The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tuscc50, 2022-02-17 03:00:27

TUCOOPAR2564_MOBILE - Copy

TUCOOPAR2564_MOBILE - Copy

¢£Å—ž’}}œ›—¥¤’œ£Š|ƒ›¤Š¡¤™——œ{Š¢z—’ €“ŠÅy

/>. >%'/< >V 'Ė
2564

ŠƒÎ’gj‡• ”u Šƒ’Î g‹…‘ap’y
t‡Î ‚zƒ”a’ƒ Šx

WWW.TUCOOP.OR.TH



สหกรณนี้มีความหมาย คําว‹า “สห” ก็ดŒวยกัน “กรณ” การทํา ทํางาน
ทํากิจการต‹าง ๆ หมายความว‹า “สหกรณ” แปลว‹าการทํางานร‹วมกัน
การทํางานร‹วมกันนี้ลึกซึ้งมาก เพราะว‹าจะตŒองร‹วมมือกันในทุกดŒาน
ทั้งในดŒานงานการที่ทําดŒวยร‹างกาย ทั้งในดŒานงานการที่ทําดŒวยสมอง

และงานการที่ทําดŒวยใจ ทุกอย‹างนี้ขาดไม‹ไดŒ ตŒองพรŒอม…

พระราชดาํ รสั พระบาทสมเด็จพระเจาŒ อยหู‹ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช
พระราชทานแก‹ผูนŒ ําสหกรณท่เี ฝา‡ ทูลละอองธุลพี ระบาท
ณ ศาลาดสุ ดิ าลยั เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2526

สารบัญ 10
11
สารจากนายกสภามหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร 12
สารจากอธิการบดมี หาวิทยาลัยธรรมศาสตร 15
สารจากประธานกรรมการ 16
ท่ีปรึกษาคณะกรรมการดําเนนิ การ 18
คณะกรรมการดาํ เนนิ การประจําป 2564 20
เจา หนา ที่สหกรณออมทรัพยประจาํ ป 2564 21
หนังสอื เชิญประชุมใหญส ามัญประจําป 2565 65
ผลการดาํ เนนิ งานประจําป 2564 80
รายงานการตรวจสอบกจิ การประจาํ ป 2564 85
การเลอื กตง้ั คณะกรรมการประจาํ ป 2565 127
การรบั รองงบการเงินและการจัดสรรกําไรสุทธิประจําป 2564 128
พจิ ารณาถอนทนุ รักษาระดบั อตั ราเงินปนผล เพ่อื จายปนผลใหแ กส มาชกิ 129
พจิ ารณาอนมุ ตั ใิ นหลกั การใหป รบั ลดทนุ สํารองจากรอยละ 20 เปน รอ ยละ 10 143
แผนงานและเปาหมายการดาํ เนินงานประจาํ ป 2565 144
การพจิ ารณาวงเงนิ ที่สหกรณจ ะกยู ืมหรอื การค้าํ ประกันประจาํ ป 2565 145
พิจารณาเลือกตั้งผูตรวจสอบกิจการและกําหนดคาตอบแทนการตรวจสอบ
การคัดเลือกผสู อบบัญชแี ละกําหนดคาธรรมเนียมการตรวจสอบ 146
พจิ ารณานโยบายการลงทุนประจาํ ป 2565 และพิจารณาอนุมัตใิ หสหกรณ
นาํ เงินไปฝากหรอื ลงทนุ ของสหกรณ 150
เร่อื งอื่น ๆ

- รายละเอยี ดผลประโยชนและคา ตอบแทนคณะกรรมการ ผูจัดการ
ผมู อี าํ นาจในการจัดการและทป่ี รกึ ษาสหกรณ ประจําป 2564

2 รายงานประจําป 2564

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด

ผลการดําเนินงาน
สําหรับป‚สิ้นสุดวันที่ 31ธันวาคม 2564

ประมาณการ ป 2564 ทําไดจริง เปรียบเทียบกับป 2563 เปรียบเทียบกับประมาณการ

ป 2563 เพ่ิม (ลด) อัตรา เพ่ิม (ลด) อัตรา เพิ่ม (ลด) จาก อัตรา
(ลานบาท) (ลานบาท) จากป 2563 เพ่ิม (ลด) (ลานบาท) % จากป 2563 เพิ่ม (ลด) ประมาณการ เพิ่ม (ลด)

31,195.64 (ลานบาท) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ) (ลานบาท) (รอยละ)
6,149.44
สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 3 1. ทุนดําเนินงาน 20,247.20 36,258.60 5,062.96 16.23 33,815.74 100.00 2,620.10 8.40 (2,442.86) (6.74)
- ทุนเรือนหุน 1,899.00 6,629.44 480.00 7.81 6,569.40 19.43 419.96 6.83 (60.04) (0.91)
- เงินรับฝาก 2,900.00 21,156.20 909.00 4.49 22,184.76 65.60 1,937.56 9.57 1,028.56 4.86
- ทุนสํารอง ทุนสะสม และอื่นๆ 1,972.96 73.96 3.89 1,976.58 5.85 77.58 4.09 3.62 0.18
- เงินกูยืม 30,417.42 6,500.00 124.14 3,085.00 9.12 185.00 6.38 (3,415.00) (52.54)
5,244.21 3,600.00
2. เงินใหกูและเงินลงทุน 6,659.26
- เงินใหกูแกสมาชิก 18,513.95 36,477.42 6,060.00 51.92 33,755.30 100.00 3,337.88 10.97 (2,722.12) (7.46)
- เงินใหกูแกสหกรณอ่ืน 3,000.10 5,244.21 - - 5,277.53 15.63 33.32 0.64 33.32 0.64
- เงินลงทุนดานอ่ืน 15,513.85 8,159.26 (33.48) (45.71)
: เงินฝาก 23,073.95 1,500.00 22.53 4,429.42 13.12 (2,229.84) 29.89 (3,729.84) 4.22
: ตราสารการเงินอื่น 485.28 3,000.10 4,560.00 29.39 24,048.35 71.25 5,534.40 – 974.40 –
20,073.85 - 3,000.10 8.89 – 35.67 – 4.85
3. กําไรสุทธิ - 29.39 21,048.25 62.36 5,534.40 974.40
4,560.00

511.38 26.10 5.38 342.34 (142.94) (29.46) (169.04) (33.06)

4 รายงานประจําป 2564 สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด

รายงานผลการเจริญเติบโต ป‚ 2560–2564

ป 2560 ป 2561 ป 2562 ป 2563 ป 2564

รายการ ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %
ทุนดําเนินงาน
27,731.69 100.00 30,286.12 100.00 32,797.07 100.00 31,195.64 100.00 33,815.74 100.00
ทุนเรือนหุน
เงินรับฝาก 4,875.33 17.58 5,336.21 17.62 5,813.26 17.72 6,149.44 19.71 6,569.40 19.43
ทุนสํารอง ทุนสะสม และอ่ืนๆ
เงินกูยืม 17,659.60 63.68 19,062.89 62.94 20,387.05 62.16 20,247.20 64.90 22,184.76 65.60
เงินใหกูแกสมาชิก
เงินกูสามัญ 1,606.76 5.79 1,698.02 5.61 1,796.76 5.48 1,899.00 6.09 1,976.58 5.85
เงินกูฉุกเฉิน
เงินกูพิเศษ 3,590.00 12.95 4,189.00 13.83 4,800.00 14.64 2,900.00 9.30 3,085.00 9.12
สมาชิกคงเหลือ
เงินออมเฉล่ียตอสมาชิก 5,206.26 100.00 5,441.60 100.00 5,441.61 100.00 5,244.21 100.00 5,277.53 100.00
เงินใหกูเฉล่ียตอสมาชิก
ทุนเรือนหุนเฉลี่ยตอสมาชิก 2,009.05 38.59 2,091.77 38.44 2,152.48 39.56 2,124.37 40.51 2,260.48 42.83
กําไรสุทธิตอทุนเรือนหุน
กําไรสุทธิ 17.53 0.34 20.15 0.37 20.62 0.38 23.48 0.45 14.76 0.28

3,179.68 61.07 3,329.68 61.19 3,268.51 60.06 3,096.36 59.04 3,002.29 56.89

9,372 คน 9,650 คน 9,910 คน 9,975 คน 10,153 คน

2,404,495 บาท 2,528,404 บาท 2,643,825 บาท 2,646,279 บาท 2,832,085 บาท

555,512 บาท 563,896 บาท 549,103 บาท 525,735 บาท 519,800 บาท

520,202 บาท 552,975 บาท 586,605 บาท 616,485 บาท 647,039 บาท

9.77% 9.76% 9.63% 7.89% 5.21%

476,151,863.52 บาท 520,973,042.32 บาท 559,978,101.07 บาท 485,280,620.93 บาท 342,336,429.65 บาท

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด

รายงานโครงสรŒางรายไดŒและกําไรสุทธิ ป‚ 2560–2564

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 5 รายการ ป 2560 ป 2561 ป 2562 ป 2563 ป 2564
รายได ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท % ลานบาท %
1,153.88 100.00 1,241.75 100.00 1,329.16 100.00 1,196.41 100.00 1,126.84 100.00
ดอกเบ้ียรับเงินใหสมาชิกกู
ดอกเบ้ียรับเงินใหสหกรณอ่ืนกู 253.46 21.97 268.55 21.63 269.98 20.31 245.01 20.48 249.64 22.16
ดอกเบ้ียรับเงินลงทุน 382.02 33.11 390.33 31.43 439.39 33.06 354.62 29.64 196.87 17.47
รายไดอ่ืน 518.13 44.90 582.59 46.92 619.27 46.59 596.04 49.82 680.18 60.36
รายได
ดอกเบ้ียจาย 0.27 0.02 0.28 0.02 0.52 0.04 0.74 0.06 0.15 0.01
คาใชจายในการดําเนินงาน 1,153.88 100.00 1,241.75 100.00 1,329.16 100.00 1,196.41 100.00 1,126.84 100.00
กําไรสุทธิ
619.17 53.65 669.08 53.88 714.96 53.79 652.43 54.53 614.15 54.50
58.56 5.08 51.70 4.16 54.22 4.08 58.70 4.91 170.35 15.12
476.15 41.27 520.97 41.96 559.98 42.13 485.28 40.56 342.34 30.38

สวัสดกิ าร
เงนิ กองทนุ ทดแทนสมาชกิ เนอ่ื งจากการเสยี ชีวติ
❁ เปน สมาชิกนอ ยกวา 1 ป ไดรบั 20,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ต้งั แต 1 ป ถงึ 5 ป ไดร บั 30,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตั้งแต 6 ป ถงึ 10 ป ไดร บั 50,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตง้ั แต 11 ป ถงึ 15 ป ไดร บั 70,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ต้งั แต 16 ป ถงึ 20 ป ไดรับ 90,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตั้งแต 21 ป ถึง 25 ป ไดร ับ 110,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 26 ป ถึง 30 ป ไดรบั 130,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตง้ั แต 31 ป ถงึ 35 ป ไดรับ 150,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตง้ั แต 36 ป ถึง 40 ป ไดร บั 170,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตง้ั แต 41 ป ถงึ 45 ป ไดร ับ 200,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตงั้ แต 46 ปข ้นึ ไป ไดรบั 250,000 บาท
การประสบอบุ ัตเิ หตุถงึ กับสูญเสยี ชีวติ หรืออวัยวะ
❁ เสยี ชีวติ 300,000 บาท
❁ มอื สองขางตั้งแตข อ มอื หรือเทาสองขา งตั้งแตข อเทา หรือสายตา 2 ขา ง 300,000 บาท
❁ มอื หนง่ึ ขา งตัง้ แตข อมอื และเทาหน่งึ ขา งตั้งแตขอเทา 300,000 บาท
❁ มือหน่งึ ขา งตง้ั แตขอ มือและสายตาหนึ่งขาง 300,000 บาท
❁ เทา หนง่ึ ขา งต้ังแตข อเทาและสายตาหนง่ึ ขาง 300,000 บาท
❁ มอื หนงึ่ ขา งตั้งแตข อ มือ 180,000 บาท
❁ เทาหนึง่ ขา งตั้งแตข อ เทา 180,000 บาท
❁ สายตาหน่งึ ขา ง 180,000 บาท
การเบกิ คารักษาพยาบาลในกรณีทีป่ ระสบอุบัตเิ หตุเบิกไดค ร้ังละไมเ กนิ 15,000 บาท
ทนุ สงเคราะหสมาชกิ หรอื คสู มรส หรอื บดิ า หรอื มารดาของสมาชิกประสบภัยพิบตั ิ
❁ ทพ่ี ักและทรัพยส นิ ของสมาชิกเอง ตามความเสยี หายจรงิ แตไมเ กนิ 50,000 บาท
❁ ท่ีพักและทรัพยส นิ ของสมาชิกเชาอาศยั อยูตดิ ตอ กนั มาไมน อ ยกวา 1 ป ไดร ับความชว ยเหลอื ไมเกินวงเงิน 20,000 บาท
❁ ท่พี ักและทรัพยส ินของคูสมรส หรอื บดิ า หรอื มารดาไดรบั ความชวยเหลือไมเ กนิ วงเงนิ 20,000 บาท
ทนุ เพ่อื การสงเคราะหเ กย่ี วกบั การศพคสู มรส หรือบตุ ร หรือบดิ า หรือมารดาของสมาชกิ
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 1 ป ถึง 5 ป ไดร ับ 6,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตง้ั แต 6 ป ถึง 10 ป ไดรับ 7,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตง้ั แต 11 ป ถึง 15 ป ไดร บั 8,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตงั้ แต 16 ป ถึง 20 ป ไดร ับ 9,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ต้ังแต 21 ป ถึง 25 ป ไดร บั 10,000 บาท
❁ เปนสมาชิกตั้งแต 26 ป ถงึ 30 ป ไดร ับ 11,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 31 ป ถงึ 35 ป ไดรบั 12,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตั้งแต 36 ป ถึง 40 ป ไดรบั 13,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 41 ป ถึง 45 ป ไดรบั 14,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 46 ปขนึ้ ไป ไดร บั 15,000 บาท
ทนุ เพอื่ ชวยเหลือสมาชกิ เม่ือทาํ การสมรส
เมื่อสมาชิกสมรสและไดจดทะเบยี นสมรสโดยถูกตอ งตามกฎหมาย จะไดรบั การชว ยเหลือรายละ 1,500 บาท
ทนุ สวสั ดกิ ารสาํ หรบั สมาชกิ ผเู ปนโสด
สมาชกิ ทเ่ี ปนโสดท่ีเปนสมาชกิ ใน สอมธ. ตัง้ แต 15 ปขึน้ ไป และมีอายุครบ 50 ปบริบรู ณ
ไมเคยขอรับสวสั ดกิ ารของ สอมธ. เก่ยี วกบั บุตรจะไดรับสวัสดกิ ารในอัตราคนละ 1,500 บาท
ทนุ เพ่ือสมทบเปน คา รกั ษาพยาบาล
สหกรณจะจายเงนิ สมทบเปนคารกั ษาพยาบาลใหเฉพาะสมาชิกท่เี ขา รบั การรักษาประเภทคนไขในอัตรา 300 บาท/วนั
แตไ มเ กินครง้ั ละ 20 วันตอ ครัง้

