The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lalalissajantakain, 2021-03-31 22:07:55

บท14

บท14

Vocabulary
เรอ่ื ง

ระบบหายใจ

นาเสนอโดย

นาย ธนั ยพงศ์ จนั ทะเคยี น
ม5.5 เลขที่ 25

กล่องเสียง (larynx)

เป็นอวัยวะในคอของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ด้วยนำ้ นมที่ทำหนา้ ทใ่ี นการป้องกันท่อลม
(trachea) และการทำใหเ้ กดิ เสียง ในกลอ่ งเสยี งมีสายเสยี งแทห้ รอื เส้นเสยี งแท้
(vocal fold) ซ่งึ อยู่ใต้บรเิ วณทค่ี อหอย (pharynx) แยกออกเป็นทอ่ ลมและหลอด
อาหาร (esophagus)

การแลกเปล่ียนก๊าซ (gas exchange)

การแลกเปล่ียนก๊าซเปน็ การแลกเปล่ยี นระหวา่ งก๊าซออกซเิ จนกบั ก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ การแลกเปลย่ี นกา๊ ซมี 2 ส่วนคอื สว่ นท1่ี เปน็ การแลกเปล่ยี น
ก๊าซทีถ่ ุงลมในปอด แลว้ นำออกซิเจนโดยเลอื ดไปแลกเปลี่ยนกา๊ ซ

คอหอย (pharynx)

เป็นทอ่ อยู่ระหวา่ งด้านหลงั ของชอ่ งปากและหลอดลม บริเวณนนีเ้ ปน็ จุดเชอื่ ม
ระหวา่ งหลอดลมกับหลอดอาหารโดยมกี ลไกควบคุมการส่งอาหารหรืออากาศคนละ
เวลากนั นอกจากน้ียงั ประกอบดว้ ยตอ่ นำ้ เหลอื ง 3 คู่อย่รู อบ ๆ คอหอย มหี นา้ ท่ีดกั
จับเชอื้ โรค

สไปโรมเิตอร์ (spirometer)

เปน็ การทดสอบสมรรถภาพปอดชนดิ หนึ่ง ท่วี ดั ความจปุ ดิ โดยการหายใจเข้า-ออก
ผ่านเคร่ืองspirometer เพ่อื วดั ปรมิ าตรอากาศ เทียบกับเวลา แล้วนำคา่ ท่ีได้มา
เปรียบเทยี บกบั มาตรฐาน

ช่องหายใจ (spiracle)

ชอ่ งเปิดออกสภู่ ายนอกของระบบทอ่ ลมของแมลงและอาร์โธรปอดบางชนดิ เพ่ือใช้
หายใจ

ถงุ ลมของนก (air sac)

ถงุ ทแ่ี ยกออกไปจากปอดและขวั้ ปอดหลายถุง มีแขนงตดิ ต่อไปถึงชอ่ งกลวงของ
กระดกู ทำหน้าทเี่ ปน็ ผชู้ ว่ ยปอด โดยทำใหป้ อดไดร้ บั ออกซิเจนอยตู่ ลอดเวลา เป็น
ประโยชน์ในการบนิ ของนก

ท่อลม (trachea)

เป็นทอ่ ตดิ ต่อกบั ภายนอกของรา่ งกายทางรหู ายใจ (spiracle) ทอ่ ลมจะแตกแขนง
เป็นทอ่ เลก็ ๆ แทรกไปทว่ั ทุกสว่ นของร่างกาย ทอ่ ลมเป็นแหล่งแลกเปลย่ี นแก๊ส ใน
แมลง ออกซิเจนสามารถแพรจ่ ากแขนงของทอ่ ลมผา่ นเยอ่ื หมุ้ เซลลเ์ ข้าไปในเซลล์
สว่ นคาร์บอนไดออกไซดก์ จ็ ะแพร่ออกจาเซลลเ์ ขา้ สู่ท่อลม ทั้งลำตัวแมลงจะมรี ูหายใจ
ซง่ึ มลี นิ้ ค่อยปิดเปดิ อยู่ ระบบการหายใจแบบน้เี ป็นปัจจัยจำกัดที่สำคัญในการจำกดั
ขนาดของแมลงไมใ่ หม้ ี ขนาดใหญ่เกนิ ไป แมลงพวกต๊ักแตน จะมีการขยายตัวของ
ทอ่ ลม เป็นถงุ อากาศ (air sac) บรเิ วณ รูหายใจ นอกจากจะมลี น้ิ แลว้ ยงั มีขนอยู่
มากมาย เพ่ือกรองฝ่นุ ละอองและสงิ่ สกปรกไว้ไมใ่ ห้ผา่ นเข้าทอ่ ลม

