้
เป็นสถานท่ีเกบ็ รักษาใหป้ ลอดภยั น้นั วิธีที่ไดผ้ ลมากท่ีสุดในการควบคุมจานวน คือ การใชร้ ะบบ Inventory
Card

Inventory Card ควรจะทาเอาไวส้ าหรับเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ ในแต่ละชนิดที่ใชใ้ นแผนก
แม่บา้ น ควรจะระบุช่ือ รุ่น เบอร์จาประเครื่อง ผผู้ ลิต ผขู้ าย วนั ท่ีซ้ือ ราคาที่ซ้ือ อายุการใชง้ าน ขอ้ มูลเก่ียวกบั
การรับประกนั สินคา้ ขอ้ มูลที่สามารถเขา้ รับการบริการในพ้ืนที่ที่โรงแรมต้งั อยู่ ซ่ึงบนั ทึกเหล่าน้ีจะช่วยใน
การพิจารณาวา่ อุปกรณ์ชิ้นใดบา้ งท่ีตอ้ งการเปล่ียนใหม่ และในบตั รเหล่าน้ีควรจะมีการแจกแจงถึงอุปกรณ์
ยอ่ ยอื่นๆ ที่จะมาใช้กบั เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์หลกั เหล่าน้ี อีกท้งั ควรมีรายการของอะไหล่ที่เก็บเอาไวใ้ น
Inventory ดว้ ย ควรมีการระบุดว้ ยวา่ สถานที่เก็บของเหล่าน้ี หรือ บริเวณท่ีใชข้ องเหล่าน้ีอยทู่ ี่ไหนบา้ งลงใน
บตั รดว้ ย

ถา้ มีการเบิกจ่ายของควรมีการบนั ทึกวา่ ส่ิงของประเภทใดท่ีถูกยมื ไป และควรจะแจง้ ให้ทราบ
วา่ เครื่องจกั รและอุปกรณ์ตา่ งๆ ควรมีการคืนวนั ต่อวนั วนั ที่ยืมประเภทของเครื่องจกั รและอุปกรณ์ ใครเป็ น
ผยู้ มื สถานท่ีนาไปใช้ รวมท้งั เวลาที่จะนาสิ่งของมาคืน นอกจากน้ี ยงั ควรมีการเซ็นช่ือผยู้ ืมและเซ็นอีกคร้ัง
เมื่อไดท้ าการคืนส่ิงของเรียบร้อย

เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ต่างๆ ควรมีการเก็บรักษาเอาไวใ้ นสถานที่ๆ ปลอดภยั และมีการใช้
กุญแจล็อคตลอดเวลา การนบั จานวนเคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ตามจานวนจริง ควรมรการกระทา ในทุกๆ 3
เดือน

 วสั ดุในการทาความสะอาด (Cleaning Supplies)

วสั ดุในการทาความสะอาด และอุปกรณ์ในการช่วยทาความสะอาดชิ้นเลก็ ที่สิ้นเปลืองง่าย ถือ
เป็น Non-recycled inventory ในแผนกแม่บา้ น

ชนิดของวสั ดุในการทาความสะอาด
ชนิดของวสั ดุในการทาความสะอาด ไดแ้ ก่ น้ายาทาความสะอาดเอนกประสงค์ น้ายาฆ่าเช้ือโรค

น้ามนั ขดั เงา น้ายาลา้ งชกั โครก น้ายาเช็ดกระจก น้ายาขดั เฟอร์นิเจอร์ แผน่ ขดั ชนิดต่างๆ อุปกรณ์ใน
การช่วยทาความสะอาดเล็กๆ ไดแ้ ก่ ไมก้ วาด ท่ีโกยผง ไมเ้ ช็ดพ้ืน ไมป้ ัดฝ่ ุน กระป๋ องน้า กระบอก
ฉีดน้า ถุงมือยาง แวน่ ป้ องกนั ตา ผา้ ขนาดต่างๆ ท่ีใชใ้ นการทาความสะอาด