ทุนสาธารณประโยชนกรณที ุนการศกึ ษาบตุ รสมาชิก
สอมธ. มอบทุนการศึกษาแกบ ุตรของสมาชกิ ประจําป ดงั นี้
❁ ทุนเรียนดี ทนุ ละ 2,500 บาท
❁ ทนุ สง เสริมการศึกษา ทนุ ละ 3,000 บาท
❁ ทุนเรียนดีและทนุ สง เสริมการศกึ ษา ทนุ ละ 3,500 บาท
❁ ทุนเรียนดแี ตข าดแคลนทุนทรัพย
• ชั้นประถมศกึ ษาปท ่ี 6 ทุนละไมเกนิ 6,200 บาทตอ ป
• ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 1–3 ทุนละไมเ กิน 8,300 บาทตอ ป
• ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 4–6 ทุนละไมเกิน 11,700 บาทตอป
• ชัน้ ปริญญาตรี ทนุ ละไมเกิน 15,000 บาทตอป
กองทุนเกษียณอายรุ าชการ
1. กรณอี อกจากราชการหรืองานประจําเมอ่ื มอี ายตุ ั้งแต 50 ป ขนึ้ ไป
❁ เปน สมาชกิ ตง้ั แต 10 ป ถึง 15 ป 10,000 บาท
❁ เปนสมาชิกตง้ั แต 16 ป ถึง 20 ป 20,000 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 21 ป ถงึ 25 ป 30,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 26 ป ถงึ 30 ป 40,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตง้ั แต 31 ป ถงึ 35 ป 50,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตงั้ แต 36 ปขนึ้ ไป 60,000 บาท
2. กรณลี าออกจากราชการหรอื งานประจาํ เมอ่ื มีอายนุ อยกวา 50 ป แตร ับราชการหรอื งานประจําตง้ั แต 25 ป ขน้ึ ไป
❁ เปน สมาชกิ ตั้งแต 10 ป ถึง 15 ป 5,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตัง้ แต 16 ป ถึง 20 ป 10,000 บาท
❁ เปนสมาชิกตั้งแต 21 ป ถึง 25 ป 15,000 บาท
❁ เปนสมาชิกต้ังแต 26 ป ถึง 30 ป 20,000 บาท
❁ เปนสมาชิกตง้ั แต 31 ปข้นึ ไป 25,000 บาท
กองทนุ ทดแทนกรณสี มาชกิ อายุครบ 61 ป ถงึ 95 ปบริบรู ณ
❁ เปนสมาชกิ ต้ังแต 1 ป ถึง 5 ป 400 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตง้ั แต 6 ป ถงึ 10 ป 800 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 11 ป ถึง 15 ป 1,600 บาท
❁ เปน สมาชกิ ตง้ั แต 16 ป ถึง 20 ป 2,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 21 ป ถึง 25 ป 3,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตัง้ แต 26 ป ถงึ 30 ป 4,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตง้ั แต 31 ป ถงึ 35 ป 5,000 บาท
❁ เปนสมาชิกต้ังแต 36 ปข้ึนไป 6,000 บาท
โดยจาํ นวนเงินท่สี มาชกิ รบั ไปแลว จะหกั ออกจากเงินทดแทนตามสทิ ธิที่สมาชิกจะไดรบั จากกรณีเสยี ชีวิต
ทุนสาธารณประโยชนเ พ่อื ชวยเหลอื สมาชกิ ท่มี หาวิทยาลัยใหอ อกจากราชการ เพราะเหตุทพุ พลภาพ
❁ เปน สมาชิกนอยกวา 1 ป 10,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 1 ป ถงึ 5 ป 20,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตง้ั แต 6 ป ถงึ 10 ป 40,000 บาท
❁ เปนสมาชิกต้ังแต 11 ป ถึง 15 ป 60,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตัง้ แต 16 ป ถึง 20 ป 80,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตัง้ แต 21 ป ถึง 25 ป 100,000 บาท
❁ เปน สมาชิกตงั้ แต 26 ป ถึง 30 ป 120,000 บาท
❁ เปนสมาชิกตัง้ แต 31 ป ถึง 35 ป 140,000 บาท
❁ เปนสมาชกิ ตั้งแต 36 ปข้นึ ไป 160,000 บาท

สหกรณออมทรัพย
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด

คําขวัญสหกรณ

สรางชีวิต สรางหลักฐาน ดวยบริการ สอมธ.

วิสัยทัศน

เปนสหกรณที่บริหารงานดวยหลักธรรมาภิบาลและมั่นคง
ยกระดับคุณภาพชีวิตสมาชิกเพื่อความเปนอยูที่ดีอยางยั่งยืน
และสรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนแกสมาชิก
มุงมั่น ดูแล และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร
พรอมใสใจในสิ่งแวดลอมและสรางคุณภาพที่ดีขึ้นแกสังคม

พันธกิจ

1. พัฒนาการบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล
2. ดูแลและพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและระบบงานใหเปน

องคกรชั้นนําในทุกดาน
3. ใหบริการและคําแนะนําที่มีคุณคาแกลูกคาอยางตอเนื่อง
4. สงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นใหแกสมาชิกอยางยั่งยืน
5. สรางผลตอบแทนที่ดีอยางยั่งยืนใหแกสมาชิก
6. รวมพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน

กลยุทธ

เปนองคกรที่สงเสริมความมั่นคงทางเศรษฐกิจของสมาชิก
บนพื้นฐานของการชวยเหลือตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกัน
เอื้ออาทรตอสังคม

เปาหมาย

1. สงเสริมความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักการและวิธีการสหกรณ
2. สงเสริมการวางแผนการใชเงินและออมเงินอยางเขาใจเพื่อวัยทํางานและ

ยามเกษียณ
3. สงเสริมการลงทุนเพื่ออาชีพที่ 2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
4. สงเสริมและพัฒนาระบบบริการดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย

ตอบสนองตอความตองการของสมาชิก
5. บริหารงานดวยความสามัคคี โปรงใส ยุติธรรม ใสใจคุณภาพชีวิต

ของสมาชิก

สารจาก
นายกสภามหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร

สหกรณออมทรัพยเปนสถาบันการเงินชนิดหนึ่งที่จัดต้ัง
โดยความสมัครใจของสมาชิก ควบคุมการบริหารโดยสมาชิก
เพ่ือประโยชนของสมาชิกในดานการออมเงิน และชวยเหลือ
สมาชิกเม่ือมีความจําเปนดานการเงิน เพื่อเปนสวัสดิการแกสมาชิกดวยกัน ดังนั้น การดําเนินงานของสหกรณ
จึงเปนไปตามกระบวนการประชาธิปไตย ซ่ึงผูบริหารจะตองคํานึงถึงความมั่นคงขององคกร และประโยชน
ของสมาชิกเปนหลัก
ในป 2565 สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด กาวสูปที่ 50 แหงการกอต้ัง แมวา
ในรอบป 2564 จะมีสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซ่ึงมี
ผลกระทบตอการบริหารงานของ สอมธ. บาง นอกจากน้ียังมีเร่ืองราวที่เกิดปญหาภายในสหกรณ จนเปนที่
ร่ําลือไปขางนอกองคกรทําใหสมาชิกจํานวนมาก มีความสงสัยทางสหกรณออมทรัพย ซึ่งเปนองคกรที่อยูได
ดวยศรัทธาของสมาชิก จึงตองทําเร่ืองตางๆ ใหโปรงใส มีคําอธิบายใหสมาชิกเขาใจ อยาใหมีความเขาใจ
ที่จะขยายตัวไปเปนความเขาใจผิด และเสียหายตอองคกร ท้ังนี้จะทําอยางไรคณะกรรมการผูซ่ึงไดรับเลือกต้ัง
มาจากสมาชิกยอมรูดี และรีบดําเนินการใหเร็วที่สุด จึงจะดีท้ังแกคณะกรรมการ และสหกรณออมทรัพย
ของเรา
ทายนี้ ผมขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายจงดลบันดาลใหสมาชิก
คณะกรรมการดําเนินการ เจาหนาที่ทุกทาน จงประสบแตความสุข ความเจริญสืบไป
(ศาสตราจารยพิเศษ นรนิติ เศรษฐบุตร)

นายกสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สารจาก
อธิการบดี

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด
(สอมธ.) ไดจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2511
เมื่อวันที่ 11 กันยายน 2515 และในป 2565 จะกาวสูปท่ี 50
ของการดําเนินงานของ สอมธ. โดยมีผลการดําเนินงานเจริญเติบโต ม่ันคง และกาวหนามาเปนลําดับ
ในป 2564 เปนปที่สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด ตองปรับตัวและใชความ
ระมัดระวังในการบริหารงาน เนื่องจากสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
รวมถึงปจจัยตางๆ ท่ีสงผลกระทบตอการบริหารงานของ สอมธ. แตอยางไรก็ตาม สอมธ. ยังคงยึดม่ันตาม
หลักการและอุดมการณของสหกรณโดยสมาชิกจะตองอยูดี และกินดี
ในโอกาสที่สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด ไดจัดประชุมใหญสามัญประจําป 2565
เพื่อรายงานผลการดําเนินงานประจําป 2564 และในโอกาสท่ีจะกาวสูปท่ี 50 ดิฉันในนามของมหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตรขอแสดงความยินดีกับ สอมธ. และขอใหการดําเนินงานกาวหนาย่ิงๆ ขึ้นไป
สุดทายน้ีขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัยและส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท้ังหลายโปรดดลบันดาลใหสมาชิก
คณะกรรมการดําเนินการ และเจาหนาที่ของ สอมธ. ทุกทาน ประสบแตความสุข ความเจริญย่ิงๆ ข้ึนไป

(รองศาสตราจารยเกศินี วิฑูรชาติ)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

สารจาก
ประธานกรรมการ สอมธ.

ในวันน้ี เปนวันส้ินสุดวาระ 2 ป ของผมในการเขามา
ทําหนาที่ประธานกรรมการ (2563–2564) ผมรูสึกเปนเกียรติ
ท่ีไดมีโอกาสเปนตัวแทนของสมาชิกเขามาบริหารสหกรณรวมกับ
กรรมการดําเนินการสมัยท่ี 49 และ 50 และไดผานพนวิกฤตการณสําคัญๆ หลายเหตุการณ ต้ังแตวิกฤตการณ
ไวรัสโคโรนา 2019 ทําใหตองออกมาตรการพักชําระหน้ี วิกฤตการณการบริหารลูกหน้ีที่ผิดนัดชําระมากกวา
200 สัญญา รวมท้ังวิกฤตการณหุนกูการบินไทย และวิกฤติศรัทธาเกี่ยวกับการจัดทําเอกสารประเมินราคาที่ดิน
เท็จ/ปลอมเพ่ือนํามาขอกูเงินกับสหกรณ คณะกรรมการดําเนินการชุดที่ 49 และ 50 ไดรวมกันแกไขปญหาตางๆ
เหลาน้ันใหผานไปไดดวยดี อาทิ ออกระเบียบการปรับโครงสรางหน้ี และต้ังคณะอนุกรรมการใหมที่สําคัญ
หลายชุด เชน คณะอนุกรรมการติดตามและเรงรัดหนี้สิน คณะอนุกรรมการการลงทุนและบริหารความเส่ียง
คณะอนุกรรมการฝายกฎหมายและระเบียบ คณะอนุกรรมการตรวจสอบการดําเนินการท่ีอาจกอใหเกิดความ
เสียหายแกสหกรณ ทําใหการบริหารสหกรณเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและมีธรรมาภิบาล โปรงใส และ
ตรวจสอบได เพื่อใหสหกรณไดเกิดการพัฒนาโดยอาศัยบทเรียนในอดีต และในการประชุมคณะกรรมการ
ดําเนินการชุดที่ 50 ในเดือนมกราคมท่ีผานมา ไดรวมกันพิจารณาหาแนวทางแกไขและมีมติใหกําหนดมาตรการ
และกลไกการทํางานอยางเปนระบบ เพื่อออกระเบียบและกําหนดหลักเกณฑที่เก่ียวของสําหรับปองการมิให
เกิดปญหาในลักษณะดังกลาวข้ึนอีกในอนาคต
การบริหารสหกรณนั้นตองเปนไปดวยความรอบคอบ โดยยึดมั่นหลักการและเจตนารมณของสหกรณ
กลาวคือ สหกรณเปนศูนยกลางสําหรับสมาชิกใหการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน สมาชิกผูมีเงินเหลือ นําเงิน
มาออมกับสหกรณในรูปเงินฝาก และทุนเรือนหุน สมาชิกท่ีตองการใชเงิน มาขอกูเงินกับสหกรณท่ีสมาชิก
นํามาฝากและลงทุนไว สหกรณก็นําเงินฝากและทุนเรือนหุนของสมาชิกไปเปนทุนดําเนินการและลงทุนใน
ดานตางๆ เพื่อหารายไดจัดสรรกําไรกลับคืนสูสมาชิก ดังน้ัน การบริหารกิจการของสหกรณน้ัน นอกจากตอง
อาศัยบุคคลที่มีความรูความสามารถและปฏิบัติหนาท่ีดวยหลักธรรมาภิบาลอยางหนักแนนแลว ยังตองชวยกัน
สรางกลไกการบริหารจัดการที่ดีเพื่อสรางความเช่ือมั่นใหแกสมาชิกสวนใหญของสหกรณอีกทางหนึ่งดวย
ในป 2564 น้ี เมื่อพิจารณาในดานประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดําเนินการของ สอมธ.
เม่ือเปรียบเทียบกับคาเปาหมายที่ไดรับอนุมัติจากท่ีประชุมใหญสามัญในปท่ีผานมา พบวา สอมธ. สามารถ
ดําเนินกิจการไดเกินกวาเปาหมายท่ีตั้งไว กลาวคือ สอมธ. ควรจะมีกําไรสุทธิจํานวน 564.34 ลานบาท
ซึ่งสูงกวาคาเปาหมายที่กําหนดไว 511.38 ลานบาท และควรไดรับเงินปนผลในอัตรา 6.29%
อยางไรก็ตาม สอมธ. ไมสามารถใชตัวเลขเงินกําไรสุทธิจํานวน 564.34 ลานบาท ไปจัดสรรใหแก
สมาชิกไดท้ังหมด ดวยเหตุผลที่สรุปไดดังน้ี
1) ดวยเงื่อนไขของแผนฟนฟูกิจการ ทําใหการบินไทยไมตองชําระหน้ีดอกเบ้ียหุนกูให สอมธ. ในระหวาง
ที่อยูในแผนฟนฟู ทําใหรายไดในรูปดอกเบ้ียของ สอมธ. ท่ีควรจะไดรับในป 2564 ขาดหายไป
จํานวน 103.75 ลานบาท

2) สอมธ. ไดรับหนังสือจากกรมตรวจบัญชีสหกรณในเดือนกันยายน 2564 ใหสหกรณกันเงินกําไรสุทธิ
ออกมาสํารองเปนคาเผ่ือหนี้ที่สงสัยจะสูญ ในอัตรา 5% ของเงินลงทุน จํานวน 2,365 ลานบาท
โดยใหบันทึกการรับรูการดอยคาทางบัญชีไว ดังนั้นจึงมีคาใชจายเพิ่มขึ้นในสวนของการต้ังดอยคา
จํานวน 118.25 ลานบาท

3) ผลรวมของยอดเงินท่ีตองกันออกจากยอดกําไรสุทธิตาม ขอ 1) และขอ 2) คิดเปนจํานวนเงิน
222.00 ลานบาท ดังน้ัน จึงเหลือกําไรสุทธิท่ีสามารถนํามาจัดสรรใหกับสมาชิกในป 2564 ไดเพียง
342.34 ลานบาท

การท่ีเงินกําไรสุทธิ (ตัวต้ัง) ที่จะสามารถจัดสรรใหกับสมาชิกไดลดลงเนื่องจากขอเท็จจริงดังกลาว
ขางตน ประกอบกับทุนเรือนหุน (ตัวหาร) ที่เติบโตขึ้น จึงทําใหอัตราเงินปนผลลดลงกวาท่ีควรจะเปนไปมาก
อยางไรก็ตาม คณะกรรมการดําเนินการจําเปนตองปฏิบัติตามกติกาของระบบสหกรณ กลาวคือเมื่อไดรวมกัน
พิจารณาอยางรอบคอบแลว คณะกรรมการจึงมีมติใหจัดสรรกําไรสุทธิจากยอดเงินจํานวน 342.34 ลานบาท
โดยสามารถจายเงินปนผลไดในอัตรา 3.85% และเงินเฉลี่ยคืนในอัตรา 10%

ทั้งน้ี คณะกรรมการดําเนินการตระหนักดีวาเงินปนผลเปนส่ิงที่สมาชิกคาดหวังเพื่อนําไปใชในการ
ดํารงชีพในสถานการณปจจุบัน ซ่ึงพอจะบรรเทาความเดือดรอนของสมาชิกได ดังน้ันคณะกรรมการดําเนินการ
ชุดท่ี 50/2564 ในการประชุมครั้งท่ี 3/2565 วันที่ 29 มกราคม 2565 จึงไดมีมติใหนําทุนรักษาระดับ
อัตราเงินปนผลมาชดเชยในอัตรา 0.60% เพื่อใหสามารถจายเงินปนผลไดในอัตรา 4.45% อยางไรก็ตาม
การที่จะสามารถนําทุนรักษาระดับเงินปนผลในอัตรา 0.60% มาชดเชยใหเงินปนผลเพิ่มจาก 3.85% ไปเปน
4.45% ไดนั้น จะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญสามัญประจําปดวย

นอกจากนี้ ในการจัดสรรกําไรสุทธิใหกับสมาชิกนั้น สอมธ. ยังมีตัวเลขท่ีเปน Handicap อยูดวย
เม่ือเปรียบเทียบกับสหกรณอื่นๆ ในประเทศไทย กลาวคือ สอมธ. ไดกําหนดในขอบังคับใหกันเงิน 20% ของ
กําไรสุทธิเขาเปนทุนสํารองของสหกรณ กอนนําไปจัดสรรเปนเงินปนผลและเฉลี่ยคืนดอกเบ้ียใหกับสมาชิก ดังนี้
กําไรสุทธิ (จัดสรร) = กําไรสุทธิ – (0.2 x กําไรสุทธิ)

สอมธ. เปนสหกรณเพียงแหงเดียวที่กันเงินสํารองไวถึง 20% ซึ่งกันไวมากกวาที่กฎหมายกําหนดไว
เพียง 10% ซ่ึงเร่ิมบังคับใชมาตั้งแตป พ.ศ. 2545 นโยบายการเก็บเงินทุนสํารองท่ีสูงกวากฎหมายกําหนด
ในอดีตที่ผานมามีขอดีคือทําให สอมธ. มีเงินทุนสํารองในสัดสวนท่ีสูงท่ีสุดเมื่อเทียบกับกลุมสหกรณออมทรัพย
ทั่วประเทศ ซ่ึงเปนดัชนีชี้วัดระดับความมั่งคงทางการเงินของ สอมธ. อยางไรก็ตามการกันเงินในสัดสวน 20%
เปนทุนสํารองของสหกรณ อาจสูงเกินกวาที่ควรจะเปนในสถานการณปจจุบันและอนาคตเน่ืองจากอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายของประเทศอยูในระดับท่ีตํ่ามาก ดังน้ันการพิจารณาปรับลดอัตราการกันเงินสํารองให
เหมาะสม อยางนอยไมต่ํากวาอัตราที่เปนไปตามที่กฎหมายกําหนดจึงมีความจําเปน เพ่ือใหสามารถนํากําไรสุทธิ
ในสวนน้ีมาจัดสรรใหกับสมาชิกเปนเงินปนผล เฉล่ียคืนดอกเบ้ีย และสวัสดิการ ใหกับสมาชิกไดเพ่ิมขึ้น
อน่ึง ทุนสํารองของสหกรณจะถอนนํามาใชไดนั้น ตาม มาตรา 61 แหงพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542
กลาววา ทุนสํารองตามมาตรา 60 จะถอนจากบัญชีทุนสํารองไดเพื่อชดเชยการขาดทุนหรือเพ่ือจัดสรรเขาบัญชี
ทุนสํารองใหแกสหกรณใหมท่ีจดทะเบียนแบงแยกจาก สหกรณเดิมตามมาตรา 100 ดังน้ัน เมื่อพิจารณาตาม
ขอกฎหมายแลว ทุนสํารองที่กันออกจากกําไรสุทธิดังกลาว จึงไมสามารถนํามาจัดสรรคืนใหกับสมาชิกได
ตามบทบัญญัติของกฎหมายสหกรณ เนื่องดวยหมวดวาดวยเงินทุนสํารองไดถูกกําหนดในขอบังคับฯ ซ่ึงตอง
ไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมใหญ ดังน้ันคณะกรรมการดําเนินการจึงไดมีมติใหเสนอท่ีประชุมใหญให
เห็นชอบการปรับลดอัตราทุนสํารองที่กันออกจากกําไรสุทธิจาก 20% ใหเปน 10% ตามอัตราท่ีกฎหมาย

กําหนด ซ่ึงจะทําใหมีเงินมาจัดสรรใหกับสมาชิกไดเพิ่มข้ึนในปถัดๆ ไป โดยใหจัดสรรเงินกําไรสุทธิเขาไปใน
กองทุนรักษาระดับเงินปนผลทุกป ปละไมเกินกวารอยละสองแหงทุนเรือนหุนของ สอมธ. ท่ีมีอยูในวันสิ้นปน้ัน
หากไดรับอนุมัติ สอมธ. จะไดนําไปแกไขในขอบังคับ โดยจะเปดประชุมใหญวิสามัญเพ่ือพิจารณาอนุมัติขอบังคับ
ใหมีผลบังคับใชตอไป

ทายน้ี ผมขอกราบขอบพระคุณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และเพ่ือนสมาชิกทุกทาน ที่ใหโอกาสผม
ไดเขามาทําหนาที่ประธานกรรมการ ซ่ึงผมตั้งใจทําหนาที่นี้เพียงวาระเดียวอยางเต็มความสามารถ ผมขอ
สงตอความรักและความปรารถนาดีไปยังเพื่อนสมาชิก สอมธ. ทุกทาน และขอถือโอกาสนี้ แสดงความยินดี
กับ ผูชวยศาสตราจารย นพ. ฉัตรชัย ม่ิงมาลัยรักษ ประธานกรรมการคนตอไป ที่เสียสละเขามาทําหนาท่ี
ผูนําสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด รวมกับกรรมการท่ีไดรับการเลือกตั้งใหเขามาทําหนาที่
บริหารสหกรณในกรรมการดําเนินการชุดท่ี 51 นี้ ขอใหประธานกรรมการ และกรรมการดําเนินการชุดท่ี 51
ทุกทาน บริหารงานดวยความราบรื่น มีความเจริญกาวหนา นําพา สอมธ. ของเราใหมีความเจริญรุงเรืองและ
มั่นคงสืบไป

(รองศาสตราจารย วาท่ีรอยตรี ดร.นพพร ลีปรีชานนท)
ประธานกรรมการ

ท่ปี รึกษากติ ติมศักดแ์ิ ละท่ปี รกึ ษา สอมธ. ป 2564

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ เศรษฐบุตร
วิฑรู ชาติ
ศาสตราจารยพเิ ศษ นรนติ ิ สวุ รรณทตั
รองศาสตราจารยเกศินี จรรยศ ภุ รนิ ทร
ผูชว ยศาสตราจารยเ ตม็ ใจ พาหิระ
ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.พิชยั
รองศาสตราจารย ดร.มนูญ

ท่ีปรึกษา อินทรชมุ นุม

อาจารยป รเมศวร

รายนามคณะกรรมการดาํ เนินการชดุ ท่ี 50/2564

สหกรณอ อมทรพั ยมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร จํากดั

รองศาสตราจารย วาท่ีรอยตรี ดร.นพพร ลีปรีชานนท
ประธานกรรมการ

นายอภินันท ชูหนู นายเอกชัย ราชแสง นางสาวมาลินี แซตั้ง
รองประธานกรรมการคนที่ 1 รองประธานกรรมการคนท่ี 2 รองประธานกรรมการคนที่ 3

นายรังษี ธารารมย นางสาวพรชนิตว ทองแจม
เหรญั ญิก กรรมการและเลขานุการ

นางสาวจรรยา สุขพินิจ นางสาวจุฬาภรณ พรหมมาพันธุ
กรรมการ กรรมการ

นางสาวนฤมล บุญมา ผูชวยศาสตราจารย ดร.นนทวรรณ ยมจินดา นายบุญเลิศ วั่นเส็ง
กรรมการ กรรมการ กรรมการ

นางสาวภาวรรณ พันธไพโรจน นางสาวศรีสุข มงกุฎวิสุทธ์ิ
กรรมการ กรรมการ

เจาŒ หนŒาท่ี สอมธ. สํานักงานทา‹ พระจนั ทร ประจาํ ป‚ 2564

นางบุศริน ชางอยู นางแสงเทียน ปรุงแสง นางสาวนิตยา โชครักษ นางสาววันเพ็ญ หนูเล็ก
ผจู ดั การ ผชู ว ยผจู ัดการ ผชู วยผูจดั การ ผูชว ยผจู ดั การ

นายนุกูลกิต เรืองศรี นางทิพวรรณ วัฒนสิทธ์ิกุล นางแพรวดาว วงศเฉลียว นางสาววาสนา ก่ิงแกว
หวั หนาฝายบริการสินเชื่อ เจา หนาท่ีอาวโุ ส เจา หนาทีบ่ ริการเงนิ ออม เจาหนาที่บริการเงินออม

นางสาวนุชจรี เทียนขาว นายสุเมธ คงกลอม นางสาวนันทกา เทพดินินทร นายนิธิโรจน แกววิเชียร
เจา หนาทีบ่ ริการเงินออม เจาหนา ทบ่ี ริการเงินออม เจาหนา ทบ่ี ริการเงินออม เจา หนาทบ่ี รกิ ารสนิ เช่อื

นางสาวจงกลพร แตงเจริญ นายภาณุวัฒน ขวัญเซง นางสาวธิดารัตน เข็มเพ็ชร นางสาวนัฐพร นายะพันธ
เจาหนาท่ีบริการสนิ เชื่อ เจา หนา ท่ีบรกิ ารสินเชื่อ เจาหนาท่ีบรกิ ารสินเชื่อ เจา หนาทีบ่ ริการสนิ เชอื่

นางกิติยา รามณรงค นางสุนันทา ญาณศีล นางสาวรักชนก นาคนาค นางสาวสิริทัศน คงริน
เจา หนาท่บี ญั ชีและประมวลผล เจา หนาที่บรหิ ารสหกรณ เจา หนา ทบ่ี ริหารสหกรณ นิตกิ ร

เจาŒ หนาŒ ท่ี สอมธ. สํานกั งานศนู ยรงั สิต ประจาํ ป‚ 2564

นายชวินโรจน โชครัตนมณฑล นางสาวนงลักษณ สีนวลนนทสกุล นางศิวาพร ไชยวานิช นางสาวสุธารัตน จันทเนตร
พนกั งาน รองผูจัดการ หัวหนาฝา ยบรกิ ารเงนิ ออม เจาหนาท่ีอาวุโส

นางสาวกานดา เอ่ียมละออง นางจันทวรรณ คุณนามพันธ นางสาวณัฐณิชา งานขยัน นางสาวธนัชพัชร ฤกษดี
พนกั งาน เจา หนา ทีบ่ รกิ ารเงนิ ออม เจา หนาท่บี ริการเงินออม เจาหนาทบ่ี รกิ ารเงินออม

นางสาวชนัดดา พิกุล นางสาวอรวรรณ กุลเกียรติงามดี นางสาวประภัสสร ทวีสิน นายปณณวิชญ ชุมช่ืน
เจาหนา ท่บี รกิ ารเงินออม เจา หนา ท่บี ริการสินเช่อื เจา หนา ท่บี ริการสินเช่อื เจาหนาท่ีบรกิ ารสนิ เชื่อ

นางสาวโชติมา รักรุงเรือง นายนิรุทธ์ิ ทองสุข นางสาวหทัยพันธน อินเปน นายชรินทร เทียรใส
เจา หนาทบ่ี ัญชแี ละประมวลผล เจา หนา ที่สารสนเทศ เจา หนา ทบ่ี ริหารสหกรณ พนักงาน

เจŒาหนาŒ ท่ี สอมธ.
สาํ นกั งานสาขายอ‹ ย
คณะแพทยศาสตร
ประจาํ ป‚ 2564

จ.ส.ต.หญิงจิตตนาถ มีแสงเงิน นางพรชนัน โรจนเสน นางสาวมณธิชา ถาวรวยัคฆ
หวั หนาฝายสาขายอยคณะแพทยศาสตร เจา หนา ทีอ่ าวโุ ส เจา หนาทบ่ี รกิ ารเงนิ ออม



3ระเบียบวาระท่ี 3

สรปุ ผลการดําเนนิ งานในรอบป 2564

โดยประธานกรรมการสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด

ในป 2564 เปนปท่ีการดาํ เนินงานของ สอมธ. คอนขางจะยากลาํ บากกวาป 2563 ต้ังแตตนปจนถึงส้ินป 2564
สอมธ. ไดประสบปญหาวิกฤตการณตางๆ เชน วิกฤติเศรษฐกิจ การแพรระบาดของไวรัสโควิด-19 ท่ีตอเน่ืองจากป 2563
ซ่ึงมีผลกระทบตอการดําเนินงานของ สอมธ. คอนขางมาก จากเหตุการณดังกลาวทําให สอมธ. ไดออกมาตรการชวยเหลือ
สมาชิกโดยใหสมาชิกลดสงเงินงวดชําระหน้ีรายเดือน เปนเวลา 6 เดือน นอกจากนี้ก็ยังมีวิกฤตการณ บมจ.การบินไทย
ท่ีอยูระหวางการฟนฟูกิจการ ทําให สอมธ. ไมไดรับผลแทนจากการลงทุนในป 2564 และในปตอๆ ไป สําหรับการ
ดาํ เนินงานในป 2564 มีสมาชิกเพ่ิมขึ้นจาก 9,975 คน ในป 2563 เปน 10,153 คน ในป 2564 หรือเพิ่มขึ้น 178 คน
เน่ืองจากบุคลากรรุนใหมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีความประสงคสมัครเปนสมาชิก และพอใจในสิทธิประโยชน
ที่จะไดรับจากการเปนสมาชิก สอมธ. ในขณะ ที่ทุนดาํ เนินงานเพิ่มขึ้นจาก 31,195.64 ลานบาท ในป 2563 เปน
33,815.74 ลานบาท ในป 2564 หรือเพิ่มขึ้น 2,620.10 ลานบาท หรือรอยละ 8.40 โดยสวนใหญเปนการเพ่ิมขึ้นของ
เงนิ รับฝาก จาก 20,247.20 ลา นบาท ในป 2563 เปน 22,184.76 ลานบาท ในป 2564 หรือเพิ่มขน้ึ 1,937.56 ลานบาท
หรือรอยละ 9.57 ในขณะที่ทนุ เรือนหนุ ไดเ พ่มิ ข้นึ จาก 6,149.44 ลา นบาท ในป 2563 เปน 6,569.40 ลานบาท ในป 2564
หรือเพ่ิมข้ึน 419.96 ลานบาท หรือรอยละ 6.83 เนื่องจากสมาชิกมีความพอใจในอัตราเงินปนผลของทุนเรือนหุนของ
สอมธ. ทุนสาํ รอง และทุนสะสมอ่ืนๆ เพิ่มข้ึนจาก 1,899.00 ลานบาท ในป 2563 เปน 1,976.58 ลานบาท ในป 2564
หรือเพ่ิมขึ้น 77.58 ลานบาท หรือ รอยละ 4.09 เนื่องจาก สอมธ. มีขอบังคับฯ ที่กาํ หนดใหจัดสรรกําไรสุทธิไมตา่ํ กวา
รอยละ 20 เขาเปนทุนสาํ รองทุกป ในขณะที่เงินกูยืมเพ่ิมขึ้นจาก 2,900.00 ลานบาท ในป 2563 เปน 3,085.00 ลานบาท
ในป 2564 หรือเพิ่มขึน้ 185.00 ลา นบาท หรอื รอ ยละ 6.38

การบริหารเงินทุนท่ีสําคัญของ สอมธ. ประกอบดวย เงินใหกูแกสมาชิก เงินใหกูแกสหกรณอ่ืน เงินลงทุนระยะส้ัน
ในตราสารหนี้ที่ผลตอบแทนปานกลางและเงินลงทุนระยะยาวในตราสารหนี้ท่ีใหผลตอบแทนสูงซ่ึงลงทุนตามกรอบอํานาจ
ท่ีกฎหมายที่กาํ หนด นอกจากน้ี มีเงินฝากธนาคารพาณิชย และชุมนุมสหกรณออมทรัพยแหงประเทศไทย จาํ กัด ที่มี
จุดมงุ หมายเพอ่ื รักษาสภาพคลอง รวมเปน เงินท้ังส้ิน 33,755.30 ลานบาท ซ่งึ ทัง้ หมดน้ีไดน ําไปดําเนินกจิ การตา งๆ กลาวคอื
นาํ ไปเปนเงินใหกูแกสมาชิกจํานวนเงิน 5,277.53 ลานบาท (ประกอบดวย เงินกูสามัญ 2,260.48 ลานบาท เงินกูฉุกเฉิน
14.76 ลา นบาท และเงนิ กูพิเศษ 3,002.29 ลา นบาท โดยมีอตั ราดอกเบี้ยเงินกูรอ ยละ 4.75 เทา นนั้ ) เงนิ ใหก ูแกสหกรณอ ื่น
4,429.42 ลานบาท และ เงนิ ฝากประจาํ ชมุ นุมสหกรณ และตราสารการเงินอืน่ ๆ รวมทั้งสิน้ 20,930.01 ลา นบาท