ระบบหายใจ (respiratory system)

ระบบทร่ี ่างกายแลกเปลยี่ นแกส๊ โดยรา่ งกายจะรบั แกส๊ ออกซเิ จนทอี่ ยูภ่ ายนอกเขา้ สู่
ร่างกาย และขบั แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากรา่ งกาย อวัยวะที่สำคญั ในระบบน้ี
ได้แก่ จมกู หลอดลม ปอด กล้ามเนอ้ื กระบังลมและกระดูกซี่โครง

รจู มกู (nostril)

รูท่ีเป็นทางผา่ นเข้าออกของอากาศเขา้ ส่โู พรงจมกู จากนนั้ อากาศจะถกู สง่ ผ่านเข้าไป
ยงั หลอดลมและเข้าสปู่ อดเพอ่ื ทำการแลกเปลยี่ นแกส๊ นอกจากอากาศแล้ว รูจมูกยงั
เป็นทางออกของนำ้ มูก หรอื เศษอาหารท่เี กิดจากการสำลกั อีกด้วย สำหรบั มนุษย์ รู
จมูกทีม่ องเหน็ จากภายนอกหรืออยบู่ ริเวณดา้ นนอกของจมูกนน้ั เรียกวา่ รจู มกู
ด้านหนา้ (anterior nares) ซงึ่ รจู มกู ทงั้ สองรูถกู แบ่งออกจากกนั โดยผนังกน้ั โพรง
จมูก (nasal septum) สว่ นรจู มูกภายในหรอื รูจมกู ดา้ นหลงั (anterior nares) จะ
อยดู่ า้ นในศรี ษะ เรียกว่า choanae

โรคถงุ ลมโป่ งพอง (emphysema)

เปน็ โรคทีอ่ ยใู่ นกลมุ่ ของโรคปอดอดุ กั้นเรอื้ รัง (Chronic Obstructive Pulmonary
Disease: COPD) เกดิ จากการอักเสบและแตกของเนื้อปอดท่ีบริเวณถงุ ลมปอด ทำ
ให้เน้อื ปอดมถี งุ ลมเลก็ ๆ มากมายคล้ายพวงองุ่น และรวมกบั ถุงลมทอ่ี ยตู่ ดิ กนั จน
กลายเปน็ ถุงลมขนาดใหญ่ ทำให้มีพน้ื ผิวในการแลกเปล่ยี นออกซเิ จนในปอดลดลง
หรอื มอี ากาศคา้ งในปอดมากกวา่ ปกติ ซงึ่ หากเกดิ ความผิดปกตมิ ากขน้ึ กจ็ ะทำให้
ผู้ป่วยถงุ ลมโปง่ พองมอี าการผดิ ปกติ คือมีอาการหายใจตื้น โดยสถานการณ์ปัจจบุ ัน
ของถุงลมโปง่ พองในประเทศไทย มีแนวโนม้ สูงขึ้นตามลำดบั เช่นเดยี วกนั กับท่ัวโลก
และเป็นหนง่ึ ในสาเหตขุ องการเสยี ชีวติ ลำดบั ต้น ๆ ของประชากรไทย จึงเปน็ โรคท่ี
เปน็ ปัญหาทางสาธารณสขุ ของประเทศไทยอีกโรคหนึ่ง

โรคปอดบวม (pueumonia)

