The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

- ใบเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- ใบเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ประวัติภาษาซี
- ใบเนื้อหาที่ 3 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
- ใบเนื้อหาที่ 4 เรื่องการติดตั้งโปรแกรม
Dev-C++

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 6020121240, 2020-10-16 13:23:04

หน่วยที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษาซี

- ใบเนื้อหาที่ 1 เรื่อง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
- ใบเนื้อหาที่ 2 เรื่อง ประวัติภาษาซี
- ใบเนื้อหาที่ 3 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
- ใบเนื้อหาที่ 4 เรื่องการติดตั้งโปรแกรม
Dev-C++

หนว่ ยท่ี 1

หลกั การเขียนโปรแกรมเบอ้ื งตน้ ด้วยภาษาซี language

- ใบเนอ้ื หาที่ 1 เรื่อง ข้ันตอนการเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์

- ใบเน้ือหาท่ี 2 เรอ่ื ง ประวัติภาษาซี

- ใบเน้อื หาที่ 3 เร่ือง โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

- ใบเนื้อหาที่ 4 เรื่องการตดิ ตงั้ โปรแกรม
Dev-C++

แผนการจดั การเรียนร้แู ละการประเมนิ ตามสภาพจรงิ หน่วยที่ 1
ชื่อหน่วย หลักการเขยี นโปรแกรมเบอื้ งตน้ ด้วยภาษาซี สอนครง้ั ที่ 1-3
ชวั่ โมงรวม 9

จานวนชัว่ โมง 3

1. หน่วยการเรยี นรู้ หลักการเขยี นโปรแกรมเบื้องต้นดว้ ยภาษาซี 1

2. จานวนชวั่ โมง 9 ช่วั โมง

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรูป้ ระจาหนว่ ย
3.1 สามารถอธิบายข้ันตอนการเขยี นโปรแกรมได้ถูกตอ้ ง
3.2 สามารถบอกประวตั ิของภาษาซีได้ถูกต้อง
3.3 สามารถบอกคุณสมบัติเด่นของภาษาซไี ด้ถูกต้อง
3.4 สามารถอธบิ ายของโครงสร้างภาษาซไี ด้ถูกต้อง
3.5 สามารถอธบิ ายตวั แปลภาษาแบบอนิ เตอร์พรีเตอรแ์ ละคอมไพเลอรไ์ ด้ถูกต้อง
3.6 สามารถตดิ ตั้งโปรแกรม Dev-C++ ไดถ้ ูกต้อง
3.7 สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีเพื่อตรวจสอบความผดิ พลาดและแก้ไขโปรแกรมดว้ ยภาษาซี
เบื้องต้นไดถ้ ูกตอ้ ง

4. สมรรถนะประจาหนว่ ย
4.1 แสดงความรู้เก่ียวกบั หลักการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
4.2 แสดงความรู้เกยี่ วกับหลกั การเขยี นโปรแกรมภาษา C
4.3 แสดงความรู้เกีย่ วกับโปรแกรม Editor สาหรบั เขยี นโปรแกรมและคอมไพลภ์ าษาซี
4.4 ปฏบิ ตั กิ ารติดตง้ั โปรแกรม Dev-C++

5. เน้อื หา
5.1 ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เอกสารประกอบการสอน หน้า 13)
5.2 ประวัตภิ าษาซี (เอกสารประกอบการสอน หนา้ 18)
5.3 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน หนา้ 21)
5.4 การตดิ ตั้งโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการเรียนการสอน หน้า 26)
5.5 การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการเรยี นการสอน หน้า 33)

6. กาหนดเกณฑก์ ารปฏิบัตติ ามสมรรถนะ

สมรรถนะ เกณฑป์ ฏิบตั ิ (Performance criteria)

1 แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียน ผู้เรยี น

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 อธิบายขัน้ ตอนการเขยี นโปรแกรม

2 แสดงความรู้เกี่ยวกับหลักการเขียน 1.2 บอกประวตั คิ วามเป็นมาของภาษาซี

โปรแกรมภาษา C 1.3 บอกคุณสมบตั ิเดน่ ของภาษซี

3. เรียนรู้หลกั การเขียนโปรแกรมภาษา C ผู้เรียน

และการติดตง้ั โปรแกรม Dev-C++ 2.1 อธบิ ายโครงสร้างของภาษาซี

4. ปฏบิ ัตกิ ารติดตง้ั โปรแกรม Dev-C++ 2.2 ยกตวั อย่างไดเรกทีฟที่มอี ย่ใู นภาษาซี

2.3 อธบิ ายความแตกต่างระหวา่ ง

ตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอรแ์ ละอนิ เตอร์พรีเตอร์

2.4 ติดต้งั โปรแกรม Dev-C++ ได้ถูกต้องดังน้ี

1) ดาวนโ์ หลดโปรแกรม Dev-C++

2) ติดตั้งโปรแกรม Dev-C++ v5.11

3) เรยี กใช้งานโปรแกรม Dev-C++ 2

2.5 เขียนโปรแกรมเพ่ือตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไข

โปรแกรม ดังน้ี

1) เปิดโปรแกรม Dev-C++ และสรา้ งไฟล์งานใหม่

2) เขยี นโปรแกรมตามใบงานท่ี 1.5 ข้อที่ 2

3) บันทึกไฟล์ชอื่ testting.c

4) ทดสอบโปรแกรมโดยการ Compile และทดสอบ

การทางานโดยการ Run โปรแกรม

7. กิจกรรมการเรียนการสอน 3
คร้ังท่ี 1 จานวน 3 ชม.
ใบเน้ือหาท่ี 1 เร่ือง ข้ันตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ท่ี 13)
ข้ันเข้าสบู่ ทเรยี น

 เนื่องจากเป็นการสอนช่ัวโมงแรก ผู้สอนบอกจุดประสงค์การเรียนรู้รายวิชา สมรรถนะ
รายวิชา คาอธิบายรายวิชา โครงการสอนและเกณฑก์ ารประเมนิ ผลตา่ ง ๆ ให้ผูเ้ รียนทราบ

 ทาการทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบแบบเลือกตอบจานวน
50 ขอ้

 ทาแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 1 จานวน 10 ขอ้

 ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียนหน่วยท่ี 1 โดยกล่าวถึงหลักการเขียนโปรแกรมซึ่งโปรแกรมเมอร์เป็น
บุคคลท่ีทาหน้าท่ีในการเขยี นโปรแกรม จะต้องทราบถงึ จดุ หมายของการเขียนโปรแกรม เชน่
ข้อมูลนาเข้า การทางานของโปรแกรม และรูปแบบในการแสดงผลลัพธ์ โดยหากมีการวาง
แผนการเขยี นโปรแกรมให้เป็นไปตามขนั้ ตอนจะส่งผลให้การเขียนโปรแกรมนน้ั ง่ายขึน้

ข้นั สอน

 ผู้สอนอธิบายขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์พร้อมยกตัวอย่างประกอบในแต่ละ
ข้ันตอนและต้ังคาถามให้ผ้เู รียนค้นคว้าหาคาตอบ และสรุปผลร่วมกนั ดังน้ี
1) การวเิ คราะหป์ ญั หา
2)การออกแบบโปรแกรม
3) การเขียนโปรแกรม
4) การทดสอบโปรแกรม
5) การจดั ทาเอกสารประกอบ การโปรแกรม

 มอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.1 เร่ืองข้ันตอนการเขียนโปรแกรม
(เอกสารประกอบการสอนหนา้ ท่ี 17) เพ่อื ส่งเสรมิ การเรียนรรู้ ะหวา่ งเรียนของผเู้ รียน

ขนั้ สรปุ
ผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกนั สรปุ ข้นั ตอนการเขยี นโปรแกรม

สอ่ื /อปุ กรณ์

 เคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณต์ ่อพ่วง

 เคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์

 เอกสารประกอบการสอน วชิ าพน้ื ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

 Google classroom

 ใบตรวจสอบรายช่อื นักเรยี น

ผลงาน/หลกั ฐาน 4
 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียน จานวน 50 ข้อ
 แบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยที่ 1 จานวน 10 ขอ้
 ใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรยี นท่ี 1.1 เรอ่ื ง ขั้นตอนการเขยี นโปรแกรม
 ใบบันทกึ พฤติกรรมการเรยี นและการทางาน

เครอื่ งมอื และวิธกี ารวัดผล
 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนก่อนเรียน 50 ข้อ คะแนนเต็ม 50 คะแนน
 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นหน่วยที่ 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบแบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรยี นที่ 1.1 เร่ือง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม (เอกสารประกอบการสอน
หน้าที่ 17) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 45)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

คร้ังท่ี 2 จานวน 3 ชม.
ใบเนื้อหาท่ี 2 เรื่อง ประวัติภาษาซี (เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 18) และใบเนื้อหาท่ี 3
เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 21)

ข้ันเขา้ สู่บทเรยี น
 ผูส้ อนทบทวนบทเรียนครั้งท่ี 1 โดยวธิ กี ารถาม-ตอบ
 ผู้สอนทาเข้าสู่บทเรียนกล่าวถึงภาษาคอมพิวเตอร์พร้อมยกอย่างเช่น ภาษาซี ซึ่งจัดอยู่ใน
ภาษาระดบั สูง เปน็ ภาษาคอมพวิ เตอร์ท่ีมีความใกลเ้ คียงกับภาษามนษุ ย์ และมคี วามสามารถ
ในการควบคุมระบบฮาร์ดแวร์ของคอมพิวเตอร์ได้เป็นอย่างดี น้ันคือมีความใกล้เคียงกับ
ภาษาระดับต่าอยา่ งเชน่ ภาษา แอสเซมบลี ทป่ี ระมวลผลได้อยา่ งรวดเร็ว

ข้ันสอน
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนสืบค้นประวัติความเป็นมาของภาษาซีและคุณสมบัติเด่นของ
ภาษาซี จากน้นั ผู้สอนทาการสุ่มเลือกผูเ้ รยี นนาเสนอผลการค้นควา้ และรว่ มกนั สรปุ ผล
 มอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.2 (เอกสารประกอบการสอน
หน้าท่ี 20) เพ่ือสง่ เสริมการเรียนรรู้ ะหวา่ งเรยี นของผู้เรียน
 ผู้สอนอธิบายโครงสร้างโปรแกรมภาษาซีและสาธิตการเขียนโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โดยใชโ้ ปรแกรม Dev-c++ และผู้เรียนปฏบิ ตั ิพร้อมกับผสู้ อน
 ผู้สอนอธิบายความแตกต่างระหวา่ งตัวแปลภาษาชนิดคอมไพเลอร์ และตัวแปลชนิดอินเตอร์
พรีเตอรแ์ ละสาธิตการทางานของตวั แปลภาษาทั้ง 2 ชนิด และผู้เรียนปฏิบตั พิ รอ้ มกบั ผู้สอน
 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.3 (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ที่ 25) เพื่อส่งเสรมิ การเรยี นรู้ระหวา่ งเรียนของผู้เรยี น

ขั้นสรุป 5
 ผสู้ อนและผ้เู รยี นร่วมกนั สรุปเนอื้ หาดงั ต่อไปน้ี
1) ประวัตคิ วามเป็นมาของภาษาซีและคุณสมบัตเิ ด่นของภาษาซี
2) โครงสรา้ งของโปรแกรมภาษาซี
3) ตัวแปรภาษาชนดิ คอมไพเลอรแ์ ละอนิ เตอรพ์ รเี ตอร์

สอ่ื /อปุ กรณ์
 เครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์ต่อพว่ ง
 เครอ่ื งฉายโปรเจคเตอร์
 เอกสารประกอบการสอนวชิ าพื้นฐานการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
 Google classroom
 ใบตรวจสอบรายชื่อนักเรียน

ผลงาน/หลกั ฐาน
 ใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรียนท่ี 1.2 เรอ่ื ง ประวัติของภาษาซี
 ใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรยี นที่ 1.3 เรื่อง โครงสร้างของภาษาซี
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรยี นและการทางาน

เครื่องมอื และวิธีการวดั ผล
 ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.2 เร่ือง ประวัติของภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน
หน้าที่ 20) คะแนนเตม็ 10 คะแนน
 ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.3 เร่ือง โครงสร้างของภาษาซี (เอกสารประกอบการสอน
หน้าที่ 25) คะแนนเต็ม 10 คะแนน
 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 45)
คะแนนเต็ม 10 คะแนน

ครั้งท่ี 3 จานวน 3 ชม.
ใบเน้ือหาท่ี 4 เร่ือง การติดตั้งโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 26)
และใบเน้อื หาที่ 5 เรื่องการใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ (เอกสารประกอบการสอนหน้าที่ 33)

ขั้นเข้าส่บู ทเรียน
 ผสู้ อนทบทวนบทเรยี นครั้งที่ 2 โดยวิธีการถาม-ตอบ
 ผ้สู อนนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยการยกตวั อยา่ งโปรแกรมText Editor ที่ใช้สาหรับการเขียน
โปรแกรมคอมพวิ เตอรด์ ้วยภาษาตา่ ง ๆ แนะนาชุดพัฒนาโปรแกรมท่ีเรียกว่า IDE
(Integrated Development Environment)

ขนั้ สอน 6

 ผู้สอนอธิบายความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกบั โปรแกรม Text Editor และมอบใหผ้ เู้ รยี นทาการสืบค้น
ข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรม Text Editor ท่ีสามารถนามาใช้เขียนโปรแกรมภาษาซีได้ ผู้เรียน
นาเสนอขอ้ มูลการสืบค้น และสรุปผลร่วมกนั

 ผู้สอนอธิบายขน้ั ตอนการติดตงั้ โปรแกรม Dev-C++ พรอ้ มสาธิตการติดตงั้ โปรแกรมดงั กล่าว

 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนที่ 1.4 (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ที่ 32) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ระหวา่ งเรยี นของผูเ้ รยี น

 ผู้สอนแนะนาการใช้งานโปรแกรม Dev-C++ และสาธิตการใช้งานโปรแกรมดังกล่าวร่วมกับ
ผู้เรยี น

 ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนทาใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียนท่ี 1.5 (เอกสารประกอบการสอน
หนา้ ท่ี 42) เพ่ือสง่ เสริมการเรยี นรู้ระหว่างเรยี นของผู้เรยี น

ขนั้ สรุป

 ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ เน้อื หาดังต่อไปน้ี
1) ขั้นตอนการตดิ ตง้ั โปรแกรม Dev-C++
2) ขน้ั ตอนการใชง้ านโปรแกรม Dev-C++