ในป 2564 สอมธ. มีรายไดรวมทั้งสิน้ 1,126.84 ลา นบาท ลดลงจากป 2563 ซงึ่ มรี ายได 1,196.41 ลานบาท หรือ
ลดลง 69.57 ลานบาท หรือรอยละ 5.81 โดยรายไดของ สอมธ. ประกอบดวย ดอกเบ้ียรับจากเงินใหสมาชิกกู จํานวน
249.64 ลานบาท (รอยละ 22.16) ดอกเบี้ยรับจากเงินลงทุน จํานวน 877.05 ลานบาท (รอยละ 77.83) และรายไดอื่นๆ
จํานวน 0.15 ลานบาท (รอยละ 0.01) ในขณะที่คาใชจายของ สอมธ. ไดลดลงจาก 711.13 ลานบาท ในป 2563
เปน 666.25 ลานบาท ในป 2564 หรอื ลดลงจํานวน 44.88 ลา นบาท (รอยละ 6.31) ทําให สอมธ. มีกําไรสทุ ธใิ นป 2564
เปนจาํ นวน 342.34 ลานบาท สําหรับคาใชจายสวนใหญเปนเรื่องของดอกเบ้ียจาย เปนจาํ นวน 614.15 ลานบาท
(คิดรอยละ 54.50 ของรายไดทั้งหมด 1,126.84 ลานบาท) แตเนื่องจาก สอมธ. จะตองรับรูการดอยคาของหุนกู
บมจ.การบินไทยตามหนังสือของกรมตรวจบัญชีสหกรณรอยละ 5 ของเงินลงทุนหุนกูการบินไทย จาํ นวน 2,365 ลานบาท
ซึ่งตองบันทกึ การรับรูก ารดอยคาทางบญั ชีไว พรอ มกบั บันทกึ เปน คา ใชจายในสวนการตั้งดอ ยคาอกี จํานวน 118.25 ลานบาท

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 21

3 ระเบยี บวาระที่ 3

(รอยละ 10.49 ของรายไดท้ังหมด 1,126.84 ลานบาท) และคาใชจายในการดําเนินงาน จาํ นวน 52.10 ลานบาท (รอยละ
7.82 ของคา ใชจ าย 666.25 ลานบาท) ทําใหในป 2564 สอมธ. มกี าํ ไรสทุ ธิ 342.34 ลา นบาท

ในดานการจัดสวัสดิการใหแกสมาชิกในป 2564 สอมธ.ไดใชจายเงินทุนสาธารณประโยชนแกสมาชิกเปน
จาํ นวน 8,806,050.00 บาท โดยจายเปนเงินเพื่อสงเสริมการศึกษาบุตรสมาชิก 3,778,250.00 บาท จายเพ่ือสวัสดิการ
ของสมาชิก 4,902,300.00 บาท (การสมรส การศพ คารักษาพยาบาล สมาชิกผูเปนโสด ชวยเหลือสมาชิกผูติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019) เพื่อกิจกรรมการกุศลของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กฐินพระราชทาน จาํ นวน 40,000.00 บาท และ
ชวยเหลือสมาชิกประสบภัยพิบัติ 85,500.00 บาท จายเงินกองทุนทดแทน เปนเงิน 11,796,540.00 บาท ประกอบดวย
จายคา เบี้ยประกนั อบุ ตั เิ หตุ เปน เงิน 2,963,340.00 บาท สมาชกิ ถึงแกกรรม จาํ นวน 28 ราย เปนเงนิ 3,691,000.00 บาท
จายเงินกองทุนทดแทนรายปใหแกสมาชิกท่ีมีอายุตั้งแต 61 ป ถึง 95 ป จํานวน 752 ราย เปนเงิน 5,142,200.00 บาท
และจายเงินกองทุนเกษียณอายุราชการ จํานวน 108 ราย เปนจาํ นวนเงิน 4,410,000.00 บาท จายคาสินไหม
คารักษาพยาบาลจากอุบัติเหตุ จํานวน 45 ราย เปนเงิน 202,237.80 บาท จายเงินสินไหมทดแทนเน่ืองจากสมาชิก
เสยี ชวี ติ จากอุบัตเิ หตุ จํานวน 1 ราย เปนเงนิ 300,000.00 บาท

ในดานการพัฒนาคุณภาพวิชาการ สอมธ. ใหความรูแกสมาชิกในการจัดสัมมนาสมาชิกตามหนวยงาน จาํ นวน
3 หนวยงาน (กองบริหารศูนยท าพระจนั ทร กองบริหารศนู ยร งั สติ และศนู ยหนังสอื มธ.) ใหเ งินสนบั สนุน 22,100.00 บาท

ในดานการประชาสัมพนั ธ ไดจ ัดทําวารสารประจําเดอื นของ สอมธ. จัดทําแผนปลิวประชาสัมพนั ธ ขาวสารเรง ดวน
ควบคูกันไปกับการเผยแพรขาวสารออนไลนหลายชองทางเชน เว็บไซต www.tucoop.or.th Facebook Fanpage
สอมธ. และ Line Official สาํ หรับสมาชิกที่เกษียณอายุราชการจาํ นวน 94 คน สอมธ. ไดมอบของระลึกเปน ใชจายไป
จํานวน 49,486 บาท

ในดานการพัฒนาระบบคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ไดพัฒนาปรับปรุงระบบฐานขอมูลใหมใหทันสมัย และ
พัฒนาโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการดานสินเช่ือและการติดตามหนี้สินอยางเปนระบบ ใหสมาชิกเขาถึงขอมูลทางการเงิน
สวนบุคคลผาน Web Member ทางเว็บไซต www.tucoop.or.th ใหบริการถอนเงินสดจากตู ATM และพัฒนา
ระบบ Mobile Application ท่ีสามารถทําธุรกรรมฝาก ถอน และชาํ ระเงิน ตางๆ ผานโทรศัพทมือถือ ซ่ึงไดลงนาม
ในขอ ตกลงกบั ธนาคารกรุงเทพ จาํ กัด (มหาชน) เมือ่ วนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2564

ในป 2564 กรมสงเสริมสหกรณไดออกประกาศเกณฑการประเมินมาตรฐานการบริหารจัดการของสหกรณ
ฉบับใหม ใหมีการประกาศระดับการประเมินเพียง 2 ระดับ คือ “ผาน หรือ ไมผาน” เกณฑมาตรฐาน สําหรับ
ผลการประเมินของสหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จาํ กัด ในป 2564 นั้น ไดรับการประเมินมาตรฐาน
การบริหารจัดการจากสาํ นักงานสงเสริมสหกรณกรุงเทพมหานคร พ้ืนที่ 1 กรมสงเสริมสหกรณใหอยูในระดับ “ผาน
เกณฑมาตรฐาน”

22 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระที่ 3

คณะกรรมการดําเนินการ ประจําป 2564
คณะกรรมการดําเนินการ ชุดท่ี 50 ประจําป 2564 ประกอบดวย

1. รศ.วาที่ ร.ต.ดร.นพพร ลีปรีชานนท ประธานกรรมการ
2. นายอภินันท ชูหนู รองประธานกรรมการคนท่ี 1
3. นายเอกชัย ราชแสง รองประธานกรรมการคนท่ี 2
4. นางสาวมาลินี แซต ้ัง รองประธานกรรมการคนที่ 3
5. นายรงั ษี ธารารมย เหรญั ญิก
6. นางสาวจรรยา สขุ พนิ จิ กรรมการ
7. นางสาวจุฬาภรณ พรหมมาพนั ธุ กรรมการ
8. นางสาวนฤมล บญุ มา กรรมการ
9. ผศ.ดร.นนทวรรณ ยมจนิ ดา กรรมการ
10. นายบญุ เลศิ วนั่ เสง็ กรรมการ
11. นางสาวภาวรรณ พันธไพโรจน กรรมการ
12. นางสาวศรสี ุข มงกฎุ วสิ ทุ ธ์ิ กรรมการ
13. นางสาวพรชนติ ว ทองแจม กรรมการและเลขานกุ าร
คณะกรรมการดําเนินการแตงตั้งผูมีความรูความสามารถและประสบการณดานการบริหารงานเขามาชวยในการ
ใหคําแนะนําปรึกษา ตลอดจนเพื่อใหการบริหารงานเกิดความคลองตัว จึงไดแตงต้ังท่ีปรึกษา คณะกรรมการและคณะ
อนุกรรมการชุดตางๆ เพื่อรับผิดชอบการดาํ เนินงานของ สอมธ. นอกจากนี้ไดมีการแตงตั้งคณะอนุกรรมการบริหาร
ความเสี่ยง และคณะอนุกรรมการการลงทุน เพ่ือใหเปนไปตามกฎกระทรวง การดาํ เนินงาน และกํากับดูแลสหกรณ
ออมทรพั ยและสหกรณเครดติ ยูเนย่ี น พ.ศ. 2564 ดงั มรี ายละเอยี ดตอไปนี้

ที่ปรึกษากติ ติมศักดิ์ และท่ปี รึกษา สอมธ. ป 2564
ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ศาสตราจารยพิเศษ นรนิติ เศรษฐบตุ ร
รองศาสตราจารยเกศนิ ี วิฑรู ชาติ
ผูช ว ยศาสตราจารยเ ต็มใจ สุวรรณทตั
ผูชวยศาสตราจารย ดร.พชิ ัย จรรยศภุ รนิ ทร
รองศาสตราจารย ดร.มนูญ พาหริ ะ

ท่ีปรึกษา

อาจารยป รเมศวร อนิ ทรชุมนุม

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 23

3 ระเบียบวาระท่ี 3

1. คณะกรรมการอํานวยการ
ทาํ หนา ทบ่ี ริหารและควบคมุ สภาพคลอ งทางการเงนิ ของสหกรณ การบริหารเงินเพือ่ การลงทนุ รวมท้ังการควบคมุ
บริหารงานจัดการ และการบริหารทั่วไป ประกอบดวย ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ เหรัญญิก และเลขานุการ
ดงั มรี ายนามตอไปนี้
1. รศ.วา ที่ ร.ต.ดร.นพพร ลปี รชี านนท ประธานกรรมการ
2. นายอภินนั ท ชูหนู กรรมการ
3. นายเอกชยั ราชแสง กรรมการ
4. นางสาวมาลนิ ี แซต ้ัง กรรมการ
5. นางสาวพรชนิตว ทองแจม กรรมการ
6. นายรงั ษี ธารารมย กรรมการ
7. นางบุศรนิ ชา งอยู เลขานกุ าร
8. นางสาวนิตยา โชครักษ ผชู วยเลขานุการ

2. คณะกรรมการเงินกูพิเศษและฉุกเฉิน
ทาํ หนาท่ีพิจารณากลั่นกรองคาํ ขอกูประเภทพิเศษ วางแนวทางตรวจสอบ ติดตามใหเปนไปตามระเบียบ แลว
นําเสนอคณะกรรมการดาํ เนินการและมอี าํ นาจในการอนุมตั ิเงินกฉู กุ เฉิน ดงั มีรายนามตอ ไปนี้
1. นายอภินนั ท ชูหนู ประธานกรรมการ
2. นายเอกชัย ราชแสง กรรมการ
3. นางสาวจรรยา สขุ พนิ ิจ กรรมการ
4. นางสาวจฬุ าภรณ พรหมมาพันธุ กรรมการ
5. นายบุญเลิศ ว่ันเสง็ กรรมการ
6. นายนุกลู กิต เรืองศรี เลขานกุ าร

3. คณะกรรมการเงินกูสามัญ
ทําหนาท่ีพิจารณาคําขออนุมัติเงินกูสามัญ เงินกูขาราชการออกนอกระบบ ตรวจสอบ ติดตาม รวมทั้งการ
วางแนวทางตางๆ เพอื่ ใหเปนไปตามระเบยี บ และวัตถุประสงคของสหกรณ ดังมรี ายนามตอไปนี้
1. นายอภนิ นั ท ชูหนู ประธานกรรมการ
2. นายเอกชัย ราชแสง กรรมการ
3. นางสาวมาลนิ ี แซต้งั กรรมการ
4. นางสาวจรรยา สขุ พนิ จิ กรรมการ
5. นางสาวจุฬาภรณ พรหมมาพนั ธุ กรรมการ
6. นายบุญเลศิ ว่ันเสง็ กรรมการ
7. นายนกุ ลู กติ เรอื งศรี เลขานุการ

24 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระที่ 3

4. คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินทุนเพ่ือการสาธารณประโยชน เงินกองทุนทดแทน และกองทุน
เกษียณอายุราชการ
ทําหนาที่อนมุ ัตคิ าํ ขอรับการชวยเหลอื ฌาปนกิจสงเคราะห สาธารณภัย ภัยพบิ ัติ เงนิ ทุนเพอื่ การศกึ ษา เงินกองทนุ
ทดแทน และเงินกองทุนเกษียณอายุราชการ รวมท้ังการวางแนวทางในการใหการสงเคราะหและสวัสดิการตางๆ พิจารณา
ใหค วามชวยเหลอื แกส มาชิกท่ีไดรบั ความเดอื ดรอนและอ่นื ๆ ใหเ ปน ไปตามระเบียบ ดงั มีรายนามตอไปน้ี
1. นายเอกชยั ราชแสง ประธานอนุกรรมการ
2. นางสาวจรรยา สุขพินจิ อนกุ รรมการ
3. นางสาวนฤมล บญุ มา อนุกรรมการ
4. นางสาวศรีสขุ มงกฎุ วิสทุ ธิ์ อนุกรรมการ
5. นางสาวภาวรรณ พันธไพโรจน อนกุ รรมการ
6. นางสาววันเพญ็ หนเู ล็ก เลขานกุ าร

5. คณะอนุกรรมการวิชาการและการพัฒนาบุคลากร
ทาํ หนาที่จัดอบรม สัมมนา และวิเทศวิชาการ เพื่อพัฒนากรรมการ เจาหนาที่ และสมาชิก โดยมีจุดประสงค
เพ่ือเสริมสรางความรู ความเขาใจและใหขอมูลแกกรรมการ เจาหนาที่ สมาชิกในบทบาทหนาที่ของตนเองอันจะกอใหเกิด
การพัฒนาเจริญเติบโตแก สอมธ. อยางมีเสถียรภาพทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ตลอดจน จัดอบรมสัมมนาแกขบวนการ
สหกรณ รวมท้ังกาํ หนดหลักเกณฑก ารทํางานและสวัสดิการ การรับสมัคร โอน โยกยาย ปรับอัตราเงนิ เดือนใหกบั เจาหนาท่ี
ดังมรี ายนามตอ ไปน้ี
1. นางสาวมาลนิ ี แซต้งั ประธานอนกุ รรมการ
2. นายอภนิ ันท ชูหนู อนุกรรมการ
3. นางสาวนฤมล บญุ มา อนุกรรมการ
4. นายบญุ เลศิ วั่นเส็ง อนุกรรมการ
5. นายเอกชัย ราชแสง อนุกรรมการ
6. นางสาวนติ ยา โชครกั ษ เลขานกุ าร

6. คณะอนุกรรมการสื่อสารองคกร
ทําหนาที่เผยแพรขาวสารและใหความรูความเขาใจในเร่ืองการบริหารงานของ สอมธ. แกสมาชิก เสริมสราง
ความเขาใจอันดีระหวาง สอมธ. สมาชิก คณะกรรมการดาํ เนินการ เจาหนาที่ ตลอดจนสื่อสารเพื่อใหเกิดความเขาใจอันดี
กบั สหกรณอื่นๆ ดังมรี ายนามตอไปนี้
1. นางสาวพรชนิตว ทองแจม ประธานอนุกรรมการ
2. นางสาวมาลินี แซตง้ั อนกุ รรมการ
3. นางสาวจรรยา สุขพนิ จิ อนกุ รรมการ
4. นายบญุ เลศิ วั่นเสง็ อนุกรรมการ
5. นางสาวศรสี ุข มงกุฎวสิ ุทธ์ิ อนุกรรมการ
6. นายเอกชัย ราชแสง อนุกรรมการ
7. นางสุนนั ทา ญาณศีล เลขานกุ าร

