The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lalalissajantakain, 2021-03-31 22:10:12

บท16

บท16

Vocabulary
เรอื่ ง

ระบบภูมคิ ุ้มกนั

นำเสนอโดย

นำย ธนั ยพงศ์ จนั ทะเคยี น
ม5.5 เลขที่ 25

การอักเสบ (inflammation)

การตอบสนองปกติของกลไกปกป้องร่างกายต่อการบาดเจ็บ การอกั เสบเฉียบพลันคือ
การตอบสนองของภมู คิ ุ้มกนั ทจ่ี ะคงอย่เู พยี งไมก่ ่วี นั และโดยปกติเปน็ ประโยชนต์ ่อ

การรกั ษา ถึงแม้ว่ามันมักจะมาพรอ้ มความรสู้ กึ ที่ไมพ่ งึ ประสงค์ เชน่ ความเจบ็ ปวด
จากอาการเจ็บคอ หรอื อาการคันหลังจากทแ่ี มลงกดั การอักเสบมกั จะแสดงใหเ้ ห็นได้
จากอาการบวม แดง ความเจ็บปวดทางกาย หรอื การที่สว่ นใดส่วนหนงึ่ ของร่างกาย
อุ่นเปน็ พเิ ศษ การอักเสบคอื การตอบสนองของระบบภมู ิคุม้ กันเพอ่ื ปกป้องส่งิ มชี ีวิต
จากการตดิ เช้ือ และการบาดเจบ็ จุดประสงคค์ ือเพ่ือบอกตำแหน่ง และกำจัดเนอื้ เยอ่ื
ท่เี สียหาย เพอ่ื ให้รา่ งกายไดส้ ามารถเริ่มฟน้ื ตวั เองได้ หากอาการอกั เสบเฉียบพลัน
เป็นไมห่ าย การอกั เสบเรื้อรงั ก็จะเกดิ ข้ึน และสามารถคงอยเู่ ป็นปีๆ หรือ แม้กระทั่ง
ชั่วชวี ติ

เซร่มุ (Serum)

เปน็ ของเหลวสเี หลอื งใสทส่ี กดั จากเลอื ดม้า หรือเลอื ดคนทมี่ ีภมู คิ ุม้ กนั โรคเบ็ดเสร็จอยู่
แล้ว (ซึ่งเตรียมขน้ึ โดยการฉดี เช้อื โรคท่ีตายแลว้ หรือมฤี ทธ์อิ ่อนเขา้ ไปในม้า หรอื คน
เพื่อกระตนุ้ ใหม้ ้าหรอื คนนน้ั สร้างภูมิคมุ้ กนั โรค แลว้ กเ็ อาเลอื ดของมา้ หรือคนนนั้ มา
สกดั อกี ท)ี การฉดี เซรมุ่ เขา้ ไปในคน กเ็ ทา่ กับเอาภูมิคมุ้ กันโรคจากม้าหรือคนมาใช้
แทนร่างกายของเราในการทำลายเชอ้ื โรค จงึ มักจะฉดี หลังจากท่รี ่างกายตดิ เชอ้ื โรค
ชนิดหนึ่งชนิดใดเข้าไปแลว้

เซลล์ที (T cell)

เปน็ เซลลภ์ มู ติ ้านทานชนิดหนงึ่ ซึง่ มีหนา้ ท่หี ลกั ในการหาเซลล์ท่ตี ดิ เชื้อหรือเชอ้ื โรค
ต่าง ๆ และกำจดั มนั มนั ทำหนา้ ทนี่ ้ไี ดโ้ ดยการใช้โปรตนี ท่อี ยบู่ นพืน้ ผิวของมันเองไป
ยดึ เกาะกบั โปรตีนบนพ้ืนผวิ ของสิ่งแปลกปลอม

ท-ี เซลลแ์ ตล่ ะตวั มคี วามเฉพาะเจาะจงมาก โปรตนี บนพ้ืนผวิ ของที-เซลลอ์ าจมีนบั
ล้านล้านแบบ ซงึ่ แต่ละแบบกจ็ ะจดจำเปา้ หมายทแ่ี ตกตา่ งกนั

เซลล์บี (B cell)