การสร้าง Inventory Level
ควรสร้าง minimum quantity และ maximum quantity ข้ึนมา

Minimum quantity คือ ปริมาณของที่นอ้ ยท่ีสุดท่ีควรมีอยใู่ นคงคลงั ในช่วงเวลาหน่ึง
Maximum quantity คือ ปริมาณของท่ีมากท่ีสุดท่ีควรมีอยใู่ นคงคลงั ในช่วงเวลาหน่ึง
การสร้าง minimum quantity ควรคานึงถึงจากระดบั การใชส้ ิ่งแตล่ ะประเภทในเวลาหน่ึงๆ ดงั น้นั ระดบั การ
ใชใ้ นแผนก คือ หลกั การคานวณระดบั ของจานวนท่ีตอ้ งเก็บไวใ้ นคงคลงั สาหรับ Non-recycled inventory
- หลกั ในการพิจารณา maximum quantity จะดูไดจ้ ากปัจจยั ต่อไปน้ี
1. พ้นื ท่ีในแผนที่จะใชเ้ กบ็ ของ
2. อายไุ ขของวสั ดุในการทาความสะอาด
3. เงินทุนที่จะตอ้ งนาไปซ้ือ-ไมค่ วรท่ีจะสร้าง maximum quantity ใหส้ ูงเกินไปเพราะทาใหโ้ รงแรมตอ้ ง
นาเงินสดไปใชใ้ นทางไมเ่ กิดประโยชน์ และมีการซ้ือของเกินความตอ้ งการ

การควบคุม inventory ของวสั ดุในการทาความสะอาด
ระบบการควบคุมสาหรับวสั ดุในการทาความสะอาดน้ัน จาเป็ นตอ้ งเข้มงวดต้งั แต่การ

เบิกจ่ายของจากห้องเก็บของใหญ่ไปยงั ตูเ้ ก็บของในแต่ละช้ัน ผูจ้ ดั การแผนกแม่บา้ นควรมีการสร้าง
ระบบ Par Level สาหรับตูเ้ ก็บของในแต่ละช้นั ซ่ึงพนกั งานทาความสะอาดหอ้ งพกั สามารถนาไปเติมใน
รถเข็นได้ทนั ที ซ่ึงสิ่งน้ีตอ้ งข้ึนอยู่กับระดบั การใช้ส่ิงของเหล่าน้ี ตามระดบั ของการเขา้ พกั ของแขก
(Occupancy rate) ของโรงแรม ถา้ วสั ดุในการทาความสะอาดในตูเ้ ก็บของในแต่ละช้นั หมด ควรมีการ
เบิกของมาเพิ่มจากหอ้ งเก็บของใหญ่ โดยพจิ ารณาวา่ มีการเบิกของจานวนเท่าไรจากหอ้ งเก็บของใหญ่จะ
ทาให้ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ นทราบถึงระดบั การใชแ้ ละสามารถตรวจสอบวา่ ระดบั การใช้น้นั มากหรือ
นอ้ ยไปอยา่ งไร ควรมีการตรวจสอบอยเู่ สมอวา่ Par Level ในตูเ้ ก็บของแต่ละช้นั น้นั วา่ มีเพียงพอหรือไม่
เพราะถา้ ส่ิงของขาดจะทาใหเ้ กิดผลเสียหลายอยา่ ง เช่น ความไม่สะดวกต่อแขก การสูญเสียแรงงาน เป็ น
ตน้ เมื่อมีการสร้าง Par Level แลว้ ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น ควรมีการทบทวนและปรับปรุงบ่อยๆ เพ่ือให้
เหมาะสมกบั ระดบั การเขา้ พกั ของแขก (Occupancy rate) ท่ีเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละช่วงเวลา นอกจากน้ี
ควรมีการใช้ Perpetual inventory ควบคูไ่ ปกบั ระบบ Par Level