สอ่ื /อปุ กรณ์

 เคร่ืองคอมพวิ เตอร์และอปุ กรณ์ต่อพ่วง

 เครอื่ งฉายโปรเจคเตอร์

 เอกสารประกอบการสอนวิชาพน้ื ฐานการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

 google classroom

 ใบตรวจสอบรายชือ่ นกั เรยี น
ผลงาน/หลกั ฐาน

 ใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรยี นที่ 1.4 เรอื่ ง การติดตั้งโปรแกรม Dev-C++

 ใบแบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรยี นท่ี 1.5 เรือ่ ง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++

 แบบทดสอบหลังเรยี นหนว่ ยที่ 1

 ใบบนั ทึกพฤติกรรมการเรยี นและการทางาน
เครื่องมือและวิธกี ารวัดผล

 ใบแบบฝึกปฏิบัติเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ที่ 1.4 เร่ือง การติดต้ังโปรแกรม Dev-C++
(เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 32) คะแนนเตม็ 10 คะแนน

 ใบแบบฝึกปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่ 1.5 เร่ือง การใช้งานโปรแกรม Dev-C++
(เอกสารประกอบการสอนหนา้ ท่ี 42) คะแนนเต็ม 10 คะแนน

 แบบทดสอบหลังเรียนหนว่ ยที่ 1 คะแนนเต็ม 10 คะแนน

 ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน (เอกสารประกอบการสอนหน้าท่ี 45)
คะแนนเตม็ 10 คะแนน

8. เกณฑก์ ารตดั สนิ

การวดั ประเมนิ ผลแต่ละครั้งต้องผา่ นเกณฑ์ ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม แล้วนาคะแนนรวมมาตดั สนิ

ผลการเรยี นตามเกณฑด์ ังน้ี

การประเมินผลแบบอิงเกณฑ์

คะแนนการประเมนิ ตง้ั แต่ร้อยละ 80 ข้นึ ไป ระดบั ผลการเรียน 4.0

คะแนนการประเมินตงั้ แตร่ อ้ ยละ 75-79.99 ระดบั ผลการเรยี น 3.5

คะแนนการประเมนิ ตั้งแต่ร้อยละ 70-74.99 ระดับผลการเรียน 3.0

คะแนนการประเมนิ ตง้ั แต่รอ้ ยละ 65-69.99 ระดบั ผลการเรียน 2.5

คะแนนการประเมนิ ต้ังแตร่ อ้ ยละ 60-64.99 ระดบั ผลการเรยี น 2.0

คะแนนการประเมินต้ังแตร่ อ้ ยละ 55-59.99 ระดับผลการเรียน 1.5

คะแนนการประเมนิ ตง้ั แตร่ ้อยละ 50-54.99 ระดบั ผลการเรียน 1.0

คะแนนการประเมินต่ากวา่ ร้อยละ 49.99 ลงไป ระดับผลการเรยี น 0 7

9. เคร่อื งมือวัดประเมณิ ผล

เคร่อื งมือ ลักษณะของข้อมูล
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น
แบบทดสอบหลังเรียน ใช้สอบวัดความรู้ ความเขา้ ใจความสามารถทาง
ใบแบบฝึกหัดระหว่างเรียน สตปิ ญั ญาพน้ื ฐานของผ้เู รียนก่อนเรียน

ใบบันทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน ใช้สอบวดั ความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถทาง
สตปิ ญั ญาของผู้เรียนหลังเรียน
แบบประเมินผลงานดว้ ยเกณฑ์ให้คะแนน
(scoring rubrics) เป็นแบบฝกึ ปฏบิ ตั เิ พื่อสง่ เสริมการเรยี นรู้ระหวา่ ง
เรียนของผูเ้ รยี น

ใชส้ ังเกตพฤติกรรมด้านคุณธรรม คณุ ลกั ษณะทกั ษะ
การปฏิบัตงิ านทผ่ี สู้ ังเกตได้กาหนดไว้โดยผู้ถกู สงั เกต
รตู้ วั หรือไมร่ ูต้ วั ก็ได้

เป็นเครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการประเมินคุณภาพผลงาน
การปฏิบัติงาน โดยมีคาอธิบายคุณภาพของงานในแต่
ระดับ หรือมตี วั ช้วี ดั ผลงานในแต่ละสว่ นแต่ระดับไว้
อย่างชดั เจน

10. แบบประเมินใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรียนหนว่ ยที่ 1 หลักการเขยี นโปรแกรมเบื้องต้นดว้ ยภาษาซี

รายการ เกณฑก์ าร 8
ให้คะแนน
แบบประเมนิ ใบแบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรียนท่ี 1.1 เร่ือง ข้ันตอนการเขยี นโปรแกรม
1. แสดงลาดบั ขนั้ ตอนและอธบิ ายการเขียนโปรแกรมได้ถูกตอ้ ง ระดบั พอใช้ 1-2
2. แสดงลาดบั ขัน้ ตอนและอธบิ ายการเขยี นโปรแกรมได้ถูกต้อง ระดบั ปานกลาง 3-4
3. แสดงลาดับขั้นตอนและอธิบายการเขียนโปรแกรมได้ถกู ต้อง ระดบั ดี 5-6
4. แสดงลาดับขน้ั ตอนและอธบิ ายการเขยี นโปรแกรมไดถ้ ูกตอ้ ง ระดับมาก 7-8
5. แสดงลาดับขัน้ ตอนและอธิบายการเขยี นโปรแกรมได้ครบถว้ นถูกต้องทุกขนั้ ตอน 9-10
10
รวม
แบบประเมินใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรียนท่ี 1.2 เร่ือง ประวตั ขิ องภาษาซี 5
1. บอกประวตั ิความเปน็ มาของภาษาซี ได้ดงั นี้ 3
5
1.1 บอกช่อื ผพู้ ัฒนา และต้นกาเนดิ ของภาษาซี 5
1.2 บอกชื่อผพู้ ฒั นา ตน้ กาเนิดของภาษาซี ระดับของภาษา และการรบั รองทางสถาบัน 1
2. บอกคุณสมบัตเิ ดน่ ของภาษาซี 2
2.1 บอกจดุ เดน่ ของภาษาซี ได้ 1 ข้อ 3
2.2 บอกจุดเดน่ ของภาษาซี ได้ 2 ข้อ 4
2.3 บอกจดุ เดน่ ของภาษาซี ได้ 3 ข้อ 5
2.4 บอกจุดเดน่ ของภาษาซี ได้ 4 ข้อ 10
2.5 บอกจุดเด่นของภาษาซี ไดม้ ากกว่า 4 ข้อ
3
รวม 1
แบบประเมนิ ใบแบบฝกึ หัดระหวา่ งเรียนที่ 1.3 เร่ือง โครงสรา้ งของภาษาซี 2
1. อธบิ ายส่วนประกอบของโครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี 3
3
1.1 อธิบายโครงสรา้ งภาษาซไี ด้ ระดับพอใช้ 1
1.2 อธิบายโครงสรา้ งภาษาซไี ด้ ระดับดี 2
1.3 อธิบายโครงสรา้ งภาษาซไี ดค้ รบถ้วนถกู ต้อง 3
2. ยกตัวอยา่ งไดเรกทีฟท่ีมอี ยู่ในภาษาซี 4
2.1 ยกตัวอย่างไดเรกทีฟน้อยกวา่ 1-2 ไดเรกทีฟ 1
2.2 ยกตัวอยา่ งไดเรกทฟี น้อยกวา่ 3-4 ไดเรกทีฟ 1
2.3 ยกตัวอยา่ งไดเรกทีฟได้มากกว่าหรือเทา่ กับ 5 ไดเรกทีฟ 3-4
3.บอกความแตกต่างระหว่างโปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์และอนิ เตอร์พรเี ตอร์ 10
3.1 บอกหลกั การทางานของตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์
3.2 บอกหลกั การทางานของตวั แปลภาษาแบบอนิ เตอร์พรเี ตอร์
3.3 อธบิ ายความแตกตา่ งระหว่างตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์และอินเตอร์พรีเตอร์