ภาวะปอดซงึ่ เกดิ การอกั เสบ ซงึ่ อาจเปน็ เช้ือแบคทเี รีย เชือ้ ไวรสั ซง่ึ ในสภาวะท่ี
ผดิ ปกติอาจจะเกิดจาก เชื้อรา และ พยาธิ เมอื่ เป็นปอดบวม จะมหี นอง และสารน้ำ
อยา่ งอนื่ ในถุงลม ทำให้รา่ งกายไม่สามารถรบั oxygen ทำให้รา่ งกายขาด oxygen
และอาจถงึ แก่ชีวิตได้ เชื้อทเ่ี ปน็ สาเหตมุ ักจะอย่ใู นนำ้ ลายและเสมหะของผู้ป่วยและ
สามารถแพรก่ ระจายออกมาเวลาไอ จาม นอกจากนย้ี ังเกิดจากการดมสารเคมี เช่น
แอมโมเนยี ไนโตรเจน ไดออกไซด์ หรอื การสำลกั นำ้ ลายเศษอาหารและนำ้ ยอ่ ย เหตุ
ชกั นำสำคัญท่ที ำใหเ้ กิดปอดบวม ปกตเิ ชอ้ื โรคอยู่ในคอ เมื่อร่างกายมีภาวะท่ี
ภูมิคุ้มกนั อ่อนแอกจ็ ะเกดิ โรค

โรคมะเร็งปอด (lung cancer)

มะเรง็ ปอด เกดิ จากการเจริญเติบโตของเซลลท์ ผี่ ิดปกตอิ ยา่ งรวดเรว็ และไมส่ ามารถ
ควบคุมได้ ทำให้เกดิ เปน็ กลุ่มกอ้ นของเซลล์ทผี่ ดิ ปกติ ซงึ่ จะตรวจพบไดเ้ มอื่ มขี นาด
ใหญ่ มีจำนวนมาก และแพร่ไปตามบรเิ วณตา่ งๆ ของรา่ งกาย มะเรง็ ปอดจะทำลาย
ชวี ติ ของผ้ปู ว่ ยได้รวดเรว็ แค่ไหนขึ้นอยู่กับชนิดของมะเร็ง

โรควัณโรค (tuberculosis)

เป็นโรคติดตอ่ ท่เี กิดจากเชอื้ แบคทเี รีย Mycobacterium ซึง่ มีหลายชนิด เชอ้ื ท่ีพบ
บ่อยท่สี ดุ และเปน็ ปญั หาในประเทศไทย คือ เชือ้ Mycobacterium tuberculosis
วัณโรคเกิดได้ในทุกอวยั วะของรา่ งกาย ส่วนใหญม่ ักเกิดทป่ี อดพบรอ้ ยละ 80 สว่ น
วณั โรคนอกปอดเปน็ ผลมาจากการแพรก่ ระจายของการติดเชือ้ ไปยงั อวัยวะอืน่ ๆ
ไดแ้ ก่ เย้ือหมุ้ ปอด ต่อมน้ำเหลอื ง กระดูกสันหลงั ขอ้ ตอ่ ช่องทอ้ ง ระบบทางเดนิ
ปัสสาวะ ระบบสบื พนั ธุ์ ระบบประสาท เป็นต้น

โรคหลอดลมอักเสบ (bronchitis)

เป็นโรคทีเ่ กดิ จากการอกั เสบของเยื่อบุหลอดลม ทำใหเ้ ยือ่ บหุ ลอดลมบวม มเี สมหะใน
หลอดลม ทำให้ผปู้ ่วยมอี าการไอ หายใจลำบาก แนน่ หน้าอก อาจหายใจมเี สยี งดัง
หวีดได้ อาจมอี าการเจบ็ คอ แสบคอ หรอื เจบ็ หน้าอกได้ ผูป้ ่วยอาจมไี ข้ รสู้ ึกครั่นเนอ้ื
คร่นั ตัวได้

โรคหอบหดื (asthma)

อาการหอบหืดเกดิ จากการหดตวั หรอื ตบี ตันของชอ่ งทางเดนิ หายใจส่วนหลอดลม ทำ
ให้อากาศเข้าส่ปู อดนอ้ ยลง แทจ้ รงิ แลว้ เปน็ ผลจากการอกั เสบของเยอื่ บหุ ลอดลม ชอ่ื
โรคหอบหดื น้ีเรียกตามอาการของคนไข้ โรคน้ีตา่ งจากโรคอ่นื ๆ คอื คนไข้บางคนมี
อาการนอ้ ย บางคนมอี าการมากและอาจเสียชวี ติ ได้ โดยภาวะทก่ี ระตนุ้ ให้โรคกำเรบิ
ตา่ งกนั ในคนไขแ้ ตล่ ะคน

สายเสียง (vocal cord)