เปน็ เซลลเ์ มด็ เลือดขาวประเภทลมิ โฟไซต์ ซ่งึ เมื่อถกู กระตุ้นด้วยสารแปลกปลอมหรอื
แอนติเจนจะพฒั นาเปน็ พลาสมาเซลล์ทมี่ หี นา้ ท่หี ลง่ั แอนตบิ อดมี าจบั กับแอนติเจน บี
เซลลม์ ีแหล่งกำเนดิ ในรา่ งกายจากสเตม็ เซลล์ ที่ช่ือว่า "Haematopoietic Stem
cell" ทไ่ี ขกระดกู พบคร้งั แรกท่ีไขกระดูกบริเวณกน้ กบของไก่ ท่ชี ือ่ วา่ Bursa of
Fabricius จึงใช้ช่ือว่า "บีเซลล"์ (บางแหง่ อ้างว่า B ย่อมาจาก Bone Marrow หรือ
ไขกระดูกซงึ่ เปน็ ท่ีกำเนิดของบเี ซลล์ แตน่ ่เี ปน็ เพยี งความบังเอิญเทา่ นั้น) ในขณะท่ี
ลิมโฟไซตอ์ กี ชนดิ คอื ทเี ซลล์ ถกู คน้ พบคร้งั แรกที่ไขกระดูกบรเิ วณไทมสั จึงใช้ชอ่ื วา่
"ทีเซลล์"

เซลล์พลาสมา (plasma cell)

เมด็ เลอื ดชนดิ หน่ึงซง่ึ อาศัยอย่ใู นไขกระดกู หนา้ ทหี่ ลกั ของพลาสมาเซลล์ คอื สรา้ ง
แอนตบิ อดีหรืออมิ มโู นโกลบลู ิน (Immunoglobulin) หลายชนดิ เพือ่ สร้างภมู คิ มุ้ กนั
ให้กบั รา่ งกายเพอื่ ต่อสกู้ ับเช้อื โรค ปกติร่างกายจะมีจำนวนพลาสมาเซลลใ์ นไขกระดกู
ประมาณ 2 – 3 % หากมคี วามผิดปกติของการสร้างพลาสมาเซลลจ์ นเกิดเป็นโรค
จะพบจำนวนพลาสมาเซลลเ์ พม่ิ ข้ึนในไขกระดูกเกิน 10% รว่ มกับความบกพรอ่ งใน
การสร้างอิมมโู นโกลบลู นิ ชนดิ ตา่ ง ๆ จนทำให้เกดิ การสร้างโปรตีนบางชนดิ ในเลือดท่ี
มากผดิ ปกติ ซง่ึ เรยี กวา่ เอ็มโปรตนี (M Protein – Monoclonal Protein) โปรตีน
ดังกล่าวสามารถทำอันตรายตอ่ อวัยวะอนื่ ๆ ของร่างกายได้ เช่น กระดกู พรนุ ปวด
กระดูก เสยี่ งตอ่ ภาวะกระดูกหัก ไตวาย และระดบั แคลเซียมในรา่ งกายสูงจนเกดิ
อนั ตรายได้

เซลล์แมสต์ (mass cell)

เป็นเซลลท์ มี่ ีรูปร่างกลมหรือรี ในไซโทรพลาสซึมมแี กรนูลที่บรรจสุ าร histamine
และ heparin เอาไว้ โดยแมสต์เซลลม์ ีลักษณะใกล้เคยี งกับเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวท่มี ีชือ่
ว่าเบโซฟิลมากจึงเคยถกู เขา้ ใจว่าเป็นเบโซฟิลท่ีออกมาจากหลอดเลอื ด แตจ่ าก
การศึกษาภายหลังพบว่าทงั้ สองเซลล์ไม่ใช่เซลล์ชนิดเดยี วกัน ท้งั นใ้ี นแกรนลู ของ
เซลลท์ ัง้ สองชนิดบรรจุ histamine และ heparin รวมท้งั anticoagulant
เชน่ เดยี วกนั โดย heparin เกี่ยวข้องกบั การแข็งตวั ของเลอื ดคอื ช่วยไมใ่ หเ้ ลือด
แข็งตวั และ histamine เปน็ สารทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบ และ
การขยายหลอดเลอื ด

ไซโทไคน์ (cytokine)