รวม

(ตอ่ ) แบบประเมนิ ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรียนหน่วยที่ 1 หลกั การเขยี นโปรแกรมเบื้องตน้ ดว้ ยภาษาซี

รายการ เกณฑก์ ารให้
คะแนน

แบบประเมินใบแบบฝึกหดั ระหว่างเรียนท่ี 1.4 เร่ือง การตดิ ต้ังโปรแกรม Dev-C++

1. ดาวนโ์ หลดโปรแกรม Dev-C++ 2

2. ติดต้ังโปรแกรม Dev-C++ 5

3. เรยี กใช้งานโปรแกรม Dev-C++ 3

รวม 10

แบบประเมินใบแบบฝกึ หดั ระหว่างเรียนท่ี 1.5 เร่ือง การใช้งานโปรแกรม Dev-C++

1. เปิดโปรแกรม Dev-C++ และสรา้ งไฟล์งานใหม่ได้อยา่ งถูกตอ้ ง 2

2. บันทกึ ไฟล์ช่อื testting.c ไดอ้ ย่างถูกต้อง 2

3. เขยี นโปรแกรมตามใบงานที่ 1.5 ข้อที่ 2 ได้อยา่ งถูกต้อง 3

4. Compile และ Run โปรแกรมได้อยา่ งถูกต้อง 3

รวม 10

คะแนนรวม 50

9

หนว่ ยท่ี 1 10
เรอ่ื ง หลักการเขยี นโปรแกรมเบือ้ งตน้ ดว้ ยภาษาซี

สาระสาคัญ
การเขียนโปรแกรมประกอบด้วย 5 ข้ันตอนหลัก ๆ โดยเร่ิมจากการวิเคราะห์ปัญหา การออกแบบ

โปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม ภาษาซีเป็น
ภาษาระดับสูง ซึ่งหมายถึงภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีมีความใกลเ้ คียงกับภาษามนุษย์ทเี่ ข้าใจง่าย ไม่ซับซ้อน ภาษาซี
ถูกพัฒนาข้ึนโดย เดนนิส ริตซี ท่ีห้องปฏิบัติการเบลล์ มีต้นแบบมาจากภาษาบี อยู่บนรากฐานของภาษาบีซีพี
แอล และทางสถาบัน ANSI ไดใ้ หก้ ารรับรองมาตรฐานภาษาซีขึ้นมา ภายใตช้ อ่ื ANSI-C ซง่ึ ภาษาซีมคี วามโดด
เด่นกวา่ ภาษาระดับสงู ทว่ั ไปในหลาย ๆ ด้าน และเนอ่ื งจากภาษาซเี ป็นภาษาระดับสูงจงึ ต้องมีการแปลภาษาให้
เป็นภาษาเคร่ือง โดยใช้ตัวแปลชนิดคอมไพเลอร์ เป็นตัวแปลภาษาที่จะแปลท้ังโปรแกรม หากพบข้อผิดพลาด
โปรแกรมจะไม่สามารถรันได้ และต้องกลับไปแก้ไขโปรแกรมให้ถูกต้อง แล้วคอมไพล์ใหม่จนกระทั้งไม่พบ
ขอ้ ผิดพลาดใด ๆ

สมรรถนะประจาหน่วย
1. แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลักการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. แสดงความรู้เกย่ี วกับหลักการเขยี นโปรแกรมภาษา C
3. แสดงความรเู้ กยี่ วกับโปรแกรม Editor สาหรับเขยี นโปรแกรมและคอมไพลภ์ าษาซี
4. ปฏิบตั ิการตดิ ต้ังโปรแกรม Dev-C++

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ประจาหนว่ ย

1. สามารถอธบิ ายขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรมได้ถูกต้อง

2. สามารถบอกประวัติของภาษาซไี ด้ถกู ตอ้ ง
3. สามารถบอกคุณสมบัติเด่นของภาษาซีได้ถูกต้อง
4. สามารถอธิบายของโครงสร้างภาษาซีได้ถกู ต้อง
5. สามารถอธิบายตวั แปลภาษาแบบอินเตอร์พรีเตอร์และคอมไพเลอรไ์ ด้ถูกต้อง
6. สามารถตดิ ตั้งโปรแกรม Dev-C++ ไดถ้ ูกต้อง
7. สามารถเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีเพ่ือตรวจสอบความผดิ พลาดและแก้ไขโปรแกรมด้วยภาษาซี

เบอื้ งตน้ ไดถ้ ูกต้อง

แบบทดสอบก่อนเรยี น 11

คาชีแ้ จง
1. แบบทดสอบฉบับน้ีมจี านวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที
2. แบบทดสอบน้เี ป็นแบบเลอื กตอบ
3. จงทาเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคาตอบท่ีถูกทสี่ ดุ เพียงขอ้ เดียว

1. ภาษาซี ถูกพฒั นาโดยใคร
ก. Dennis Ritchie
ข. Perter Norton
ค. Martin Richards
ง. Ken Thompson

2. การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ด้วยภาษาซี อยา่ งน้อยต้องมี 1 ฟงั กช์ นั อยากทราบว่า เปน็ ฟงั ก์ชันใด
ก. printf ( )
ข. scanf ( )
ค. main ( )
ง. getch ( )

3. ขอ้ ใดต่อไปน้ี เปน็ การเขียนอธบิ ายโปรแกรม (comment) ไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. #My first program
ข. /* Comment */
ค. /*My first program
ง. // Comment //

4. ตวั แปลภาษาชนิด ท่ีทาการแปลทั้งโปรแกรม หากพบข้อผิดพลาด จะต้องทาการแก้ไขให้ถูกต้องแล้วแปล
ใหมจ่ นกระท้งั ไม่พบข้อผดิ พลาด โปรแกรมจึงจะทางานได้

ก. คอมไพลเลอร์
ข. อนิ เตอร์พรีเตอร์
ค. ดีบ๊ักเกอร์
ง. ดีบัก
5. ประโยคคาสัง่ ในภาษาซีตอ้ งลงทา้ ยด้วยเครื่องหมายใด
ก. : (colon)
ข. , (comma)
ค. ; (Semicolon)
ง. { }

6. สว่ นใดของโปรแกรมภาษาซีตอ่ ไปน้ี ทถ่ี ูกประมวลผลก่อน 12
ก. {
ข. /* Testing *2
ค. #include <conio.h>
ง. printf

7. โปรแกรมภาษาซใี ชต้ ัวแปลภาษาชนิดใด
ก. Compiler
ข. Translator
ค. Assembler
ง. Interpreter