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 25

3 ระเบยี บวาระท่ี 3

7. คณะอนุกรรมการติดตามและเรงรัดหน้ีสิน
ทําหนาท่ีกาํ หนดกรอบและแผนงานติดตามเรงรัดการชําระหนี้ใหเปนไปตามกําหนดของสมาชิก สอมธ. จัดทํา
รายงานผลการติดตาม ปญหา และอุปสรรค เสนอตอ คณะกรรมการดําเนินการ และพิจารณาแนวทางการปรับโครงสรางหน้ี
เปนรายกรณี มีรายนามดงั ตอไปนี้
1. นายอภินนั ท ชหู นู ประธานอนกุ รรมการ
2. นางสาวพรชนติ ว ทองแจม อนกุ รรมการ
3. นายรงั ษี ธารารมย อนกุ รรมการ
4. นางสาวจุฬาภรณ พรหมมาพนั ธุ อนกุ รรมการ
5. นายบญุ เลศิ วน่ั เส็ง อนุกรรมการ
6. นางแสงเทยี น ปรงุ แสง เลขานกุ าร
7. นายนกุ ูลกิต เรอื งศรี ผูชวยเลขานกุ าร

8. คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศ
ทําหนาท่ีในการศึกษา วางแผน และพัฒนาระบบคอมพิวเตอร รวมทั้งปรับปรุงระบบคอมพิวเตอรเก่ียวกับการ
ใหบริการแกสมาชิกและการบริหารงานใหเหมาะสมกับขนาด และธุรกิจของ สอมธ. ใหเปนไปอยางตอเนื่อง ท้ังในปจจุบัน
และอนาคต รวมถึงการจัดซ้ือ จัดจาง และการบํารุงรกั ษา เพอื่ ประโยชนใ นการบรหิ ารสหกรณ ดังมรี ายนามตอ ไปนี้
1. นายอภินนั ท ชูหนู ประธานอนุกรรมการ
2. นางสาวพรชนติ ว ทองแจม อนุกรรมการ
3. นางสาวภาวรรณ พันธไพโรจน อนกุ รรมการ
4. นายนิรทุ ธ์ิ ทองสขุ เลขานุการ

9. คณะอนุกรรมการฝายกฎหมายและระเบียบ
ทาํ หนา ทพ่ี ิจารณากลั่นกรอง แกไขกฎ ระเบยี บ และนิตกิ รรมสญั ญา ทเี่ ก่ยี วของกับการดาํ เนนิ งานของ สอมธ.
1. ผศ.ดร.นนทวรรณ ยมจินดา ประธานอนกุ รรมการ
2. นายอภนิ นั ท ชูหนู อนุกรรมการ
3. นางสาวมาลินี แซต้งั อนกุ รรมการ
4. นายรังษี ธารารมย อนกุ รรมการ
5. นางสาวพรชนิตว ทองแจม อนุกรรมการ
6. นางสาวนฤมล บญุ มา อนกุ รรมการ
7. นางสาวภาวรรณ พันธไพโรจน อนุกรรมการ
8. นางสาวนิตยา โชครกั ษ เลขานกุ าร
9. นางสาวสิริทัศน คงรนิ ผูชวยเลขานกุ าร

10. คณะอนุกรรมการตรวจสอบการดําเนินการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายแกสหกรณ
ทาํ หนา ท่ีกาํ กับ ตดิ ตาม ตรวจสอบ การดาํ เนินการท่ีอาจกอ ใหเ กิดความเสยี หายแก สอมธ. ดังมรี ายนามตอไปนี้
1. ผศ.ดร.นนทวรรณ ยมจนิ ดา ประธานอนกุ รรมการ
2. นางสาวมาลนิ ี แซต งั้ อนกุ รรมการ

26 รายงานประจําป 2564

3ระเบียบวาระที่ 3

3. นางสาวพรชนิตว ทองแจม อนกุ รรมการ
4. นางสาวนฤมล บุญมา อนุกรรมการ
5. นางสาวภาวรรณ พันธไ พโรจน อนกุ รรมการ
6. นางสาวสริ ทิ ศั น คงริน เลขานุการ

11. คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง
1. ผศ.ดร.นนทวรรณ ยมจนิ ดา ประธานอนกุ รรมการ
2. นางสาวมาลินี แซต ้งั อนกุ รรมการ
3. นางสาวนฤมล บุญมา อนุกรรมการ
4. นางสาวภาวรรณ พนั ธไพโรจน อนุกรรมการและเลขานุการ
5. นางสาวนงลักษณ สีนวลนนทส กลุ ผูชว ยเลขานุการ
คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียง สามารถอยูในตําแหนง และจัดการประชุม รวมถึงมีอํานาจและหนาท่ี
ดังตอไปน้ี
1. การอยูในตาํ แหนง และการจัดประชุม ใหคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงอยูในตาํ แหนง และจัดการ
ประชมุ ไดด ังน้ี
1.1 อยูในตาํ แหนงไดเทากับกาํ หนดเวลาของคณะกรรมการดาํ เนินการซ่ึงต้ังคณะอนุกรรมการบริหาร
ความเสีย่ งน้ัน
1.2 ประชุมกันตามคราวท่ีมีกิจธุระ หรือมีการประชุมกันเดือนละหนึ่งครั้งเปนอยางนอย และใหประธาน
อนกุ รรมการบรหิ ารความเส่ยี ง หรอื เลขานุการนดั เรยี กประชุมได
ในการประชุมคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ตองมีอนุกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งหนึ่งของ
จํานวนอนกุ รรมการท้งั หมด จึงจะเปน องคประชมุ
1.3 ขอวินิจฉัยท้ังปวงของคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ใหเสนอคณะกรรมการดําเนินการในการ
ประชมุ คราวถดั ไปทราบและพจิ ารณา
1.4 คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง อาจเสนอชื่อบุคคลภายนอกท่ีเปนผูทรงคุณวุฒิดานบริหารความเสี่ยง
เพือ่ ใหคณะกรรมการดาํ เนนิ การเหน็ ชอบใหเปน ทป่ี รกึ ษาของคณะอนุกรรมการบริหารความเส่ยี งได
2. อาํ นาจและหนาที่ ใหคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงมีอํานาจและหนาท่ีดาํ เนินการ ตามกฎหมาย
ขอ บังคับ ระเบียบ มติ หรอื คําสงั่ ของสหกรณในสว นทีเ่ กีย่ วของ ซงึ่ รวมทั้งในขอตอ ไปนี้
2.1 ศึกษา วิเคราะห และกําหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงเพื่อเสนอตอคณะกรรมการดําเนินการ
พิจารณา โดยครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทตางๆ เชน ความเส่ียงดานสินเชื่อ การลงทุน สภาพคลอง ปฏิบัติการและ
ดานอ่นื ๆ ใหส อดคลอ งกบั กลยทุ ธเ สนอคณะกรรมการดาํ เนนิ การอนุมตั ิ
2.2 มีอํานาจตัดสินใจในการดําเนินการใดๆ ที่เก่ียวของภายใตขอบเขตความรับผิดชอบท่ีคณะกรรมการ
ดาํ เนินการกําหนด
2.3 ประเมิน ติดตาม กาํ กับดูแล และทบทวนความเพียงพอของนโยบายเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงเพ่ือ
ใหกระบวนการบริหารความเส่ียงมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผล
2.4 รายงานแผนดาํ เนินงานที่ควรปรับปรุงแกไข ตลอดจนปจจัยและปญหาท่ีมีนัยสําคัญใหแก คณะกรรมการ
ดาํ เนนิ การ เพ่อื ใหส อดคลองกบั การดาํ เนนิ กจิ การของสหกรณ
2.5 กาํ กบั ดูแลเรอื่ งธรรมาภบิ าลเก่ยี วกับการบริหารความเส่ยี ง

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 27

3 ระเบียบวาระที่ 3

2.6 รายงานผลการปฏิบัติงานใหคณะกรรมการดาํ เนินการและตอท่ีประชุมใหญทราบโดยแสดงรายละเอียด
ในรายงานประจําป

2.7 ปฏบิ ัตหิ นาทอ่ี ่ืนตามท่ีคณะกรรมการดําเนนิ การมอบหมาย

12. คณะอนุกรรมการการลงทุน
1. รศ.นพ.กมั มาล กมุ าร ปาวา ทีป่ รกึ ษา
2. นายรงั ษี ธารารมย ประธานอนกุ รรมการ
3. นางสาวพรชนติ ว ทองแจม อนุกรรมการ
4. นายอภนิ นั ท ชหู นู อนุกรรมการและเลขานุการ
5. นายนุกูลกิต เรืองศรี ผชู วยเลขานกุ าร
คณะอนุกรรมการการลงทุนสามารถอยูในตาํ แหนง และจดั การประชมุ รวมถงึ มีอํานาจและหนา ท่ี ดังตอไปน้ี
1. การอยูในตําแหนง และการจัดประชุม ใหคณะอนุกรรมการการลงทุนอยูในตําแหนง และจัดการประชุมได
ดงั น้ี
1.1 อยใู นตาํ แหนง ไดเทา กับกาํ หนดเวลาของคณะกรรมการดําเนนิ การ ซ่ึงตัง้ คณะอนุกรรมการการ ลงทนุ นั้น
1.2 ประชุมกันตามคราวท่ีมีกิจธุระ หรือมีการประชุมกันเดือนละหนึ่งคร้ังเปนอยางนอย และใหประธาน
อนกุ รรมการการลงทุน หรือเลขานกุ ารนัดเรยี กประชมุ ได
ในการประชุมคณะอนุกรรมการการลงทุน ตองมีอนุกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหน่ึงของจํานวน
อนุกรรมการทั้งหมด จงึ จะเปน องคประชมุ
1.3 ขอวินิจฉัยทั้งปวงของคณะอนุกรรมการการลงทุน ใหเสนอคณะกรรมการดาํ เนินการในการประชุม
คราวถัดไปทราบและพจิ ารณา
1.4 คณะอนุกรรมการการลงทุน อาจเสนอชื่อบุคคลภายนอกท่ีเปนผูทรงคุณวุฒิดานการลงทุน เพื่อให
คณะกรรมการดําเนนิ การเหน็ ชอบใหเปนทป่ี รกึ ษาของคณะอนกุ รรมการการลงทนุ ได
2. อาํ นาจและหนาที่ ใหคณะอนุกรรมการการลงทุน มีอาํ นาจหนาท่ีดําเนินการตามกฎหมาย ขอบังคับ ระเบียบ
มติ หรอื คําสง่ั ของสหกรณในสวนทีเ่ ก่ยี วขอ ง ซึง่ รวมท้ังในขอตอไปนี้
2.1 ศึกษา วิเคราะห และกาํ หนดนโยบายและแผนเกี่ยวกับการลงทุนประจาํ ปใหสอดคลองกับนโยบาย
ดานการบรหิ ารความเส่ียงโดยรวม และเสนอคณะกรรมการดาํ เนนิ การพิจารณาเพื่อเสนอใหท่ีประชมุ ใหญอ นมุ ัติ
2.2 พิจารณาอนุมัติแผนการลงทุนและแผนจัดการการลงทุน ภายใตขอบเขตที่คณะกรรมการดําเนินการ
กาํ หนด
2.3 ประเมิน ติดตาม และกํากับดูแลผลประโยชนจากการลงทนุ และจัดใหม ีการควบคมุ ภายในที่เหมาะสม
2.4 กาํ กับดูแลเรอื่ งธรรมาภิบาลเก่ยี วกบั การลงทุน
2.5 รายงานผลการปฏิบัติงานใหคณะกรรมการดําเนินการทราบและรายงานผลการปฏิบัติงาน ให
ท่ปี ระชุมใหญท ราบในรายงานประจําป
2.6 ปฏบิ ตั ิหนา ทอี่ น่ื ตามทค่ี ณะกรรมการดาํ เนนิ การมอบหมาย

28 รายงานประจําป 2564

3ระเบียบวาระที่ 3

คณะกรรมการดําเนินการชุดท่ี 50 มีนโยบายบริหารการเงินโดยยึดหลักความม่ันคงและใหผลตอบแทนดีท่ีสุด
เพื่อสรางความมีเสถียรภาพใหกับ สอมธ. และรักษาผลประโยชนใหแกมวลสมาชิก สวนนโยบายการบริหารงานยึดหลัก
กระจายการบริหารใหกับคณะกรรมการดําเนินการ และคณะอนุกรรมการตางๆ ซึ่งรับผิดชอบภายใตกฎ ขอบังคับ ระเบียบ
และมติ รวมทง้ั การปฏบิ ตั หิ นาทดี่ วยความเขม แข็ง ซอ่ื สตั ยส ุจริต มจี ิตสํานกึ ที่ดี

ในการบริหารงาน สอมธ.ป 2564 ตอ งประสบกบั วกิ ฤติการณห ลายๆ อยาง อันไดแก
1. การแพรระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 ท่ีมีผลสืบเนื่องมาตั้งแตป 2563 ทาํ ให สอมธ. จาํ เปนตองออกมาตรการ
เพื่อชวยเหลือสมาชิกท่ีไดรับความเดือดรอน โดยการขอผอนผันการชาํ ระหนี้เพื่อลดสงเงินงวดชําระหน้ีรายเดือน โดย
กาํ หนดใหเงนิ งวดชาํ ระหนร้ี ายเดอื นที่ลดลงนั้นจะตองไมนอยกวาดอกเบยี้ เงินกรู ายเดือน เปนเวลา 6 เดอื น
2. การชวยเหลือสมาชิกขาดสมาชิกภาพ โดยสามารถผอนผันการชําระหน้ี เพ่ือลดสงเงินงวดชําระหน้ีรายเดือน
โดยเงนิ งวดชาํ ระหน้รี ายเดือนที่ผอนผันนน้ั จะตอ งไมน อยกวา 1 ใน 4 ของเงินงวดชําระหนร้ี ายเดือน เปน เวลา 4 เดอื น
3. วิกฤติการณหุนกู บมจ.การบินไทย ถึงแมวาศาลจะมีคาํ ส่ังใหฟนฟูกิจการแลวก็ตาม แต สอมธ. ไมไดรับ
ดอกเบ้ียหุนกทู ี่เคยไดร ับ ซงึ่ เปน แหลงรายไดข อง สอมธ.
4. วิกฤติการณหุนกู บมจ.การบินไทย ทาํ ให สอมธ. จะตองทยอยบันทึกรับรูการดอยคาหุนกู บมจ.การบินไทย
สาํ หรับหุนกูยังไมครบกําหนดไถถอนตามแผนฟนฟูกิจการ โดยใหทยอยรับรูการดอยคาในอัตราไมนอยกวารอยละ 5
ของมูลคา ท่ตี ราไวใ นหนุ กู ตามทีก่ รมตรวจบญั ชสี หกรณก ําหนด
5. การกาํ หนดกฎตา งๆ ของทางราชการที่ทําให สอมธ. ตอ งปรบั ตวั เพือ่ ใหสอดคลอ งไปกบั กฎหมาย กฎกระทรวง
โดยกาํ หนดกรอบในการบริหารทเี่ ขมงวดมากขนึ้
จากวิกฤติตางๆ ขางตน ทําใหมีผลกระทบตอรายไดของ สอมธ. ซ่ึงเปนวิกฤติท่ี สอมธ. ไมสามารถที่จะ
ควบคุมไดทั้ง 5 กรณี แตอยางไรก็ตาม สอมธ. ก็ยังมีเสถียรภาพทางการเงินที่มนั่ คง มีการบริหารดวยความระมัดระวัง และ
ยังคงใหสมาชิกไดรับผลตอบแทนท่ีดีและสูงกวาธนาคารพาณิชย โดยในรอบปท่ีผานมาจะเห็นไดวา สอมธ. ไมไดปรับลด
อัตราดอกเบ้ียเงินรับฝากซ่ึงเปนผลตอบแทนที่ใหกับผูฝากเงินแตประการใด และยังคงอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูแกสมาชิก
ในอัตรารอยละ 4.75 ตอป โดยความสาํ เร็จท่ี สอมธ. ไดรับมาทั้งหมดเกิดจากความไววางใจ ความเชื่อใจ และความศรัทธา
ของสมาชิกท่ีมีตอ สอมธ. ดังน้ัน เพ่ือตอบแทนสมาชิกทุกทาน สอมธ. พยายามอยางย่ิงที่จะสรางสรรคส่ิงตางๆ ท่ีเปน
ประโยชนก ลบั คนื สสู มาชกิ ในทกุ ๆ ดา นทั้งทางตรงและทางออม ดงั รายละเอยี ดตอ ไปนี้