เป็นโปรตนี ชนิดหนงึ่ ทช่ี ว่ ยรักษาการอักเสบ,การตดิ เชอื้ และ สร้างภมู ิคุ้มกนั
(Immune System) ให้แกร่ า่ งกาย ฉะน้ัน หากคณุ ภาพในการนอนไม่ดี หรอื นอน
นอ้ ยกว่า 8 ช่วั โมงตอ่ วนั จะทำให้ระบบภูมคิ มุ้ กนั ทำงานลดลง (Low Immune
System) สง่ ผลให้การคมุ้ กันเชื้อไวรัสลดลง (Decrease Natural Killer Cell
Activity) อกี ทัง้ ยัง ทำใหส้ มองสร้างโกรทฮอรโ์ มน (Growth Hormone) ไดน้ อ้ ยลง
และเน่ืองจากฮอรโ์ มนชนดิ น้ี เปน็ ตัวสง่ เสรมิ การสร้างเมด็ เลอื ดขาวบางชนดิ ทที่ ำให้
ร่างกายต่อตา้ นเชื้อไวรสั และสง่ิ แปลกปลอม ดงั นน้ั เพ่ือเสริมสรา้ งภมู คิ ุ้มกันของ
รา่ งกาย ในยุคทมี่ มี ลภาวะเป็นพษิ โรคชนิดใหมๆ่ และโรคตดิ ต่อมากมาย การพกั ผ่อน
นอนหลับให้เพียงพออยา่ งมคี ณุ ภาพ จงึ เป็นปจั จัยหลกั ในการดูแลสุขภาพ

ทีลิมโฟไซต์ (T lymphocyte)

เปน็ เม็ดเลอื ดขาวลมิ โฟไซต์ท่สี ร้างจากเซลลต์ น้ กำเนิด (stem cell) ในไขกระดูก
(bone marrow) เมอื่ เมด็ เลือดขาวน้ีไปอยู่ทตี่ ่อมไทมัสจะถูกชักนำใหเ้ กดิ การ
เปลยี่ นแปลง ไดเ้ ป็นเซลลต์ ัง้ ตน้ และเปลย่ี นแปลงตอ่ ไปเปน็ เซลลล์ มิ โฟไซต์ชนิดที ซงึ่
ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ เซลล์ภมู คิ ุม้ กันทส่ี ะกดกลืนกินหรอื ทำลายสิ่งแปลกปลอมทเี่ ข้าสเู่ นอ้ื เยอื่
ของรา่ งกาย

บลี ิมโฟไซต์ (B lymphocyte)

เป็นเม็ดเลอื ดขาวลมิ โฟไซต์ที่สรา้ งจากเซลลส์ ว่ นท่ีไมม่ กี ารเจรญิ ของไขกระดกู ใน
ระยะตัวอ่อน ด้วยการกระตนุ้ ใหเ้ ปน็ ลมิ โฟไซตช์ นิดบี ซึง่ มีหน้าทเี่ ปน็ ระบบภมู คิ มุ้ กนั
จากกระแสเลือดและสารคดั หลง่ั โดยเม่อื ลมิ โฟไซต์ชนดิ บีสมั ผสั กับแอนตเิ จนหรอื ส่งิ
แปลกปลอมเข้าสูร่ า่ งกาย จะกระตุ้นใหล้ มิ โฟไซต์ชนดิ บีเปลีย่ นแปลงไปเปน็ เซลล์
พลาสมา ที่ทำหน้าทส่ี ร้างแอนตบิ อดี นอกจากน้ลี มิ โฟไซต์ชนิดบบี างเซลล์จะ
เปล่ยี นแปลงไปเปน็ เซลล์เมมเมอรี (memory cell) ซ่งึ ทำหนา้ ท่จี ดจำลกั ษณะของ
แอนตเิ จนแตล่ ะชนดิ ท่เี คยเขา้ สรู่ า่ งกาย และหากมีแอนติเจนชนดิ เดมิ เข้าสรู่ ่างกายอกี
ครั้ง ร่างกายจะมีการตอบสนองด้วยการสรา้ งแอนตบิ อดขี ึน้ ไดอ้ ย่างรวดเรว็

ภมู ิคุ้มกันก่อเอง (active immunity)