8. ภาษาซจี ดั อยใู่ นภาษาระดับใด
ก. ภาษาระดับสงู
ข. ภาษาระดับกลาง
ค. ภาษาระดับต่า
ง. ภาษาเครอื่ ง

9. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไมใ่ ช่ ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ก. การออกแบบโปรแกรม
ข. การวิเคราะห์ปัญหา
ค. การทดสอบโปรแกรม
ง. การประกาศตวั แปร

10. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ สว่ นประกอบหลกั ของโครงสรา้ งภาษาซี
ก. สว่ นของคาอธิบายโปรแกรม (Program Comment)
ข. ส่วนประมวลผลกอ่ น (Preprocessor Directive)
ค. สว่ นฟงั ก์ชันหลัก (Main Function)
ง. สว่ นคอมไพเลอร์ (Compiler)

ใบเน้ือหาท่ี 1
เร่ือง ข้นั ตอนการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ข้นั ตอนการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ ้ัน โปรแกรมเมอร์ ซึ่งเปน็ บุคคลท่ีจะทาหน้าทใ่ี นการพฒั นา 13
โปรแกรม ตอ้ งทราบจุดหมายของการเขยี นโปรแกรม เช่น ข้อมลู นาเข้า การทางานของโปรแกรม และรูปแบบ
ในการแสดงผลลัพธ์ ซ่ึงหากมีการวางแผนการเขียนโปรแกรมให้เป็นไปตามลาดับข้ันตอนจะส่งผลให้การเขียน
โปรแกรมงา่ ยขึ้น โดยขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรมประกอบดว้ ย 5 ขัน้ ตอนหลกั ๆ ดังน้ี

1. การวเิ คราะหป์ ญั หา
2. การออกแบบโปรแกรม
3. การเขยี นโปรแกรม
4. การทดสอบโปรแกรม
5. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม

การวเิ คราะหป์ ัญหา

การออกแบบโปรแกรม

การเขยี นโปรแกรม

การทดสอบโปรแกรม

การจดั ทาเอกสารประกอบโปรแกรม

รปู ท่ี 1.1 ผังแสดงขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรม (โอภาส เอ่ยี มสิริวงศ์, 2558)

1. การวิเคราะห์ปญั หา 14
การวิเคราะห์ปัญหา จาเป็นต้องอ่านโจทย์อย่างระมัดระวัง เพ่ือให้เข้าใจในส่ิงท่ีต้องทาว่าปัญหา

คืออะไร ประเด็นหลักอยู่ที่ใด และต้องการให้ผลลัพธ์อะไร หากวิเคราะห์หรือตีความผิดพลาดไปจากโจทย์
ท่ีต้องการ จะส่งผลให้โปรแกรมที่เขียนขึ้นไม่ตรงตามความต้องการ สาหรับข้ันตอนการวิเคราะห์ปัญหา
แบง่ ออกออกเป็น 3 ส่วนหลกั ๆ ดงั น้ี

 ข้อมูลนาเข้า (Inputs)
 การประมวลผล (Processing)
 ผลลพั ธ์ (Outputs)
วิเคราะห์ปัญหา ให้ทาการพิจารณาผลลัพธ์ของปัญหาก่อน (Output) ว่าคืออะไร และมีข้อมูล
นาเข้า (Inputs) อะไรบ้างท่ีจะทาให้ได้ผลลัพธ์ จากนั้นจึงคิดสูตรเป็นสมการ หรือวิธีการที่จะแก้ปัญหาเพื่อให้
ได้ผลลพั ธ์ตามที่ต้องการ

2. การออกแบบโปรแกรม
เมื่อปัญหาได้รับการวิเคราะห์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไปคือการออกแบบโปรแกรมโดย

เขียนเป็นลาดับข้ึนตอนการทางาน หรือการออกแบบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา โดยอัลกอริทึม (algorithm)
ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งท่ีสามารถนามาใช้เพ่ือการออกแบบโปรแกรมได้ อัลกอลิทึมน้ันอาจเขียนในรูปของ
รหัสจาลองหรือซูโดโค้ด (pseudo code) หรือเขียนเป็นผังงาน (flowchart) ก็ได้ โดยซูโดโค้ดเป็นคาอธิบาย
ข้ันตอนการทางานของโปรแกรมเป็นคาย่อหรือคาศัพท์ธรรมดาในชีวิตประจาวัน โดยไม่ยึดหลักไวยากรณ์ของ
ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง ส่วนผังงานการเขียนโปรแกรม (Programming Flowchart) หรือ
เรยี กส้นั ๆ วา่ Flowchart เป็นผงั งานทีแ่ สดงลาดับขั้นตอนการทางานโดยใช้สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนการทางาน
และทิศทางของโปรแกรม ดังตัวอย่างต่อไปน้ี

2.1 การเขยี นรหัสเทยี ม (Pseudocode)

ALGORITHM PROBLEM
VARIABLES: Base, Height, Area
BEGIN

INPUT Base, Height
Area = (0.5 * Base * Height)
PRINT Area
END POROBLEM

2.2 การเขยี นผงั งาน (Flowchart) การหาพืน้ ทสี่ ามเหลี่ยม

Strat

INPUT Base, Height
Area = (0.5 * Base * Height)

PRINT Area

Stop 15

3. การเขียนโปรแกรม
เม่ืออัลกอริทึมถูกเขียนขึ้น ผ่านการตรวจสอบและทดสอบเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว ข้ันตอนต่อไป คือ

การนาอัลกอริทึมมาเขียนเป็นชุดคาส่ังด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โดยการเขียนโปรแกรมสามารถเลือกใช้
ภาษาคอมพวิ เตอร์ ระดบั สูงต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เชน่ C, C#, Java หรือ Visual Basic เปน็ ต้น

4. การทดสอบโปรแกรม
หลังจากเขียนโปรแกรมเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือ การทดสอบสอบความถูกต้องของ

โปรแกรมที่เขียนข้ึน ด้วยโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจเป็นตัวแปลภาษาชนิดคอมไพเลอร์ หรือ
อินเตอร์พรีเตอร์ก็ได้ เพ่ือหาจุดผิดพลาดของโปรแกรม หรือเรียกว่า บัก (bug) ส่วนการแก้ไขข้อผิดพลาด
ให้ถูกต้องเรยี กว่า ดีบกั (debug) โดยทว่ั ไปแลว้ ข้อผดิ พลาดจากการเขียนโปรแกรมจะมี 2 ประเภท คือ

1) การพิมพ์คาส่ังไม่ถูกต้องตามหลักไวยกรณ์ของภาษาน้ัน ๆ ซึ่งเรียกว่า Syntax Error หรือ
Coding Error เช่น คาสัง่ scan แทนทจี่ ะเปน็ scanf ซ่ึงตวั แปลภาษาจะไม่รคู้ าสง่ั ดงั กล่าว

2) ผลลัพธ์ของโปรแกรมผิดพลาดจากการใช้สูตรคานวณที่ผิด หรือข้อผิดพลาดทางตรรกะ
ซึ่งเรียกว่า Logic Error เช่น ตั้งสูตรคานวณหาพ้ืนท่ีสามเหลี่ยมผิด ซึ่งเป็นข้อผิดพลาดที่โปรแกรมทางาน
ได้แตผ่ ลลพั ธอ์ อกมาไมถ่ กู ต้อง