1. สมาชิกเขา ใหม ป 2564 ป 2563 ผลตา ง หนว ย
2. ทุนดาํ เนนิ งาน 341 399 (58) คน
2,620.10 ลานบาท
2.1 ทนุ เรอื นหุน 33,815.74 31,195.64 419.96 ลานบาท
2.2 เงินรับฝาก 6,569.40 6,149.44 1,937.56 ลา นบาท
2.3 ทนุ สํารอง, ทนุ สะสมและอ่ืนๆ 22,184.76 20,247.20 77.58 ลา นบาท
2.4 เงนิ กยู ืม 1,967.58 1,899.00 185.00 ลานบาท
3. เงนิ ใหกูแกสมาชกิ 3,085.00 2,900.00 33.32 ลานบาท
4. กาํ ไรสุทธิ 5,277.53 5,244.21 (142.94) ลา นบาท

342.34 485.28

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 29

3 ระเบยี บวาระที่ 3

สําหรบั ผลการดาํ เนนิ งานดานตางๆ ของ สอมธ. ในป 2564 พอสรปุ รายละเอยี ดไดดงั น้ี

1. ดานการบรหิ ารงานท่ัวไป
1.1 ดานสมาชิก ดวยการบริหารงานอยางมีประสิทธิภาพของ สอมธ. และยึดหลักคืนผลประโยชนกลับสู
สมาชิกใหดีที่สุด ยอมเปนแรงจูงใจใหมีผูสนใจสมัครเขาเปนสมาชิก ซึ่งในป 2564 มีจาํ นวน 341 ราย สรุปจาํ นวนสมาชิก
มดี ังนี้
จาํ นวนสมาชิก ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564 9,975 คน
บวก สมาชิกสมคั รใหมระหวางป 341 คน
10,316 คน
หกั พน จากสมาชกิ ภาพระหวา งป 135 คน
สมาชกิ ถึงแกกรรมระหวางป 28 คน
จํานวนสมาชิก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 10,153 คน

1.2 ดานการใหบริการเงินรับฝากจากสมาชิก การดําเนินงานในรอบป 2564 ยังคงใหความสําคัญเก่ียวกับ
บริการดานเงินฝาก โดยคาํ นึงถึงอัตราดอกเบ้ียท่ีใหกับสมาชิกจะตองสูงกวาธนาคารพาณิชย เพื่อเปนการรักษาฐาน ลูกคา
เงินรับฝากของ สอมธ. ตลอดจนเพ่ือใหสามารถแขงกับสถาบันการเงินภายนอกได รวมท้ังเพื่อเปนการสงเสริมการออมของ
สมาชิกโดยยึดตามหลักการของสหกรณ คือการชวยเหลือตนเองและการชวยเหลือซ่ึงกันและกันและดวยความเชื่อม่ันและ
ความไวว างใจของสมาชกิ ทมี่ ตี อ สอมธ. ทาํ ใหย อดเงนิ รับฝากของสมาชิก ณ สิน้ ป 2564 มีจํานวนถงึ 22,184.76 ลานบาท

1.3 ดานการใหบริการเงินกูแกสมาชิก สอมธ. ใหบริการเงินกูแกสมาชิกเพื่อมุงชวยเหลือบรรเทาความ
เดอื ดรอนดานการเงนิ อกี ทั้งชว ยเสริมสรางฐานะความเปน อยู และคณุ ภาพชวี ิตของสมาชิกใหดขี ้ึน

สําหรับนโยบายในเรื่องของอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูแกสมาชิก สอมธ. ยังคงอัตราดอกเบี้ยท่ีตํ่ากวา
ธนาคารพาณิชย เน่ืองจาก สอมธ. มิไดมุงหวังกาํ ไรในการดําเนินงาน แตเปนการชวยเหลือซึ่งกันและกันตามหลักการของ
สหกรณ ดังจะเห็นไดจากการปรับอัตราดอกเบ้ียเงินใหกูแกสมาชิก ซ่ึงในป 2564 สอมธ. มิไดปรับอัตราดอกเบ้ีย
เพิม่ เติมแตป ระการใด ยังคงอัตราดอกเบี้ยเงนิ ใหกูแกสมาชิกในอัตรารอ ยละ 4.75 ตอ ป

30 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระท่ี 3

ตารางเปรยี บเทียบผลการดําเนินงานดานการใหบ ริการเงินกแู กส มาชิกประจําป 2564 และ 2563

ประเภท ป 2564 ป 2563 เพมิ่ (ลด) ยอดคงเหลือ (ลานบาท)
เงนิ กู ณ 31 ธ.ค.64
สัญญา จาํ นวนเงิน สัญญา จาํ นวนเงนิ สัญญา จํานวนเงิน
1. ฉกุ เฉิน % จาํ นวนเงนิ %
2. สามัญ
3. ขา ราชการ 4,015 120,483,200.00 4,577 130,268,590.00 (562) (9,785,390.00) (7.51) 14.76 0.28

นอกระบบ 2,630 1,073,351,600.00 3,254 1,378,675,000.00 (624) (305,323,400.00) (22.15) 1,975.50 37.43
4. ปนผล
5. เงินกฟู า ใส 25 11,138,600.00 46 21,733,000.00 (21) (10,594,400.00) (48.75) 49.47 0.94
6. พิเศษ
316 2,704,800.00 431 4,728,100.00 (115) (2,023,300.00) (42.79) 2.47 0.05

1,590 246,713,600.00 - - 1,590 246,713,600.00 100.00 233.04 4.41

431 621,268,163.25 498 690,500,810.00 (67) (69,232,646.75) (10.03) 3,002.29 56.89

9,007 2,075,659,963.25 8,806 2,225,905,500.00 201 (150,245,536.75) (6.75) 5,277.53 100.00

1.3.1 จากตารางดังกลาว สมาชิกไดใชบริการดานเงินกูพิเศษถึงจํานวน 3,002.29 ลานบาท เทากับ
รอยละ 56.89 ของยอดเงินที่ใหสมาชิกกูทั้งหมดแสดงใหเห็นวาสมาชิกไดกูเงินเพ่ือนําไปใชจายในการชวยเสริมสรางฐานะ
ความเปน อยูข องตนใหดขี น้ึ
1.3.2 จาํ นวนการกูพเิ ศษ ป 2564 จํานวน 431 ราย น้ันสามารถแยกประเภทไดด งั นี้
- เพือ่ การเคหะสงเคราะห 340 ราย เปน เงิน 500,993,863.25 บาท
- เพื่อซื้อทดี่ ิน 24 ราย เปนเงิน 36,981,800.00 บาท
- เพือ่ ซื้อรถยนต 6 ราย เปน เงนิ 6,852,000.00 บาท
- เพื่อการลงทนุ ประกอบอาชีพ 61 ราย เปน เงิน 76,440,500.00 บาท

1.4 ดานการลงทุนของ สอมธ. จากความศรัทธาและเช่ือมั่นของสมาชิกที่มีตอ สอมธ. ทําใหสามารถระดม
เงินจากสมาชิกไดในจํานวนท่ีสูงข้ึนทุกป ซ่ึงเงินรับฝากเหลาน้ีถือเปนทุนดาํ เนินงานสวนสาํ คัญที่นํามาบริหารกิจการ
คณะกรรมการดาํ เนินการไดยึดหลักปฏิบัติวาจะตองสนองตอบความตองการของสมาชิก สอมธ. กอนเปนความสาํ คัญ
ลําดับแรก ดังจะเห็นวา สอมธ. อนุมัติใหเงินกูแกสมาชิกไดเต็มตามสิทธิอยางครบถวนตลอดมา นอกจากน้ีการพิจารณา
ลงทุนในระยะส้ันมีสวนสําคัญในการบริหารสภาพคลองดวยเพ่ือใหมีเงินสดหมุนกลับมาใชไดโดยเร็ว โดย สอมธ. พิจารณา
ลงทุนระยะสั้นกับสถาบันการเงินท่ีมฐี านะม่ันคง

ทุนดาํ เนินงานสวนท่ีเหลือ สอมธ. ไดหาแหลงลงทุนภายนอกโดยการใหสินเชื่อแกสหกรณออมทรัพย
หนวยราชการดวยกันทั้งระยะสั้นและระยะยาวเพ่ือเปนการสนับสนุนขบวนการสหกรณ และเสริมสรางความชวยเหลือ
ซึ่งกันและกันในระหวางสหกรณ โดยคณะกรรมการดําเนินการจะพิจารณาลงทุนเฉพาะกับสหกรณท่ีมีฐานะทางการเงิน
ท่ีม่ันคง นอกจากนี้ยังตองจัดใหมีการคํา้ ประกันในฐานะสวนตัวโดยคณะกรรมการดาํ เนินการทั้งชุดและผูจัดการของสหกรณ
นัน้ ดว ย ในรอบป 2564 สอมธ. ไดลงทุนกบั สหกรณอ่ืนเปนจํานวนเงนิ 7,554.76 ลานบาท และมยี อดคงเหลือ ณ ส้ินป 2564
จาํ นวน 4,429.42 ลานบาท ไดรบั ผลตอบแทนท้ังส้ิน 196.87 ลา นบาท เปนรอยละ 17.47 ของรายได สอมธ. ประจําป 2564
และสืบเนื่องจากความท่ีมีสภาพคลองในระบบสหกรณมาก ทําใหสหกรณตองปรับตัวในการนําเงินไปลงทุนในรูปแบบอื่นๆ
ท่ีใหไดผลตอบแทนอยางเหมาะสมโดยคํานึงถึงความมั่นคงของสหกรณมากกวาผลตอบแทนโดยการลงทุนในรูปของ
พันธบัตร หุนกู และเงนิ ฝาก ณ ส้ินป 2564 มยี อดคงเหลอื จํานวน 21,048.25 ลานบาท

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 31

3 ระเบียบวาระที่ 3

1.5 ดานเงินทุนสาธารณประโยชน ในการประชุมใหญสามัญประจาํ ป 2564 ท่ีประชุมไดอนุมัติการจัดสรร
เงินทุนสาธารณประโยชนเปนจาํ นวนเงิน 2,977,761.24 บาท รอยละ 0.61 ของกาํ ไรสุทธิประจาํ ป 2563 ซ่ึงการจัดสรร
ดังกลาว มีจดุ มุง หมายในการใชเ พ่ือจดั สรรสวัสดิการตา งๆ กลับคืนสูตัวสมาชกิ และครอบครวั สมาชกิ เปนสาํ คญั
ในป 2564 สอมธ. ไดจายเงินทุนสาธารณประโยชนเพ่ือเปนสวัสดิการแกสมาชิกและครอบครัว
ตลอดจนสนับสนุนกิจกรรมตางๆ ของมหาวิทยาลัย และบริจาคเพื่อสาธารณกุศลเปนจํานวนเงินทั้งสิ้น 8,806,050.00 บาท
จายเงนิ กองทุนทดแทนสมาชกิ เปน จาํ นวนเงิน 11,796,540.00 บาท และจา ยเงินกองทุนเกษียณอายรุ าชการเปนจํานวนเงนิ
4,410,000.00 บาท รวมเปนเงินท่ีจา ยเพือ่ สวสั ดิการสมาชกิ และครอบครวั สมาชกิ จาํ นวนทงั้ สิ้น 23,193,756.00 บาท
1. จายทนุ การศกึ ษาบตุ รของสมาชกิ 1,433 ทนุ 3,778,250.00 บาท
2. จา ยเงนิ ทนุ เกย่ี วกบั การสมรสของสมาชิก 63 ราย 94,500.00 บาท
3. จายเพอ่ื การสงเคราะหเกย่ี วกบั การศพของคูสมรส 2,085,000.00 บาท
หรือบุตร หรือบดิ า หรอื มารดา 214 ราย
4. จา ยเพ่อื สมทบเปนคารกั ษาพยาบาล 618 ราย 1,324,800.00 บาท
5. จายเพอื่ สวัสดกิ ารสําหรบั สมาชิกผูเปน โสด 22 ราย 33,000.00 บาท
6. จายสวสั ดกิ ารชวยเหลอื สมาชิกผูติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 1,255,000.00 บาท
7. จา ยเงนิ สมทบเปนเจาภาพสวดพระอภธิ รรมศพ 22 ราย 110,000.00 บาท
8. จา ยเงนิ ชว ยเหลือสมาชกิ ประสบภัยพิบตั ิ 21 ราย 85,500.00 บาท

จายทนุ สาธารณประโยชนเ พอื่ สนบั สนุนกจิ กรรมมหาวทิ ยาลัยและรวมการกุศลตางๆ
- บรจิ าคกฐนิ พระราชทาน มธ. 40,000.00 บาท

จา ยเงินกองทนุ ทดแทนสมาชกิ 3,691,000.00 บาท
1. กรณสี มาชกิ เสียชวี ติ 28 ราย 5,142,200.00 บาท
2. กรณีสมาชิกอายุครบ 61–95 ปบ รบิ รู ณ จํานวน 752 ราย 2,963,340.00 บาท
3. จายคาเบ้ยี ประกนั อุบตั ิเหตุ

จายเงินกองทุนเกษียณอายรุ าชการ 4,410,000.00 บาท
- กรณเี กษยี ณอายุราชการ จํานวน 108 ราย

จา ยเงนิ สนิ ไหมทดแทนคา รักษาพยาบาล/เสยี ชีวติ จากอบุ ัตเิ หตุ 202,237.80 บาท
1. จายเงินสินไหมทดแทนคารักษาพยาบาล 45 ราย 300,000.00 บาท
2. จา ยเงินสนิ ไหมทดแทนเนือ่ งจากเสียชีวิต 1 ราย

นอกจากนแ้ี ลว สอมธ. ยงั ไดใหก ารเอ้ืออาทรตอ ชุมชนและสังคมอีกเปน จํานวน 3,534,000 บาท ดงั นี้
1. สนับสนนุ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร 2,000,000.00 บาท
2. สนบั สนุนการจัดทาํ หนงั สอื ครบรอบ 87 ป มธ. 30,000.00 บาท
3. จัดทาํ ของขวญั ปใหมส ําหรับสมาชกิ 1,484,000.00 บาท
4. รว มทาํ บญุ การจดั งานครบรอบโรงพยาบาลธรรมศาสตรฯ 1,000.00 บาท
5. รว มทําบญุ การจดั งานครบรอบสถาบันไทยคดีศกึ ษา 1,000.00 บาท

32 รายงานประจําป 2564

3ระเบียบวาระที่ 3

6. รว มบรจิ าคเพอ่ื จดั หาอปุ กรณช วยปฏบิ ตั งิ านควบคมุ ปอ งกันโรคโควดิ -19 3,000.00 บาท
ของสนั นบิ าตสหกรณแหงประเทศไทย 1,000.00 บาท
1,000.00 บาท
7. รวมทําบญุ ถวายผา พระกฐนิ พระราชทานของกรมทรัพยากร 1,000.00 บาท
8. รว มสนบั สนุนการจดั กิจกรรม “โครงการเพื่อนอ งโครงการ 7” 1,000.00 บาท
1,000.00 บาท
ของสหกรณอ อมทรพั ยครแู พร จํากัด 1,000.00 บาท
9. รว มเปนเจาภาพถวายผา พระกฐินของสหกรณอ อมทรัพยค รูยโสธร จาํ กดั 1,000.00 บาท
10. รว มทาํ บุญทอดกฐนิ สหกรณสามคั คขี องสันนิบาตสหกรณแหง ประเทศไทย 1,000.00 บาท
11. รว มอนุโมทนาการถวายผาพระกฐนิ พระราชทานของกรมสง เสรมิ สหกรณ 1,000.00 บาท
12. รวมทาํ บญุ ทอดผา ปา มหากุศลเพอื่ พัฒนาคณุ ภาพชีวิตคนพิการ 1,000.00 บาท
1,000.00 บาท
ของมูลนธิ ิสากลเพ่อื คนพิการ 1,000.00 บาท
13. สมทบทุน “โครงการจดั ซอ้ื ครภุ ณั ฑท างการแพทย 1,000.00 บาท
1,000.00 บาท
ของสหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขกระบี่ จํากัด 1,000.00 บาท
14. รว มอนุโมทนาถวายผา พระกฐนิ พระราชทาน

ของสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหสมาชกิ สหกรณออมทรัพย
15. รว มเปนเจา ภาพถวายผากฐนิ