เปน็ ภมู ิคุ้มกนั ท่เี กดิ จากร่างกายไดร้ บั แอนติเจน หรอื เชอ้ื โรคที่ออ่ นกำลงั ลงซ่งึ ไมท่ ำ
อันตรายต่อสุขภาพ โดยนำมาฉดี กิน หรอื ทาทผ่ี วิ หนงั กระต้นุ ใหร้ ่างกายสรา้ ง
แอนติบอดหี รือภมู ิคุ้มกนั ข้ึน เชน่ การฉีดวัคซนี ไอกรน โปลิโอ วณั โรค ไทฟอยด์ เป็น
ตน้

ภมู คิ ุ้มกันรบั มา (passive immunity)

เป็นภมู ิคมุ้ กนั ที่ไดม้ าจากการสกดั จากเลอื ดของสงิ่ มชี ีวิต แลว้ นำมาฉดี ใหร้ ่างกาย
ตา้ นทานโรคได้ทนั ที เช่น เซรมุ่ แกพ้ ิษงู เซรมุ่ โรคพิษสุนขั บา้ บาดทะยกั คอตีบ เป็น
ต้น หรอื ไดร้ ับภูมิคมุ้ กนั จากในครรภ์ เเละเมื่อคลอดออกมาจะได้รบั ภมู คิ มุ้ กันจาก
น้ำนมเเม่ แต่ภมู คิ มุ้ กนั ในน้ำนมเเม่จะลดลงหลงั จากคลอดได้ 6 เดอื นจงึ ทำใหท้ ารก
ตดิ เชอ้ื ไดง้ ่ายในระยะนี้

แมโครฟาจ (Macrophage)

เม็ดเลือดขาวชนดิ ทท่ี ำหนา้ ท่ีจบั กินสงิ่ แปลกปลอมทีห่ ลุดเข้าไปในรา่ งกาย เช่น เชอื้
โรคต่างๆ โดยเมด็ เลอื ดขาวชนดิ น้พี บไดท้ ง้ั ในเลือดและในเนื้อเยื่อตา่ งๆ แต่ทว่ั ไปมัก
พบอย่ใู นเน้ือเย่อื ตา่ งๆโดยเฉพาะในเน้อื เยื่อทมี่ ีการอักเสบตดิ เชอ้ื เมด็ เลอื ดขาวชนิดน้ี
เซลลจ์ ะมีขนาดใหญ่กวา่ เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวทัว่ ไป และภายในเซลล์ อาจพบมสี ่งิ
แปลกปลอมท่ีถกู เซลลน์ ี้จับกนิ เซลล์น้ีอาจมชี อ่ื เรยี กได้หลายชอ่ื เช่น Histiocyte ,
Kupffer cell , Alveolar macrophages, Microglia ,Phagocyte

ระบบภมู คิ ุ้มกัน (Immune system)

ทคี่ อยตา้ นทานและกำจัดเชอ้ื โรคหรือสงิ่ แปลกปลอมทเี่ ขา้ มาสรู่ ่างกาย โดยมเี ซลล์ท่ี
ทำหนา้ ทีผ่ ู้พิทกั ษค์ อื “เม็ดเลอื ดขาว” ทไี่ หลเวียนอยู่ในกระแสเลือดและตามอวัยวะ
ต่างๆ แต่หากร่างกายเราเกดิ ภาวะ ภูมติ า้ นทานตำ่ (Immunosuppression) หรอื
ภูมคิ ุม้ กนั บกพร่อง (Immunodeficiency) เชือ้ โรคส่งิ แปลกปลอมกจ็ ะเขา้ สรู่ า่ งกาย
ไดง้ ่าย ทำให้เราปว่ ยไดบ้ ่อยๆ นน่ั เอง หากเมอ่ื ใดทีร่ ่างกายเกิดภาวะภูมิคุ้มกนั ต่ำก็จะ
ทำใหเ้ จบ็ ป่วยได้บ่อย เช่นการเป็นไขห้ วดั ทอ้ งเสีย หรือ เปน็ โรคตดิ เช้อื ราบนผิวหนงั
บอ่ ยๆ ซ้ำๆ เช่น กลาก เกลือ้ น บอ่ ยๆ เปน็ ต้น

โรคข้อรมู าตอยด์ (rheumatoid arthritis)