ดังนั้น การทดสอบโปรแกรมจึงจาเป็นต้องทดสอบทั้งรูปแบบชุดคาส่ัง และผลลัพธ์ที่รันว่าถูกต้อง
หรือไม่ และอาจตอ้ งดาเนนิ การทดสอบหลาย ๆ ครัง้ เพ่อื ให้มั่นใจได้ว่าไมพ่ บขอ้ ผิดพลาด

5. การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม
การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรมนั้นเป็นข้ันตอนสุดท้ายของการเขียนโปรแกรม แต่ความจริง

แล้วควรจัดทาข้ึนต้ังแต่ขั้นตอนการกาหนดปัญหา จนถึงขั้นตอนสุดท้าย ซึ่งก็คือการทดสอบโปรแกรม
โดยเอกสารเหล่าน้ีจะนามาใช้สาหรับอ้างอิงข้อผิดพลาดท่ีเกิดขึ้น วิธีการแก้ไขข้อผิดพลาด รวมถึงการนาไปใช้
เพื่อการพัฒนาแก้ไขปรบั ปรุงโปรแกรมในอนาคต

16

ใบแบบฝกึ หัดระหว่างเรยี นท่ี 1.1
เรอ่ื ง ขนั้ ตอนการเขยี นโปรแกรม

จุดประสงค์การเรียนรู้ประจาหนว่ ย
สามารถอธิบายขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้ถูกต้อง

คาช้ีแจง้ : นกั เรียนนาตวั เลอื กดังต่อไปน้ี ไปเติมคาให้ถกู ต้อง พร้อมอธบิ ายพอสังเขป

การออกแบบโปรแกรม การวเิ คราะหป์ ัญหา การเขยี นโปรแกรม

การจัดทาเอกสารประกอบโปรแกรม การทดสอบโปรแกรม

17

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................

........................................................................................
........................................................................................
........................................................................................

ใบเน้ือหาท่ี 2
เร่ือง ประวตั ภิ าษาซี

ประวัติภาษาซี

ภาษาซีจัดจัดอยใู่ นประเภทของภาษาระดับสูง ซงึ่ หมายถึงภาษาคอมพวิ เตอร์ท่ีมคี วามใกล้เคียงกับภาษา 18
มนุษย์ ถูกพัฒนาโดย เดนนิส ริตซี (Dennis Ritchie) ท่ีห้องปฏิบัติการเบลล์ (Bell Laboratories) เม่ือราวปี
ค.ศ. 1972 โดยมีต้นแบบมาจากภาษาบี (B Language) ที่พฒั นาโดยเคน ทอมสัน (Ken Thompson) มีรากฐาน
มาจากภาษาบซี ีพแี อล (BCPL) พฒั นาโดยมาร์ตนิ ริซารด์ (Martin Richards)

ในเวลาต่อมา ทางสถาบัน ANSI (American National Standards Institute) ได้สร้างมาตาราฐาน
ภาษาซีขึ้นมา เพื่อรับรองให้เป็นสากล ภายใต้ชื่อ ANSI-C และในปี 1990 องค์กรมาตรฐานสากล (ISO)
ได้ยอมรับมาตรฐานที่สร้างข้ึน ภายใต้ชื่อ ANSI/ISO-C จนกระท่ังปัจจุบันได้มีการพัฒนาภาษาซีให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้นเป็นเวอร์ชั่นต่าง ๆ มากมาย เช่นภาษา C# ซึ่งได้เพ่ิมชุดคาสั่งที่สนับสนุนการพัฒนา
โปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) และยังคงรองรับชุดคาสั่งมาตรฐานของภาษาซีดั้งเดิม
อยู่ด้วย

รูปท่ี 1.2 เดนนิส ริตซี (Dennis Ritchie) ผู้พฒั นาภาษาซี
(ทีม่ า: http://note005.blogspot.com/2011/10/dennis-ritchie-c.html)

คณุ สมบัติเดน่ ของภาษาซี

ภาษาซีเป็นภาษาท่ีมคี วามโดนเด่นกว่าภาษาระดับสูงทว่ั ไปในหลาย ๆ ด้าน ประกอบด้วย 19

1. ภาษาซีสามารถใช้งานบนคอมพิวเตอร์ท่ีแตกต่างกันได้ ตั้งแต่ระดับเมนเฟรมคอมพิวเตอร์ จนถึง
ระดบั ไมโครคอมพิวเตอร์ และยังสามารถนาภาษาซีมาใชบ้ นระบบปฏิบัตกิ ารท่หี ลากหลายได้

2. ภาษาซีมีความยืดหยุ่นสูงมาก สามารถเขียนชุดคาสั่งเพื่อให้สามารถใช้งานกับภาษาระดับต่า
ได้อย่างภาษาแอสเซมบลี จึงเป็นท่ีมาของภาษาระดับกลาง ซ่ึงอยู่กึ่งกลางระหว่างภาษาระดับต่า และภาษา
ระดบั สงู

3. มีประสิทธิภาพในการทางานสูง มีการทางานที่รวดเร็วกว่าภาษาระดับสู่งท่ัวไป ชุดคาสั่งมีความ
กะทดั รัดและกระซับ มีระบบการจัดการหนว่ ยความจาที่มีประสิทธิภาพสูง

4. ภาษาซีสนับสนุนแนวคิดในการพัฒนาการเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง ท่ีประกอบไปด้วยฟังก์ชัน
ตา่ ง ๆ ทีน่ ามาประกอบรวมกัน จงึ เหมาะสาหรับนามาพฒั นาระบบ

5. มตี วั แปรชนดิ พอยน์เตอร์ (Pointer) ทส่ี ามารถเข้าถึงหรือช้ไี ปยงั ทีอ่ ยู่ของหน่วยความจาทเ่ี กบ็ ข้อมูล
ไดโ้ ดยตรง

6. ภาษาซีกาหนดให้ตัวอักษรพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่แตกต่างกัน (Case Sensitive) ซึ่งโดยทั่วไป
การเขยี นโปรแกรมภาษาระดับสูง โดยทั่วไปสามารถกาหนดชื่อตวั แปร รวมถึงการอ้างอิงตัวแปร ไดท้ ั้งตวั อกั ษร
พิมพ์ใหญ่หรือตัวพิมพ์เล็ก ตัวอย่างเช่น Test และ test ต่างก็เป็นตัวแปรเดียวกัน แต่สาหรับภาษาซีถือว่าเปน็
คนละตวั แปรกัน

เข้าใจแลว้ กไ็ ปทา
แบบฝกึ หัดกันเลย

ใบแบบฝึกหดั ระหว่างเรียนท่ี 1.2 20
เร่ือง ประวตั ิของภาษาซี

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ประจาหนว่ ย
1. สามารถบอกประวัติของภาษาซไี ด้ถูกตอ้ ง
2. สามารถบอกคณุ สมบตั ิเด่นของภาษาซไี ด้ถูกต้อง

คาช้แี จ้ง : จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง

1. จงบอกประวัติความเปน็ มาของภาษาซมี าให้พอเข้าใจ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. จงสรปุ คณุ สมบตั ิเดน่ ของภาษาซมี าโดยสงั เขป

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบเนื้อหาที่ 3
เร่อื ง โครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี

การเขียนโปรแกรมภาษาระดบั สูงโดยทัว่ ไป จาเป็นต้องศกึ ษาโครงสรา้ งของโปรแกรมภาษาน้ัน ๆ ก่อน
ดงั นัน้ เม่ือตอ้ งการเขียนโปรแกรมภาษาซี จึงตอ้ งเรียนรโู้ ครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี ซ่งึ สามารถแบง่ ออกได้
เป็น 4 ส่วน ดังน้ี

1. ตัวประมวลผลกอ่ น หรอื พรโี ปรเซสเซอรไ์ ดเร็กทฟี (Preprocessor directives)
2. ฟงั กช์ ันหลัก (Main Function)
3. ชุดคาสั่ง (Compound Statement)
4. สว่ นอธบิ ายโปรแกรม (Program Comment)

/* comment */ /*…..*/ เคร่อื งหมายทีน่ ามาเพอ่ื 21
ประกอบการอธิบายโปรแกรม
#include <stdio.h>
int main (void) ตัวประมวลผลก่อน
{ (Preprocessor)

printf (“Hello World”) ; Directive)
return 0 ; ฟงั กช์ ัน main ( )
}
เคร่อื งหมายปีกกาเปิด ชุดคาสั่ง
แสดงถงึ จุดเริม่ ตน้
ของการทางาน

เครื่องหมายปีกกาปดิ รีเทริ น์ ค่ากลับ
แสดงถงึ จดุ สิ้นสดุ
ของการทางาน

รปู ที่ 1.3 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (โอภาส เอยี่ มสิรวิ งศ์, 2558)

1. พรโี ปรเซสเซอร์ไดเร็กทีฟ (Preprocessor Directive)
เป็นส่วนสาคัญที่คอมไพเลอร์จะประมวลคาสั่งน้ีก่อน หรืออาจเรียกว่าเป็นส่วนหัวของโปรแกรมก็ได้

ท่ีจาเป็นต้องถูกกาหนดไว้ในโปรแกรมเสมอ ซึ่งจะต้องเริ่มต้นด้วยเคร่ืองหมาย # และตามด้วยชื่อคาส่ัง
ไดเรกทีฟท่ีต้องการ ซ่ึงเป็นการผนวกเฮอเดอร์ไฟล์เข้ามาใช้งาน เช่น #include <stdio.h> หรือ
#include “stdio.h”

เฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h จัดเป็นเฮดเดอร์ไฟล์หนึ่งในไลบรารีมาตรฐานที่ถูกเรียกใช้งานอยู่เสมอ
เน่อื งจากเฮดเดอรไ์ ฟลน์ ี้จะเกีย่ วข้องกบั อนิ พุตและเอาต์พุต เช่น

 ฟังก์ชนั printf () ใช้สาหรบั พมิ พ์ข้อความหรือค่าตัวแปร
 ฟังก์ชนั scanf () ใช้สาหรบั รับค่าผ่านทางแป้นพิมพ์ เพอื่ จัดเก็บไว้ในตัวแปร

ดังนั้นเมื่อมีการเรียกใช้งานฟังก์ชัน printf () หรือฟังก์ชัน scanf () ที่ส่วนหัวของโปรแกรมจะต้อง 22
ผนวกเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าไปด้วย แต่หากไม่ได้ผนวกเฮดเดอร์ไฟล์ stdio.h เข้าไป เม่ือนาโปรแกรม
ไปคอมไพล์ กจ็ ะเกิดขอ้ ผิดพลาด

ตัวอย่างไดเรกทีฟที่มีอย่ใู นภาษาซี

#define #include #undef #endif #ifndef #else
#ifdef #elif #error #pragma #line #if

2. ฟงั ก์ชนั หลัก (Main function)
ในภาษาซีจะมีฟังก์ชันอยู่หนึ่งฟังก์ชัน เรียกว่า ฟังก์ชัน main() ซ่ึงถือเป็นส่วนที่ทาหน้าที่ส่ังให้

ชุดคาส่ังต่าง ๆ หรือฟังกช์ นั อนื่ ๆ ทางาน

3. ชุดคาสัง่ (Compound Statement)
ชุดคาส่ังหรือประโยคคาสั่งในภาษาซี จะถูกบรรจุอยู่ภายในเคร่ืองหมาย { ที่บอกถึงจุดเร่ิมต้นของ

การทางานและเคร่ืองหมาย } เพื่อบอกถึงจุดสิ้นสุดการทางานของโปรแกรม และสามารถสร้างบล็อก { }
ซอ้ นย่อยเข้าไปในฟงั ก์ชนั ได้ และแตล่ ะประโยคคาส่งั จะตอ้ งจบด้วยเครื่องหมาย ; (Semicolon) เสมอ

4. ส่วนอธิบายโปรแกรม (Program Comment) 23

คาอธิบายโปรแกรม เป็นสว่ นทโ่ี ปรแกรมเมอรส์ ามารถนามาใช้เพอื่ ประกอบคาอธิบายภายในโปรแกรม
เช่น ใช้อธิบายจุดประสงค์ของโปรแกรมส่วนน้ัน ๆ รวมถึงป้องกันการหลงลืม กรณีท่ีต้องการมาปรับปรุง
โปรแกรม หรือผู้ท่ีนาโปรแกรมนไ้ี ปใช้ไดเ้ ขา้ ใจจุดมุง่ หมายของโปรแกรมในส่วนนั้น ๆ โดยคอมไพเลอรจ์ ะไม่สน
ในข้อความท่ีอยู่ภายใน และต้องเขียนภายในเคร่ืองหมาย /*………….*/ (กรณีคาอธิบายหลายบรรทัด หรือ
บรรทดั เดียว) หรือเครื่องหมาย // (คาอธบิ ายภายในบรรทดั เดยี ว) ดังตวั อยา่ ง

/* Program: testing
Author: Napa
Department: Technology Computer */

#include <stdio.h> // Header File
void main ()
{

printf (“Hello World”);
}
// end of program

ตัวแปลภาษา

การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ด้วยภาษาระดับสูง โดยทั่วไปมีจุดประสงคเ์ พ่ือใหม้ นุษย์สามารถเข้าใจ
ส่ือสารกับโปรแกรมได้ง่ายขนึ้ แตภ่ าษาระดับสงู เป็นภาษาทีค่ อมพิวเตอร์ไม่รู้จกั ดังนั้นจงึ ตอ้ งมกี ารนาโปรแกรม
มาแปลภาษาใหเ้ ป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมแปลภาษาแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทไดแ้ ก่

1. โปรแกรมแปลภาษาแบบคอมไพเลอร์ (Compiler) โปรแกรมแปลภาษาชนดิ น้ี จะทาการแปลง
โปรแกรม ซง่ึ หากโปรแกรมพบขอ้ ผดิ พลาด ระบบจะแจ้งขอ้ ผดิ พลาดทางหน้าจอใหท้ ราบ โปรแกรมเมอรจ์ ะตอ้ ง
ทาการแก้ไขให้ถูกต้อง และแปลใหม่จนกระท้ังไม่พบข้อผิดพลาด โปรแกรมจึงสามารถใช้งานได้ ดังรูปที่ 1.4
ผังแสดงข้นั ตอนการทางานของคอมไพเลอร์

โปรแกรมตน้ ฉบับ คอมไพเลอร์ รหัสภาษาเครอื่ ง

แปลทั้งโปรแกรม
รปู ที่ 1.4 ผงั แสดงข้ันตอนการทางานของคอมไพเลอร์ (ธรี วัฒน์ ประกอบผล, 2550)