ของสหกรณออมทรพั ยมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร จาํ กดั
16. รว มทําบญุ ครบรอบ 60 ป ของสหกรณออมทรัพยครเู ชียงราย จาํ กดั
17. รวมทําบุญถวายผาพระกฐนิ พระราชทาน

ของชมุ นมุ สหกรณอ อมทรัพยแ หง ประเทศไทย จาํ กดั
18. รวมเปนเจา ภาพทอดกฐินสามัคคี

ของสหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขหนองคาย จํากดั
19. รว มทาํ บญุ ทอดกฐนิ สามัคคีของสหกรณออมทรพั ยครมู หาสารคาม จาํ กัด
20. รวมสมทบทุนการจัดกจิ กรรม “ปน นา้ํ ใจ เพอื่ นอง”

ของสหกรณออมทรัพยค รูเลย จาํ กดั
21. รว มสนบั สนุนทุนการศึกษา อาหารกลางวนั และอปุ กรณก ารเรยี น

มูลนธิ ไิ พศาล ธวชั ชยั นนั ท

1.6 ดานการพัฒนาความรูกับสหกรณออมทรัพยใหแกสมาชิก กรรมการดําเนินการ เจาหนาที่สหกรณ
และขบวนการสหกรณ

■ สัมมนาเพื่อสมาชกิ
1. สนับสนุนโครงการสัมมนาสมาชิกตามหนวยงานตางๆ ท่ีขอสนับสนุนมายัง สอมธ. โดย สอมธ. สงผูแทน
เขารว มบรรยายใหความรูเ กยี่ วกับสหกรณ ดงั รายละเอยี ดตอไปนี้

1. กองบรหิ ารศูนยรังสิต
2. กองบรหิ ารศนู ยท าพระจนั ทร
3. ศูนยห นังสอื มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 33

3 ระเบียบวาระท่ี 3

■ สัมมนากรรมการและเจาหนาที่และเพอ่ื ขบวนการสหกรณ
จัดสัมมนาคณะกรรมการดาํ เนินการและเจาหนาท่ีจาํ นวน 4 คร้ัง คือ ครั้งที่ 1 เพื่อสรุปผลการดาํ เนินงาน
ประจําป 2563 รวมท้ังการกําหนดแผนงานและเปาหมายการดาํ เนินงานประจําป 2564 วันท่ี 23 มกราคม 2564 ณ โรงแรม
รามาการเดนส กรุงเทพมหานคร คร้ังท่ี 2 จัดสัมมนาเพ่ือปฐมนิเทศกรรมการชุดท่ี 50/2564 เพ่ือเพิ่มพูนความรูดาน
การบริหารเงินทุน การบริหารจัดการ และเพ่ือสรางความสัมพันธระหวางกรรมการกับเจาหนาที่ ระหวางวันท่ี 28–30
มีนาคม 2564 ณ โรงแรม OAKWOOD ศรีราชา จังหวัดชลบุรี ครั้งท่ี 3 สัมมนาเก่ียวกับนโยบาย แผนงาน และเปาหมาย
การดําเนินการ วันที่ 22 มิถุนายน 2564 ณ สอมธ. ศูนยรังสิต และครั้งที่ 4 สัมมนาเก่ียวกับ “กฎกระทรวง” และสรุป
ผลการดําเนินงาน 9 เดือน ระหวางวันที่ 13–14 พฤศจกิ ายน 2564 ณ โรงแรม ไมดา แกรนดทวารวดี จงั หวดั นครปฐม

2. สถานภาพดา นเงินกขู องสมาชิก (ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564)
จาํ นวนสมาชิก 10,153 คน
จํานวนสมาชิกทมี่ หี นก้ี ับ สอมธ. 5,379 คน คิดเปน อัตรารอยละ 52.98
จาํ นวนสมาชิกทไ่ี มมหี น้กี บั สอมธ. 4,774 คน คิดเปน อตั รารอ ยละ 47.02

3. ฐานะการเงินเปรียบเทยี บกับปท่แี ลว

ป 2564 ป 2563 เพิ่มขึน้ (ลดลง)
ทนุ เรือนหนุ ท่ีชาํ ระแลว 6,569,396,030.00 6,149,444,630.00 419,951,400.00
ทนุ สํารองและทนุ อ่ืน 1,976,581,493.06 1,899,001,578.05 77,579,915.01
เงนิ รบั ฝาก ณ วันส้นิ ป 22,184,763,385.06 20,247,196,330.20 1,937,567,054.86
เงนิ กยู มื 3,085,000,000.00 2,900,000,000.00 185,000,000.00
รวมเปน ทนุ ดาํ เนนิ งานทงั้ ส้ิน 33,815,740,908.12 31,195,642,538.25 2,620,098,369.87
เงินใหกูแ กส มาชกิ ระหวางป 2,075,659,963.25 2,225,905,500.00 (150,245,536.75)
เงนิ ชาํ ระคนื เงินกรู ะหวางป 2,042,344,511.68 2,423,307,786.28 (380,963,274.60)
เงินกคู งเหลืออยูทสี่ มาชิกเมอ่ื ส้ินป 5,277,530,518.24 5,244,215,066.67 33,315,451.57
กําไรสทุ ธิ 342,336,429.65 485,280,620.93 (142,944,191.28)

4. คาํ ชี้แจงประกอบฐานะเปรยี บเทยี บ

4.1 สมาชกิ ภาพ
จํานวนสมาชิกเมื่อตน ป 2564 9,975 ราย
บวก ระหวางปสมาชกิ เขาใหม 341 ราย
หกั ระหวา งปส มาชิกลาออก 135 ราย
ระหวา งปส มาชกิ ตาย 28 ราย
คงเหลอื เปนสมาชกิ เม่อื สิ้นป 10,153 ราย

34 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระที่ 3

4.2 เงนิ สะสมรายเดอื นและหนุ ป 2564 ป 2563
ทุนเรือนหุนเมื่อตน ป 6,149,444,630.00 5,813,263,670.00
บวก ไดร บั คา หุน ระหวา งป 499,343,370.00 512,090,030.00
6,648,788,000.00 6,325,353,700.00
หกั จายคนื คาหนุ เน่อื งจากสมาชกิ ลาออก 175,909,070.00
คงเหลือเปน ทนุ เรือนหนุ เม่อื ส้ินป 79,391,970.00 6,149,444,630.00
ทนุ เรือนหุนเพ่ิมขน้ึ 6,569,396,030.00 336,180,960.00
4.3 เงินรับฝากจากสมาชิก 419,951,400.00 20,387,049,571.01
ยอดเงินรับฝากเม่ือตน ป 20,247,196,330.20 25,831,248,606.24
บวก เงนิ รบั ฝากระหวา งป 24,481,185,621.27 46,218,298,177.25
44,728,381,951.47 25,971,101,847.05
หัก เงนิ ถอนระหวางป 22,543,618,566.41 20,247,196,330.20
ยอดเงนิ รับฝากคงเหลือเมอ่ื สิน้ ป 22,184,763,385.06 (139,853,240.81)
ยอดเงนิ รับฝากเพิ่มขึน้ (ลดลง) 1,937,567,054.86
รายละเอยี ดของเงนิ รับฝากแตละประเภทดงั น้ี 1,050,882,033.78
4.3.1 เงนิ รับฝากออมทรพั ย 898,087,785.95 4,296,190,759.73
ยอดเงินรับฝากเมื่อตนป 3,309,133,824.99 5,347,072,793.51
บวก เงนิ รับฝากระหวา งป 4,207,221,610.94 4,448,985,007.56
3,298,680,016.84 898,087,785.95
หัก เงนิ ถอนระหวางป 908,541,594.10 (152,794,247.83)
ยอดเงนิ รบั ฝากออมทรพั ยค งเหลอื เมอื่ สน้ิ ป 792,186,675.82
ยอดเงนิ รบั ฝากออมทรพั ยเพมิ่ ข้ึน (ลดลง) 10,453,808.15 1,416,927,194.25
4.3.2 เงินรบั ฝากออมทรัพยส นิ ทวี 1,173,840,122.89 2,209,113,870.07
ยอดเงนิ รบั ฝากเม่อื ตนป 1,422,091,139.17 1,035,273,747.18
บวก เงินรับฝากระหวางป 2,595,931,262.06 1,173,840,122.89
1,380,767,422.61 381,653,447.07
หกั เงนิ ถอนระหวา งป 1,215,163,839.45
ยอดเงินรบั ฝากออมทรพั ยสินทวีคงเหลือเม่อื ส้ินป
ยอดเงินรับฝากออมทรัพยส นิ ทวีเพ่มิ ขน้ึ 41,323,716.56

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 35

3 ระเบียบวาระที่ 3

ป 2564 ป 2563
4,057,300.00
4.3.3 เงนิ รบั ฝากออมทรพั ยพ เิ ศษเพอื่ สวัสดิการ 3,876,010.00 856,603.06
ยอดเงินรบั ฝากเมื่อตนป 465,453.17 4,913,903.06
บวก เงนิ รับฝากระหวา งป 4,341,463.17 1,037,893.06
221,463.17 3,876,010.00
หัก เงินถอนระหวา งป 4,120,000.00 (181,290.00)
ยอดเงินรบั ฝากออมทรัพยพิเศษเพื่อสวสั ดกิ ารคงเหลอื เมอ่ื สิน้ ป 243,990.00 18,539,923,561.41
ยอดเงนิ รับฝากออมทรพั ยพ เิ ศษเพ่ือสวัสดกิ ารเพ่ิมขึ้น (ลดลง) 20,117,274,049.20
38,657,197,610.61
4.3.4 เงนิ รับฝากประจาํ 18,171,392,411.36 20,485,805,199.25
ยอดเงนิ รบั ฝากเมื่อตน ป 19,749,495,203.94 18,171,392,411.36
บวก เงนิ รับฝากระหวา งป 37,920,887,615.30 (368,531,150.05)
17,863,949,663.79 4,800,000,000.00
หกั เงนิ ถอนระหวา งป 20,056,937,951.51 54,430,000,000.00
ยอดเงินรบั ฝากประจาํ คงเหลอื เมอ่ื สน้ิ ป 1,885,545,540.15 59,230,000,000.00
ยอดเงนิ รบั ฝากประจาํ เพิ่มขน้ึ (ลดลง) 56,330,000,000.00
2,900,000,000.00
4.4 เงินกู 2,900,000,000.00 (1,900,000,000.00)
ยอดเงินกูเม่ือตน ป 30,000,000,000.00 5,441,617,352.95
บวก กเู พมิ่ ระหวา งป 32,900,000,000.00 2,225,905,500.00
29,815,000,000.00 7,667,522,852.95
หกั ชําระคนื ระหวา งป 3,085,000,000.00 2,423,307,786.28
ยอดเงินกูคงเหลอื เมื่อส้ินป 5,244,215,066.67
ยอดเงินกเู พ่มิ ขน้ึ (ลดลง) 185,000,000.00 (197,402,286.28)

4.5 การใหเงินกูแกสมาชกิ 5,244,215,066.67
สมาชิกเปนหนี้ สอมธ. เมอ่ื ตนป 2,075,659,963.25
บวก ใหก ูเ พิม่ ระหวางป 7,319,875,029.92
2,042,344,511.68
หัก ชาํ ระคนื เงนิ กูระหวา งป 5,277,530,518.24
คงเหลอื หนี้สินของสมาชกิ เมือ่ สน้ิ ป
ยอดเงนิ ใหก ูแ กส มาชิกเพ่มิ ข้ึน (ลดลง) 33,315,451.57

36 รายงานประจําป 2564

3ระเบียบวาระท่ี 3

ป 2564 ป 2563

รายละเอยี ดของเงินใหกูแตละประเภทดงั น้ี 3,096,359,038.58 3,268,511,676.32
4.5.1 เงนิ กูพ เิ ศษ 621,268,163.25 690,500,810.00
3,717,627,201.83 3,959,012,486.32
ยอดเงินใหกคู งเหลอื เมื่อตนป 715,340,054.10 862,653,447.74
บวก ใหก เู พ่มิ ระหวา งป 431 สญั ญา 3,002,287,147.73 3,096,359,038.58
(94,071,890.85) (172,152,637.74)
หกั ชาํ ระคืนระหวา งป
คงเหลอื ลูกหนเ้ี งินกูพิเศษเมอ่ื ส้ินป 2,064,839,212.34 2,085,198,578.63
ยอดเงนิ กพู เิ ศษ (ลดลง) 1,073,351,600.00 1,378,675,000.00
4.5.2 เงินกูสามญั 3,138,190,812.34 3,463,873,578.63
ยอดเงนิ ใหก ูคงเหลอื เมอ่ื ตนป 1,162,687,319.08 1,399,034,366.29
บวก ใหกูเพิ่มระหวางป 2,630 สญั ญา 1,975,503,493.26 2,064,839,212.34

หัก ชําระคืนระหวางป (89,335,719.08) (20,359,366.29)
คงเหลอื ลูกหนเี้ งินกูสามัญเม่ือสิ้นป
ยอดเงนิ กูสามัญเพิ่มขึน้ (ลดลง) 0.00 108,248.75
4.5.3 เงนิ กูฟา ใส 246,713,600.00 0.00
ยอดเงินใหก คู งเหลอื เมอ่ื ตน ป 246,713,600.00
บวก ใหก เู พ่ิมระหวางป 1,590 สญั ญา 13,674,619.75 108,248.75
233,038,980.25 108,248.75
หกั ชาํ ระคืนระหวา งป 233,038,980.25
คงเหลอื ลกู หนเ้ี งินกูฟาใสเมื่อส้ินป 0.00
ยอดเงนิ กฟู า ใสเพิม่ ข้ึน (ลดลง) (108,248.75)
4.5.4 เงนิ กปู นผล
ยอดเงินใหก ูคงเหลอื เม่อื ตนป 3,944,300.00 8,563,700.00
บวก ใหก เู พ่มิ ระหวางป 316 สญั ญา 2,704,800.00 4,728,100.00
6,649,100.00 13,291,800.00
หัก ชําระคืนระหวางป 4,174,900.00 9,347,500.00
คงเหลือลูกหนี้เงินกปู นผลเมือ่ สน้ิ ป 2,474,200.00 3,944,300.00
ยอดเงนิ กปู น ผล (ลดลง) (1,470,100.00) (4,619,400.00)

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 37

3 ระเบียบวาระที่ 3

4.5.5 เงนิ กูมหาอุทกภยั ป 2564 ป 2563
ยอดเงินใหกคู งเหลอื เมอ่ื ตน ป 0.00 23,217.25
บวก ใหกูเพิม่ ระหวา งป 0.00 0.00
0.00 23,217.25
หกั ชาํ ระคนื ระหวางป 0.00 23,217.25
คงเหลือลกู หนีเ้ งนิ กูมหาอทุ กภยั เมือ่ สิ้นป 0.00 0.00
ยอดเงนิ กูมหาอุทกภยั (ลดลง) 0.00 (23,217.25)
4.5.6 เงินกขู าราชการออกนอกระบบ
ยอดเงนิ ใหกูค งเหลอื เมือ่ ตน ป 55,587,881.75 58,589,823.50
บวก ใหกูเพมิ่ ระหวางป 25 สัญญา 11,138,600.00 21,733,000.00
66,726,481.75 80,322,823.50
หัก ชําระคนื ระหวางป 17,258,384.75 24,734,941.75
คงเหลอื ลูกหน้ีเงนิ กขู า ราชการออกนอกระบบเมอ่ื สิน้ ป 49,468,097.00 55,587,881.75
ยอดเงินกูขาราชการออกนอกระบบ (ลดลง) (6,119,784.75) (3,001,941.75)
4.5.7 เงินกฉู ุกเฉนิ 23,484,634.00 20,622,108.50
ยอดเงนิ ใหก คู งเหลอื เม่ือตน ป 120,483,200.00 130,268,590.00
บวก ใหกูเ พิม่ ระหวา งป 4,015 สัญญา 143,967,834.00 150,890,698.50
129,209,234.00 127,406,064.50
หกั ชําระคนื ระหวางป 14,758,600.00 23,484,634.00
คงเหลอื ลูกหน้เี งินกฉู กุ เฉินเม่ือสน้ิ ป (8,726,034.00) 2,862,525.50
ยอดเงนิ กฉู กุ เฉินเพิ่มข้ึน (ลดลง)