เปน็ โรคของขอ้ ต่อทเี่ กดิ จากการอกั เสบเรอื้ รังของเย่ือหมุ้ ข้อซึ่งอยูบ่ รเิ วณรอยต่อ
ระหวา่ งกระดูก โดยจัดเป็นหน่งึ ในกลมุ่ โรคภมู ติ า้ นตนเอง (autoimmune disease)
ทีม่ ลี ักษณะเฉพาะคอื มกี ารอกั เสบรนุ แรงของขอ้ โดยเฉพาะขอ้ น้วิ มอื ข้อนว้ิ เทา้ ซง่ึ
หากปลอ่ ยทิ้งไวจ้ ะสง่ ผลใหข้ ้อถูกทำลายและเกดิ ความพกิ ารตามมาได้

ปัจจบุ นั ยังไม่ทราบสาเหตแุ นช่ ัดของการเกดิ โรคขอ้ อักเสบรมู าตอยด์ แตพ่ บว่ามสี ่วน
สมั พนั ธ์กับโรคภูมติ ้านตนเอง (autoimmune diseases) หรือการทรี่ ะบบภูมคิ มุ้ กัน
ของร่างกายทำรา้ ยเนื้อเยือ่ ตนเองจนทำใหเ้ กดิ การอักเสบ บวม และมนี ำ้ เพ่มิ ขึน้ ใน
ช่องข้อ สว่ นปจั จยั อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ การถ่ายทอดทางพันธกุ รรม และการตดิ เชอื้ ไวรัสหรอื
แบคทเี รยี โรคข้ออักเสบรมู าตอยดพ์ บได้บ่อยในสองชว่ งอายุ คอื ชว่ งอายุ 20-30 ปี
และ 50-60 ปี โดยพบในผหู้ ญิงมากกว่าผู้ชายในชว่ งอายุน้อย แต่ในชว่ งอายุมาก
พบไดท้ ัง้ 2 เพศเท่าๆกนั

โรคภมู แิ พ้ (allergy)

โรคท่มี ีความผดิ ปกตขิ องระบบภมู ิคุ้มกนั โดยทีร่ า่ งกายจะมปี ฏิกริ ิยาไวตอ่ สารที่
ก่อให้เกดิ โรคภมู แิ พห้ รอื สารระคายเคือง ซงึ่ จะทำให้เกิดอาการแพ้ โรคชนดิ นมี้ กั ไม่
คอ่ ยรนุ แรงถงึ ชวี ติ แตจ่ ะสง่ ผลรบกวนตอ่ การใชช้ ีวติ ประจำวนั ไมว่ า่ จะเปน็ การเรียน
หรือทำงาน ภูมิแพ้เปน็ โรคทพ่ี บมากในประชากรทั่วโลก สำหรับประเทศไทยน้ัน
จำนวนผู้ป่วยดว้ ยโรคภมู ิแพเ้ พิม่ ขึ้นเรอ่ื ยๆ และมีแนวโน้มท่จี ะเพิ่มขนึ้ ทุกปี

ลปูั ส (Lupus)

เป็นอาการอกั เสบแบบเร้ือรงั ที่เกดิ ขน้ึ เม่ือระบบภมู คิ ุ้มกันของร่างกายหันมาโจมตี
เนอ้ื เยือ่ และอวยั วะตา่ งๆ ของคุณเอง การอักเสบจากโรคลปู ัสอาจเกิดข้นึ กับระบบ
ร่างกายต่างๆ มากมาย รวมท้ังข้อตอ่ ผวิ หนัง ไต เม็ดเลอื ด สมอง หวั ใจและปอด
นอกจากนย้ี ังสามารถทำใหเ้ กิดภาวะสมองขาดเลอื ดได้ด้วย

สารก่อภมู ิแพ้ (allergen)

