The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุขศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 6-week1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nuntawan Pandee, 2022-09-11 09:57:23

สุขศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 6-week1

สุขศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 6-week1

ร ะ บ บ อ วั ย ว ะ แ ล ะ
ระบบประสาท

สุขศึกษา มัธยมศึกษาปีที่ 6

ครูนันทวรรณ ปานดี

อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง
ร ะ บ บ อ วั ย ว ะ

การทำงานของระบบอวัยวะเป็นสิ่งที่สำคัญ
และสลับซับซ้อนกัน และระบบอวัยวะต่างๆมี
ความสำคัญที่จะทำให้เรามีชีวิตดำรงอยู่ได้
โดยระบบอวัยวะจะประกอบไปด้วย



ระบบประสาท เป็นระบบอวยัวะที่มีความสำคัญมาก
ของร่างกาย เป็นศนูย์กลางควบคุม
การทำงานของร่างกายทำให้ระบบ
ต่างๆของร่างกายทำงานประสานกัน
เป็นอย่างดี

ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท

ประกอบด้วย สมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาทในร่างกาย
และอวัยวะรับความรู้สึก โดยทำหน้าที่ร่วมกันในการรับความรู้สึก
ของอวัยวะต่างๆ ระบบประสาทแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ

ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบประสาทส่วนปลาย
ระบบประสาทอัตโนมัติ

ระบบประสาท
ส่ ว น ก ล า ง

ประกอบไปด้วย​ สมองและไขสันหลัง
เป็นศูนย์กลางควบคุมและประสานการ
ทำงานของร่างกาย

สมอง ไ ข สั น ห ลั ง

ระบบประสาท
ส่ ว น ป ล า ย

ประกอบด้วย เส้นประสาทสมองและ
เส้นประสาทไขสันหลังทำหน้าที่นำความรู้สึก
จากส่วนต่างๆเข้าสู่ระบบประสาท
ส่วนกลางและส่งไปอวัยวะต่าง ๆ

ระบบประสาท
อั ต โ น มั ติ

สามารถแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย ได้แก่

ระบบประสาทซิมพาเทติก
(SYMPATHETICNERVOUS SYSTEM)

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติด
(PARASYMPATHETIC NERVOUS SYSTEM)



โครงสร้าง  sympathetic  effect parasympathetic  effect 
เต้นช้าลง (bradycardia) 
หัวใจ  (heart) เต้นเร็วขึ้น
(tachycardia) 
 หลอดลมในปอด
(bronchioles) ขยาย (dilatation)  หด (constrition) 
 ต่อมน้ำลาย
 กระเพาะอาหาร น้ำลายเหนียว  น้ำลายเป็นน้ำ 
การเคลื่อนไหวลดลง  การเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น 

โครงสร้าง  sympathetic  effect parasympathetic  effect 
ลำไส้
ลด peristalsis  เพิ่ม peristalsis 

 รูม่านตา ขยาย (pupil dilatation)  หด (pupil dilatation) 

 ต่อมเหงื่อ  เหงื่อออก (cholinergic)  
 กระเพาะปัสสาวะ
 หย่อน (relaxation) หดตัว (contraction)

ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ดู แ ล รั ก ษ า
ระบบประสาท

ป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุที่บริเวณศีรษะ
หลีกเลี่ยงการใช้สารเสพติดและงดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ทำลายการทำงานของสมอง เช่น
การไม่รับประทานอาหารเช้า การรับประทานอาหารที่ไขมันสูงเกินไป
การที่อยู่ในที่ที่มีมลพิษทางอากาศ (ควันบุหรี่ ฝุ่นละออง)

ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ดู แ ล รั ก ษ า
ระบบประสาท

นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ
ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมอ
ดูแลและถนอมการใช้สายตา
ดูแลการได้ยิน

ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ดู แ ล
รั ก ษ า ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท

- อาหารที่มีวิตามินบี ๑ ไทอะมีน (Thaimine)
- อาหารที่มีวิตามินบี ๑๒ โคบาลามีน
(Cobalamin)
- อาหารที่มีสารโอเมกา ๓ (Omega 3)
- อาหารที่มีสารทอรีน (Taurine)

ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ดู แ ล
รั ก ษ า ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท

- ออกกำลังสมองด้วยนิวโรบิคส์
(Neurobic Exercise)

เป็นการกระตุ้นให้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ
การได้ยิน การมองเห็น การได้กลิ่น
การลิ้มรสและการสัมผัส

ก า ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม แ ล ะ ดู แ ล
รั ก ษ า ร ะ บ บ ป ร ะ ส า ท



เปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวันง่ายๆ เช่น ปิดตารับประทาน
อาหารเพื่อเปลี่ยนความเคยชิน เปลี่ยนการมองหาสิ่งของ
เป็นการปิดตาใช้มือคำหาของเพื่อกระตุ้นประสาทสัมผัส
เปลี่ยนเส้นทางกลับบ้าน การเดินทางเพื่อเพิ่มการทำงาน

ของสมอง

SCAN!!!!

หัวข้อในการเขียนแผนผังความคิด
(MineMap)

1. ความสำคัญของระบบประสาท
2. การทำงานของระบบประสาท
3. การสร้างเสริมและดูแลรักษาระบบประสาท


Click to View FlipBook Version