38 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระท่ี 3

5. รายไดแ ละรายจาย 1,126,844,435.34
รายได รายไดก อ นหักคาใชจาย 246,459,525.30
แยกไดด งั นี้ 196,874,894.33
ดอกเบ้ียรับเงนิ ใหสมาชิกกู 909,241.09
ดอกเบี้ยรบั เงนิ ใหส หกรณอนื่ กู 95,537,671.21
ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 583,734,879.84
ดอกเบีย้ รบั เงินฝากชุมนมุ สหกรณออมทรพั ยแหง ประเทศไทย จาํ กดั 3,176,460.14
ผลตอบแทนจากการลงทุน 34,100.00
ดอกเบีย้ รบั ลูกหน้ีขาดสมาชกิ ภาพ 117,663.43
คา ธรรมเนียมแรกเขา 784,508,005.69
รายไดเบด็ เตลด็ 614,154,452.62
รายจาย สหกรณม ีคาใชจายทัง้ ส้นิ 23,795,444.00
แยกไดดังนี้ 818,000.00
ดอกเบ้ียจา ย 502,900.00
เงนิ เดอื นและคา จาง 591,500.00
เงนิ เพม่ิ ชวยคา ครองชพี 420,825.00
คา ลว งเวลา 285,470.75
คาเบยี้ ประชมุ กรรมการ 355,000.00
คา สมนาคณุ 1,471,347.15
คารับรอง 94,441.60
คาธรรมเนียมตรวจสอบกิจการและคา ธรรมเนยี มสอบบัญชี 17,089,725.87
คาเครื่องเขยี นแบบพมิ พและวัสดุสาํ นักงาน 2,442,262.28
คา น้ํามนั เช้อื เพลิง 1,493,112.76
คาใชส อย 149,340.00
เงินสมทบกองทุนสาํ รองเลย้ี งชีพ 193,150.68
คา เส่ือมราคา อาคารและอปุ กรณ 534,492.26
คา ปรบั ปรงุ สาํ นกั งานตดั จา ย 157,318.48
คา สทิ ธิการใชป ระโยชนในอาคารตัดจาย 1,709,222.24
คาสิทธกิ ารใชป ระโยชนในซอฟทแวรต ัดจาย 118,250,000.00
หน้ีสงสยั จะสญู - เงนิ ใหกูยมื
สว นเกินมูลคาหนุ กูบริษัท การบนิ ไทย จาํ กัด (มหาชน) ตัดจําหนา ย
ขาดทุนจากการดอ ยคา-หุน กบู ริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน)

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 39

3 ระเบยี บวาระท่ี 3

6. การใชจ า ยเงินงบประมาณป 2564

งบประมาณทีไ่ ดรับอนุมตั ิ ใชไป ผลตา ง
เงินเดอื น 25,603,500.00 24,613,444.00 990,056.00
คาตอบแทน 3,343,000.00 2,155,695.75 1,187,304.25
คาวสั ดุ 2,200,000.00 1,512,301.64 687,698.36
คาใชส อย 30,416,000.00 17,196,869.14 13,219,130.86
คา ครภุ ัณฑ 367,500.00 38,340.00
ระบบคอมพวิ เตอร 12,728,000.00 329,160.00 11,126,046.82
คาปรับปรงุ สาํ นกั งานและภูมิทศั น 530,000.00 1,601,953.18 530,000.00
75,188,000.00 27,778,576.29
0.00
47,409,423.71

40 รายงานประจําป 2564

3ระเบียบวาระที่ 3

กระบวนการบริหารความเส่ยี งดานตา งๆ

คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียงไดดําเนินการจัดทาํ แผนบริหารความเสี่ยง ตามกรอบความเสี่ยงและ
วัตถุประสงคในการบริหารความเส่ียงของ สอมธ. 5 ดาน ไดแก ดานสินเชื่อ ดานการลงทุน ดานสภาพคลอง ดานการ
ปฏิบัติการ และดานจริยธรรม และไดกําหนดเปาหมายในการจัดการความเสี่ยง เกณฑการวัดความรุนแรง ผูรับผิดชอบ
ในการบริหารความเส่ียง และแนวทางการจัดการความเสี่ยง สําหรับวัตถุประสงคดานตางๆ โดยมีกรอบความเส่ียง
และวตั ถุประสงค เปา หมาย และชว งที่ยอมรับได โดยสงั เขปดงั นี้

กรอบความเส่ยี งและวตั ถปุ ระสงค เปา หมายและชว งท่ยี อมรบั ได
1. ดา นสินเชอ่ื
1. มรี ะเบยี บขอบงั คบั ที่เกีย่ วของกับการใหสินเช่อื แตละ
1.1 เพอื่ ใหสมาชิกสามารถเขาถึงเงินกูไดอยาง ประเภท
เปนธรรมและตรงตามวตั ถุประสงคก ารขอสนิ เชือ่
2. มชี อ งทางใหส มาชิกเขา ถึงการขอสินเชอ่ื
1.2 เพ่ือให สอมธ. รับชาํ ระหนเ้ี งินกจู ากสมาชกิ 3. มีการกําหนดอัตราดอกเบ้ียเงนิ กทู ีเ่ หมาะสมกบั สินเชอ่ื
อยางครบถว นตามกําหนดสญั ญา
แตละประเภท
4. มีมาตรการในการชวยเหลอื สมาชิกท่ีมคี วามลาํ บากใน

การชําระหน้ี (โครงการปรับโครงสรางหนี้, การประกัน
ผูก ู)
5. มคี วามสะดวกในการรับชําระหน้ี
1. มกี ระบวนการแจง เตือนเมอื่ ลูกหน้จี ายชําระหน้ี
ไมต รงกาํ หนด
2. มกี ระบวนการแจงเตอื นผกู เู กยี่ วกบั คณุ สมบัติ
ผูค ้ําประกัน อยา งทันทว งที
3. มกี ระบวนการทย่ี ดื หยนุ เพ่อื ชวยเหลือผคู ้าํ ประกนั
ที่ชาํ ระหน้แี ทนผูกู ใหส ามารถชําระหนี้ได
(โครงการปรบั โครงสรา งหน)ี้
4. มีกระบวนการพิจารณาหลกั ประกนั (ท่ดี ินและ
หลกั ทรัพยคาํ้ ประกัน) ทรี่ อบคอบเพอ่ื ใหม ั่นใจวา
หลกั ประกันจะไมบกพรองในภายหลงั และมมี ลู คา
ครอบคลุมมลู หน้ี
5. มีการทบทวนมลู คา หลักประกันทม่ี ีความเสี่ยงในการ
เปลยี่ นแปลงมลู คา

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 41

3 ระเบยี บวาระที่ 3

กรอบความเส่ียงและวตั ถปุ ระสงค เปา หมายและชว งทยี่ อมรบั ได

1. ดานสนิ เชอื่ (ตอ ) - มกี ระบวนการพิจารณาและกําหนดอัตราดอกเบย้ี เงนิ กู
1.3 เพ่อื ใหสหกรณอ่ืนมากเู งิน ท่เี หมาะสม

1.4 เพ่อื ให สอมธ. รับชาํ ระหนเ้ี งนิ กจู ากสหกรณอน่ื 1. มีกระบวนการอนุมัติเงนิ กูและการรบั ชําระเงนิ
อยา งครบถว นตามกาํ หนดสัญญา อยางเหมาะสมและตามกฎหมายอน่ื ทก่ี าํ หนด

2. มีการติดตามสถานะทางการเงินและสภาพคลอ ง
ของสหกรณล ูกคา เพ่ือใหสามารถติดตามเรยี กชาํ ระหนี้
หรอื ดําเนนิ การตามกฎหมายกรณีผดิ นดั ชาํ ระหน้ี
ไดอยา งทันทว งที

2. การลงทุน 1. มกี รอบการลงทุนท่รี ะบปุ ระเภทการลงทุนตามท่ี
2.1 เพอื่ ใหก ารลงทุนเปน ไปตามกรอบท่ีกาํ หนด กฎหมายกําหนดและมกี ารกาํ หนดวงเงินลงทนุ
โดย พ.ร.บ.สหกรณ กฎกระทรวง และระเบียบ สาํ หรบั การลงทุนประเภทตา งๆ
ทีเ่ ก่ยี วของ
2.2 เพือ่ ให สอมธ. ไดรับคนื เงนิ ลงทนุ และ 2. มกี ารพิจารณาสภาพคลอ งทงั้ ระยะสัน้ และระยะยาว
ผลตอบแทนจากการลงทุนตามกาํ หนดเวลา กอ นการลงทุน

3. สภาพคลอ ง 1. มีการกาํ หนดปรมิ าณเงนิ สดสาํ รองสําหรับสาํ นกั งาน
3.1 เพือ่ ให สอมธ. มเี งนิ สํารองไดเ พียงพอตอ แตละแหง ใหเ พยี งพอตอ ระดับการฝากถอนตามปกติ
ความตอ งการฝาก-ถอน ของสมาชิก
2. มีการพจิ ารณาสภาพคลองทง้ั ระยะส้นั และระยะยาว
กอ นการนําเงนิ ไปฝากระยะยาว หรอื นาํ เงินไปลงทนุ
ระยะยาวประเภทอ่นื ๆ

3.2 เพอื่ ให สอมธ. สามารถชําระหนีส้ นิ และ - มีการพิจารณาสภาพคลอ งท้งั ระยะสนั้ และระยะยาว
ภาระผกู พันไดตามกาํ หนด กอนการนําเงนิ ไปฝากระยะยาวหรือนาํ เงินไปลงทนุ
ระยะยาวประเภทอ่ืนๆ

3.3 เพื่อให สอมธ. สามารถเปล่ียนสนิ ทรัพยเ ปนเงนิ สด - มีการพจิ ารณาสภาพคลอ งท้งั ระยะสน้ั และระยะยาว
หรอื สามารถจดั หาทนุ ไดเพียงพอตอความตองการ กอนการนาํ เงินไปฝากระยะยาวหรือนําเงินไปลงทนุ
ในการใชจ ายและการลงทุน ระยะยาวประเภทอ่ืนๆ

42 รายงานประจําป 2564

3ระเบยี บวาระที่ 3

กรอบความเสี่ยงและวัตถุประสงค เปาหมายและชวงท่ยี อมรับได

4. ปฏบิ ตั ิการ - มีการกาํ กับตดิ ตามการดาํ เนินงานตามแผนปฏิบัตงิ าน
4.1 เพ่ือให สอมธ. สามารถดําเนินงานตามนโยบาย เสนอกรรมการดําเนนิ การ
และแผนการปฏิบัติงานไดอยา งตอ เนอื่ ง

4.2 เพือ่ ให สอมธ. สามารถตอบสนองความตองการ 1. มีการประเมินความพึงพอใจการใหบรกิ ารทางการเงนิ
ดานการเงนิ ใหก ับสมาชิกในรูปแบบตางๆ ไดอ ยา ง และการจดั สวัสดกิ าร
ครบถว น
2. มสี ํารวจความตอ งการการใหบ รกิ ารทางการเงินและ
การจัดสวสั ดิการแกสมาชกิ

3. มีการวิเคราะห/ ศึกษาการใหบ รกิ ารทางการเงนิ และ
การจดั สวสั ดิการ

4. มีการส่ือสารการดําเนินงานและนโยบายที่เกย่ี วขอ ง
ใหส มาชกิ ทราบอยางตอเน่อื ง

4.3 เพ่อื ให สอมธ. มีคณะกรรมการดําเนินการทีม่ ี 1. กรรมการมีคณุ สมบัติเปน ไปตามท่ี กฎหมายกําหนด
ความรูค วามสามารถในการบริหารจดั การ 2. กรรมการมีคณุ วุฒิการศกึ ษาดา นการเงิน การบญั ชี
อยางตอเนือ่ ง
การบริหารจดั การเศรษฐศาสตร หรือผา นการอบรม
ตามหลักสตู รท่ี คพช. กาํ หนด

4.4 เพือ่ ให สอมธ. มเี จา หนาทีท่ ี่มคี วามรูความสามารถ - เจา หนาท่มี ีความรูความสามารถในตําแหนง ทร่ี ับผิดชอบ
ในปฏบิ ัตงิ านอยา งตอ เนอื่ ง

4.5 เพ่ือให สอมธ. มีระบบปฏิบตั กิ ารและส่งิ อํานวย - มีระบบปฏบิ ตั ิการและสิง่ อํานวยความสะดวกพรอ มตอ
ความสะดวกทีม่ ีความพรอมตอการใหบ รกิ าร การใหบริการแกส มาชกิ
แกส มาชิกอยา งมปี ระสิทธภิ าพปลอดภัยและ
อยางตอ เน่อื ง

5. ดา นจรยิ ธรรม
5.1 เพอื่ ใหก รรมการและเจา หนา ทีป่ ฏบิ ัตติ ามกฎหมาย - เจาหนา ปฏิบตั งิ านเปน ไปตามกฎหมายและขอบงั คับ
และขอบังคับของ สอมธ. อยา งเครง ครดั ของ สอมธ.

5.2 เพอ่ื ใหกรรมการผูทรงคณุ วุฒิและเจาหนาที่ - กรรมการและเจา หนา ท่ีปฏิบตั งิ านโดยยึดหลกั
ของ สอมธ. บรหิ ารงานโดยยึดหลกั จริยธรรม ธรรมาภบิ าล จริยธรรมความเสมอภาคและ
ความเสมอภาคและใชความระมดั ระวงั รอบคอบ ใชค วามระมดั ระวงั รอบคอบเพอ่ื ใหเกดิ ประโยชน
เพ่อื ใหเ กิดประโยชนส งู สดุ ตอ สอมธ. และ สูงสดุ ตอ สอมธ. และสมาชิก
สมาชิก

สหกรณออมทรัพยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร จํากัด 43

3 ระเบยี บวาระที่ 3

กรอบความเสย่ี งและวตั ถปุ ระสงค เปา หมายและชว งที่ยอมรบั ได
5. ดา นจรยิ ธรรม (ตอ ) - กรรมการและเจา หนาที่ บรหิ ารงานโดยยดึ หลกั

5.3 เพ่อื ใหกรรมการผทู รงคุณวุฒแิ ละเจา หนา ท่ี ธรรมาภบิ าล ประมวลจรยิ ธรรม จรรณยาบรรณ
ไมกระทาํ การใดท่ีเปน การเออื้ ประโยชนห รือ กฎหมายระเบียบ ขอ บังคบั อยา งเครงครัด
มธี ุรกิจสว นตวั ที่มีผลประโยชนท ับซอ นไมว า
ทางตรงหรอื ทางออ มที่ขัดตอผลประโยชนข อง - การใชท รพั ยสนิ และบคุ ลากรทเี่ กดิ ประโยชนต อ
สอมธ. สอมธ. ไมน ําไปใชเพื่อประโยชนส ว นตน

5.4 เพือ่ ไมใ หน าํ ทรัพยส ินและบุคลากรของ สอมธ.
ไปใชเ พือ่ ประโยชนสว นตน

44 รายงานประจําป 2564

ภาพกิจกรรม
ท่ดี ําเนินการตามอดุ มการณ

และหลกั การสหกรณ

อดุ มการณสหกรณ

คือ ความคิดที่เชื่อวาการสหกรณ
จะชวยแกปญหาทางเศรษฐกิจและสังคมของมวลสมาชิก

ใหมีความอยูดี กินดี และมีสันติสุข
โดยการชวยตนเองและชวยเหลือซึ่งกันและกัน

หลักการสหกรณ

คือ แนวทางที่สหกรณยึดมั่นถือปฏิบัติ เพื่อใหคุณคาของสหกรณ
เกิดผลเปนรูปธรรม ประกอบดวยหลักการที่สําคัญ 7 ประการ
หลักการที่ 1 การเปนสมาชิกโดยสมัครใจและเปดกวาง
หลักการที่ 2 การควบคุมโดยสมาชิกตามหลักประชาธิปไตย
หลักการที่ 3 การมีสวนรวมทางเศรษฐกิจของสมาชิก
หลักการที่ 4 การปกครองตนเองและความเปนอิสระ
หลักการที่ 5 การศึกษา ฝกอบรม และสารสนเทศ
หลักการที่ 6 การรวมมือระหวางสหกรณ
หลักการที่ 7 การเอื้ออาทรตอชุมชน

หลักการที่ 1 • 2 • 4

การประชุมใหญ การหยั่งเสียงเลือกตั้ง การมอบงาน

หลักการที่ 1 • 2 • 4

การประชุมใหญ การหยั่งเสียงเลือกตั้ง การมอบงาน


Click to View FlipBook Version