เปน็ สานท่กี ระตนุ้ การเกิดปฏกิ ิริยาทางภูมคิ ุ้มกัน และซ่ึงผลใหเ้ กดิ อาการภูมิแพข้ ้ึนใน
คนท่มี ีความไวตอ่ สารน้ันๆ แต่ไม่ทำใหเ้ กิดอาการหอื เป็นอันตรายตอ่ คนทัว่ ไป สารก่อ
ภูมิแพม้ ีอยทู่ ัง้ ในอากาศ ในฝุ่นละอองตามบา้ นรวมถงึ ในอาหารละยา ซึ่งมอี าการแพม้ ี
หลายแบบขน้ึ อยู่กบั ชนดิ ของสารกอ่ ภมู แิ พแ้ ละลกั ษณะจำเพาะของผ้ปู ว่ ยแต่ละคน
เช่า หอบ นำ้ มูกไหล จาม คนั ตา คันจมกู หายใจลำบาก ผืน่ คันขน้ึ ตามลำตัว ตาม
ผิวหนัง ถา่ ยมกู เป็นเลอื ด เปน็ ลม หมดสติ และช็อก ดงั นัน้ ปัจจยั สำคญั ในการรกั ษา
โรคภูมแิ พ้ คอื การหลกี เลย่ี งสารก่อภมู ิแพเ้ พอื่ ลดอาการของโรค

อิมมโู นโกลบลู ิน (immunoglobulin ; Ig)

อมิ มโู นโกลบลู นิ คือชอ่ื เรยี กแอนตบิ อดีในร่างกาย กล่าวคอื ยาอิมมูโนโกลบลู นิ ชนิด
ฉีดเข้าหลอดเลอื ดดำถูกเตรยี มมาจากนำ้ เหลอื งของผู้บริจาคโลหิตหลายคนมารวมกัน

(น้ำเหลอื งหรอื พลาสมา่ จัดเป็นส่วนประกอบในเลอื ดของมนุษย)์ ดังน้ันยาชนดิ น้ีจงึ
นำมาใชใ้ นการรกั ษาผปู้ ว่ ยเดก็ ท่มี ปี ญั หาขาดแอนตบิ อดีจากโรคภมู คิ ้มุ กนั บกพรอ่ ง
อย่างไรก็ตามกลไกการออกฤทธขิ์ องยาอิมมโู นโกลบลู นิ ชนดิ ฉดี เขา้ หลอดเลือดดำยัง
ไม่สามารถอธิบายได้ชดั เจนและมคี วามแตกตา่ งกนั ในแต่ละภาวะ โดยยานีส้ ามารถ
นำมาใช้ในการรักษาโรคภูมิคุ้มกันต่อต้านตนเองและโรคทางรมู าติกไดเ้ ชน่ กนั

แอนติเจน (Antigen)

สงิ่ แปลกปลอมทเี่ มื่อเข้าสูร่ า่ งกายแลว้ จะกระตุ้นใหร้ ่างกายสรา้ งแอนติบอดี
(Antibody) โดยแอนตเิ จนจะทำปฏิกิริยาจำเพาะกับแอนติบอดีบางชนดิ และ
บางสว่ นของแอนตเิ จนเทา่ น้นั จะกระตุ้นใหร้ า่ งกายตอบสนองดว้ ยการสรา้ ง
แอนตบิ อดี โดยตำแหนง่ ย่อยของแอนตเิ จนทสี่ ามารถทำปฏกิ ิรยิ ากบั แอนตบิ อดีทำให้
เกดิ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกนั ของร่างกาย เรียกว่า Antigenic determinant

แอนติบอดี (Antibody)

โปรตนี ที่ระบบภูมคิ มุ้ กนั ในรา่ งกายของสิ่งมชี วี ิตสรา้ งข้ึนมา เพ่ือกำจัดและทำลาย
แอนติเจนซึ่งเป็นสิ่งแปลกปลอมทเี่ ข้าสู่รา่ งกาย ประกอบดว้ ยโพลเี พปไทด์ 4 เส้น
วางเรยี งกันเป็นรูปตัว Y สว่ นใหญส่ รา้ งมาจากเซลลเ์ มด็ เลอื ดขาวชนิดบีลิมโฟไซต์
ซงึ่ แอนติบอดแี ตล่ ะชนดิ จะถกู ออกแบบมาเพ่อื ทำลายแอนตเิ จนท่แี ตกตา่ งกนั หรือพดู
งา่ ย ๆ ก็คอื แอนติบอดแี ตล่ ะตัวนัน้ จะมปี ฏกิ ริ ยิ าจำเพาะกับแอนติเจนแตล่ ะชนิดทมี่ า
กระตนุ้ เท่านั้น


Click to View FlipBook Version