ระบบ Perpetual inventory คือ การทาบนั ทึกของที่มีอยทู่ ้งั หมด จะแสดงใหเ้ ห็นวา่ มีจานวน
อออยู่มือเท่าไร เมื่อใดที่จะตอ้ งสั่งของใหม่ มีการยื่นคาร้องสาหรับการสั่งของ เพ่ือให้จานวนของน้นั ๆ
กลบั คืนมาอยใู่ นระดบั ของ maximum Level

การนบั จานวนของตามความจริงควรกระทาในทุกหอ้ งเก็บของทุกหอ้ งและกระทาเดือนละ
คร้ัง

 ของใช้สาหรับแขก (Guest Supplies)

ชนิดของใหส้ าหรับแขก
ชนิดและปริมาณของใชส้ าหรับแขก จะข้ึนอยกู่ บั ขนานของโรงแรม ประเภทของแขกที่มา

เขา้ หอ้ งพกั และระดบั ของการใหบ้ ริการ
แต่ส่วนใหญจ่ ะประกอดดว้ ย
- สบู่ถูตวั
- สบสู่ าหรับลา้ งหนา้
- กระดาษชาระ
- กระดาษสาหรับเช็ดหนา้
- ไมแ้ ขวนเส้ือ
- แกว้ น้า
- ถาดพลาสติก
- กาน้า
- ถงั น้าแขง็
- ไมข้ ีดไฟและที่เข่ียบุหร่ี
- ถงั ขยะ

และในบางในโรงแรมที่อยใู่ นระดบั กลางหรือหรูหรา อาจมีของใชส้ าหรับแขกเพมิ่ เติมอีก เช่น
- ครีมบารุงผวิ
- แชมพู และ ครีมนวดผม
- สบู่เหลวอาบน้า
- หมวกอาบน้า
- พรมในหอ้ งน้า
- ถุงใส่ผา้ อนามยั
- ชุดซ่อมแซมผา้
- ผา้ ขดั รองเทา้
- รองเทา้ ใส่นอน
- ถุงซกั รีดและถุงพลาสติกขนานตา่ งๆ
- ขนมขบเค้ียว หรือ ลูกกวาด

รวมถึงชุดอุปกรณ์การเขียนต่างๆ เช่น ปากกา ดินสอ กระดาษ ซองจดหมาย เป็ นตน้
รวมท้งั ป้ ายและเภทตา่ งๆ และแผน่ พบั

การสร้างระดบั ของ inventory สาหรับของใชส้ าหรับแขก
ในแต่ละโรงแรม จะมีมาตรฐานในการจดั ของใชส้ าหรับแขกที่แตกต่างกนั ไปสาหรับ 1 par

level ของใชส้ าหรับแขกจะเท่ากบั ของใชส้ าหรับแขกทุกชนิดที่ตอ้ งใส่ในทุกๆ ห้องพกั แขกท่ีมีท้งั หมด
ดงั น้นั จึงจาเป็นตอ้ งมีการคาดคะเนจานวนหอ้ งพกั ท้งั หมดล่วงหนา้ เพื่อจะไดท้ ราบถึงจานวนของใชส้ าหรับ
แขกท่ีตอ้ งการใชท้ ้งั หมดได้
วธิ ีการคานวณ เช่น สบถู่ ูตวั