สายเสียงเปน็ แหล่งกำเนิดของเสียง ถา้ เกดิ การอักเสบจากเช้ือโรคหรอื จากการใชท้ ห่ี กั
โหม เชน่ ตะโกนมากเกนิ ไป จะทำให้เกดิ อาการเจ็บคอ หรอื เสยี งแหบแหง้ ถา้ สาย
เสยี งเกดิ ชำรดุ กอ็ าจจะทำให้ไมส่ ามารถพูดได้ การออกเสียงของมนุษย์

หลอดลม (bronchi)เปน็ เนื้อเย่ือชนิดหน่งึ ของปอดทีเ่ ปน็ ทางเดิน

ของอากาศ โดยเป็นส่วนทอ่ี ยตู่ ่อลงมาจากท่อลม มีรูปร่างเปน็ ทอ่ ยาว ผนงั เปน็ กระดกู
อ่อน (เพ่อื ชว่ ยการทรงรปู รา่ งใหค้ ง ความเป็นท่อ) และเป็นกลา้ มเนอื้ เรียบ (หลอดลม
จึงตีบและขยายตัวได)้ ภายในท่อบุด้วยเนือ้ เยือ่ บุผิวท่ีเปน็ เนื้อเยอ่ื เมอื ก (มเี ซลลส์ ร้าง
เมือกเพือ่ หลอ่ ล่ืนหลอดลม ถ้ามีเมอื กมากผดิ ปกติ เรยี กวา่ เสมหะ) ซง่ึ ทอ่ ลมจะแยก
เป็นหลอดลมขนาดใหญ่ 2 ด้าน ซ้าย และขวา ที่ระดบั ของกระดูกสนั หลังอก
ประมาณขอ้ ท่ี 5 ซงึ่ เรยี กหลอดลมขนาดใหญแ่ ตล่ ะข้างน้ีว่า หลอดลมประธาน
(Main Bronchus) ดา้ นซา้ ยเรยี กวา่ หลอดลมประธานซ้าย ด้านขวาเรยี กว่า
หลอดลมประธานขวา

ทั้งน้ี หลอดลมประธานแตล่ ะขา้ งจะแตกแขนงไดท้ ้งั หมดประมาณ 23 คร้งั แยก
แขนงเป็นหลอดลมขนาดเล็กลงเรอื่ ยๆในเนอ้ื เย่ือปอด จนในทสี่ ดุ ไปสิน้ สุดท่ถี ุงลม (
Alveolus )

หลอดลมฝอย (bronchiole)

หลอดเลก็ ๆ ท่ีแตกแขนงออกมาจากหลอดลมและแยกแขนงออกไปทวั่ ปอด มหี น้าที่
ลำเลียงอากาศ

เหงอื ก (gill)

อวัยวะทใ่ี ชส้ ำหรบั หายใจของสตั ว์บางชนิดทอ่ี าศยั อยู่ในน้ำ เชน่ ปลา กุ้ง ปู เป็นตน้

ฮโีมโกลบนิ (hemoglobin )

เปน็ ส่วนหน่งึ ของระบบไหลเวยี นเลอื ด มโี มเลกลุ โปรตีนภายในเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง
ฮีโมโกลบนิ หรือเรยี กสน้ั ๆ วา่ ฮมี ( Heme ) ฮมี น้ีทำหนา้ ที่ดกั จับและขนส่ง
ออกซเิ จนไปเลีย้ งสว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายและจับธาตกุ บั คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นเลือด
ฮีมมธี าตุเหลก็ เป็นสว่ นประกอบเกิดจากโมเลกลุ โปรตีน 4 ตวั ที่เช่อื มต่อกนั เรยี กว่า
สายโกลบลู นิ ( Globulin Chains ) โดยปกตโิ ครงสร้างของฮโี มโกลบนิ ในผ้ใู หญ่จะ
ประกอบไปด้วยสายโกลบูลนิ ชนิดอลั ฟา 2 ตวั และสายโกลบูลนิ ชนิดเบต้า 2 ตัว
สว่ นในทารกพบเพยี งสายโกลบูลินชนดิ อัลฟา 2 ตัว และสายโกลบลู นิ ชนิดแกมมา 2
ตัว ไมพ่ บสายโกลบูลินชนดิ เบต้า แตเ่ ม่ือทารกเร่มิ โตข้นึ สายโกลบูลนิ ชนิดแกมมาจะ
ค่อย ๆ ถูกแทนที่ด้วยสายโกลบูลนิ ชนดิ เบต้า


Click to View FlipBook Version