1. ตอ้ งมีการสร้าง minimum quantity และ maximum quantity ก่อนโดยดูจากระดบั การเขา้ พกั ของ
แขก (occupancy rate) และระดบั การใชข้ องสบูถ่ ูตวั ดงั น้นั เราตอ้ งมาพิจารณาวา่ ในกล่องหน่ึงๆ ท่ี
โรงแรมส่งั ซ้ือมาน้นั มีจานวนกี่กอ้ น สมมติวา่ ใน 1 กล่อง มี 1000 กอ้ น
2. คานวณวา่ ใชส้ บู่ถูตวั จานวนกี่กอ้ นในวนั หน่ึงๆ ในช่วงเวลาที่มีแขกเขา้ พกั มากท่ีสุด สมมติวา่
โรงแรมมีจานวน 200 หอ้ ง และทุกหอ้ งตอ้ งมีสบู่ 1 กอ้ น เพราะฉะน้นั โรงแรมตอ้ งใชส้ บูถ่ ูตวั
จานวน 200 กอ้ นในหน่ึงวนั
3. จานวนสบู่ถูตวั ในหน่ึงกล่องจะใชห้ มดในก่ีวนั สมมติวา่ ใน 1 กล่อง จะบรรจุสบจู่ านวน 1000
กอ้ น ในวนั หน่ึงตอ้ งใชส้ บถู่ ูตวั จานวน 200 กอ้ น ดงั น้นั 1 กล่อง จะสามารถใชไ้ ดก้ ี่วนั ดงั น้นั 1000
÷ 200 = 5 วนั
4. เพือ่ คานวณหา minimum quantity จานวนกล่องสบถู่ ูตวั ที่ตอ้ งการซ้ือเอาไวใ้ นโรงแรม โดยการ
บวก lead-time quantity และ safety stock level สมมติ ผจู้ ดั การแผนกแม่บา้ น พจิ ารณา safety stock
level ท่ีเหมาะสมสาหรับสบู่ถูตวั คือ 1 กล่อง ซ่ึงเพยี งพอท่ีจะใชใ้ นโรงแรมจานวน 5 วนั และ lead-
time quantity (เวลาท่ีใชใ้ นการส่ังของและส่งของมายงั โรงแรม) จะประมาณ 5 วนั = 1 กล่อง ดงั น้นั
minimum quantity = 1 กล่องของ safety stock level + 1 กล่อง lead-time quantity = 2 กล่อง
5. การคานวณ maximum quantity นอกจากจะตอ้ งคานึงถึงสถานที่เกบ็ สิ่งของและเงินสดท่ีตอ้ งใช้
ในการซ้ือแลว้ อีกปัจจยั หน่ึง คือ ความบ่อยในการสั่งของ การคานวณทาไดโ้ ดยการเอาจานวนวนั ท่ี
ใชใ้ นการสงั่ ของ หารดว้ ยจานวนวนั ท่ีจะใชข้ องหมดในกล่องหน่ึง จากน้นั ใหบ้ วกดว้ ย minimum
quantity สมมติวา่ ผจู้ กั การแผนกแม่บา้ นคานวณแลว้ วา่ จะสง่ั สบถู่ ูตวั ในทุกๆ 30 วนั = 30 ÷ 5 = 6 ÷
2 = 8 กล่อง
ปัจจยั 3 ประการที่มีผลต่อ maximum quantity และ minimum quantity คือ
- ระดบั ของการเขา้ พกั ของแขก (occupancy rate)
- ระดบั ของการใช้
- ความบอ่ ยในการสัง่ ของ

การควบคุม inventory ของใชส้ าหรับแขก
ใชห้ ลกั การควบคุมเหมือนกบั วสั ดุในการทาความสะอาด

รูปภาพท่ี 9-2 ตวั อยา่ งของแบบฟอร์มควบคุมจานวนหนา้
(ท่ีมา : Central Plaza Hotel, Bangkok Thailand)

รูปภาพท่ี 9-3 ตวั อยา่ งของแบบฟอร์มควบคุมจานวนชุดยนู ิฟอร์ม
(ท่ีมา : Central Plaza Hotel, Bangkok Thailand)

รูปภาพท่ี 9-4 แบบฟอร์มคืนชุดยนู ิฟอร์มของพนกั งานเมื่อลาออกจากงาน
(ท่ีมา : Central Plaza Hotel, Bangkok Thailand)

รูปภาพท่ี 9-5 แบบฟอร์มจา่ ยชุดยนู ิฟอร์มใหก้ บั พนกั งานและใบรับชุดยนู ิฟอร์มของพนกั งาน
(ท่ีมา : Central Plaza Hotel, Bangkok Thailand)


Click to View FlipBook Version