2. โปรแกรมแปลภาษาแบบอินเตอร์พรีเตอร์ (Interpreter) โปรแกรมตัวแปลภาษาชนิดนี้จะ
ทาการแปลชุดคาสั่งทีละคาสั่งในแต่ละบรรทัด หากไม่พบข้อผิดพลาดใด ๆ จะนาคาส่ังถัดไปมาแปลต่อ ซึ่งจะ
ทาเชน่ น้ไี ปเรื่อย ๆ หากพบขอ้ ผิดพลาด จะหยดุ ดทางานทนั ที่และแจ้งข้อผดิ พลาดในให้ทราบทางหน้าจอ และ
หากข้อผิดพลาดนี้มิได้ถูกสั่งให้ทางาน โปรแกรมก็ยังสามารถทางานต่อไปได้น้ันเอง ดังรูปที่ 1.5 ผังแสดง
ข้นั ตอนการทางานของอนิ เตอร์พรเี ตอร์

โปรแกรมต้นฉบบั อินเตอร์พรเี ตอร์ รหสั ภาษาเคร่อื ง

แปลที่ละคาสง่ั
รูปที่ 1.5 ผงั แสดงขน้ั ตอนการทางานของอนิ เตอร์พรีเตอร์ (ธรี วัฒน์ ประกอบผล, 2550)

ทบทวนความรู้กันหน่อย 24
ไปทาแบบฝกึ หดั กันเลย

ใบแบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรยี นที่ 1.3 25
เรื่อง โครงสรา้ งของภาษาซี

จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย
1. สามารถอธิบายของโครงสร้างภาษาซีได้ถกู ต้อง
2. สามารถอธบิ ายตวั แปลภาษาแบบอินเตอร์พรเี ตอรแ์ ละคอมไพเลอรไ์ ด้ถูกตอ้ ง

คาชแ้ี จ้ง : ตอบคาถามต่อไปนีใ้ ห้ถูกต้อง

1. จงอธิบายสว่ นประกอบของโครงสรา้ งโปรแกรมภาษาซี
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. จงยกตวั อย่างไดเรกทีฟท่ีมีอยู่ในภาษาซีมาอย่างน้อย 5 ตัวอยา่ ง
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จงอธิบายความแตกต่างระหวา่ งตัวแปลภาษาแบบคอมไพเลอรแ์ ละอนิ เตอร์พรเี ตอร์
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบเนอื้ หาที่ 4
เรือ่ ง การติดต้งั โปรแกรม Dev-C++

ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในภาษาต่าง ๆ สามารถเขียนคาส่ังด้วยโปรแกรม Text Editor เช่น 26
Notepad เพ่ือสร้างโปรแกรมและบันทึกไฟล์ให้มีนามสกุลเป็น .c ในกรณีท่ีเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย
ภาษาซี เช่น testing.c เปน็ ต้น เมอ่ื โปรแกรมถกู สร้างข้นึ ลาดบั ต่อไปคอื การคอมไพล์โปรแกรมหรือการเปล่ียน
ภาษาทเี่ ขยี นน้นั เปน็ ภาษาเครอ่ื ง (.obj)

ในการเขียนโปรแกรมเพ่ือให้ง่ายต่อการคอมไพล์และสรา้ งรหัสเป็นภาษาเครื่อง สามารถใช้ ชุดพัฒนา
โปรแกรมที่เรยี กว่า IDE (Integrated Development Environment) ซึ่งออกแบบมาเพื่ออานวยความสะดวก
สาหรับผู้เขียนโปรแกรม ปัจจุบันมีชุดพัฒนาโปรแกรมหลายรุ่นและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เช่น Turbo
C++, Microsoft Visual C++, Microsoft Visual C++.NET, Borland C++ ซ่ึงแต่ละชุดพัฒนาก็จะมี
วิธีการใช้งานที่แตกต่างกัน แต่ก็ยังมีหลักการที่คล้ายกัน แตกต่างกันตรงรายละเอียดบางอย่างที่ชุดพัฒนา
กาหนดมาใหใ้ ชง้ านได้งา่ ยยง่ิ ขน้ึ

ดังนั้นเอกสารประกอบการเรียนการสอนเล่มนี้ขอแนะนาการใช้โปรแกรม Bloodshed Dev-C++
ซึ่งได้รวม editor และ compiler ไว้ในชุดพัฒนาเรียบร้อยแล้ว เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาเพ่ือช่วยให้การ
สร้างโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ทางานได้ง่ายข้ึน เนื่องจากตัวโปรแกรมได้เตรียมเครื่องมือช่วยในการเขียน
โปรแกรมมาให้พร้อม กล่าวคือ หลังจากติดตั้งโปรแกรมสามารถเปิดโปรแกรมดังกล่าวข้ึนมาเพ่ือเขียน
โปรแกรมได้ทันที และสามารถเลือกนามสกุลไฟล์ท่ีใช้ในการบันทึกได้หลากหลายตามความต้องการของ
ผู้พฒั นาโปรแกรม

ขั้นตอนการติดตง้ั โปรแกรม Dev C++

1. เปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์และทาการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต จากน้ันเข้าเว็บ Google พิมพ์ค้นหาคาว่า
“Dev-C++ Download”

รูปที่ 1.6 แสดงการค้นหาโปรแกรม Dev-C++ จากเว็บ Google 27

2. เม่ือดาวโหลดโปรแกรมเสร็จแล้ว ให้ทาการเปิดไปยังโฟลเดอร์ที่เก็บโปรแกรมดังกล่าวเพ่ือทาการ
ตดิ ตง้ั โดยการดบั เบล้ิ คลกิ ท่ไี ฟล์ Dev-Cpp 5.11 TDM-GCC 4.9.2 Setup

รปู ท่ี 1.7 แสดงไฟล์ทใ่ี ชง้ ในการตดิ ต้ังโปรแกรม Dev-Cpp 5.11 TDM-GCC 4.9.2 Setup

3. เลอื กภาษาในการติดต้งั ในที่นเี้ ลือก English จากนัน้ กดปมุ่ OK เพ่อื ดาเนนิ การข้นั ตอนตอ่ ไป

รูปท่ี 1.8 แสดงการเลือกภาษาท่ีใชใ้ นการตดิ ตงั้
4. เขา้ สูห่ นา้ ต่างเงอ่ื นไขการใช้งานโปรแกรมของบรษิ ัทผผู้ ลิด ทาการคลกิ I Agree เพ่อื ยอมรับเง่อื นไข
ดังกล่าว

28

รปู ท่ี 1.9 แสดงเง่ือนไขการใชง้ านโปรแกรมของบริษทั ผูผ้ ลิต

5. จากน้ันเข้าสู่หน้าต่างการติดตั้งส่วนเสริมต่าง ๆ เพ่ือเพิ่มเติมให้กับโปรแกรม ทาการคลิกปุ่ม Next
เพื่อดาเนนิ การในข้ันตอนต่อไป

รปู ท่ี 1.10 แสดงหนา้ ตา่ งการตดิ ตั้งส่วนเพ่ิมเติมให้กับโปรแกรม 29
6. ผู้ตดิ ตั้งสามารถเลอื กตาแหนง่ แฟ้มเพื่อการติดต้งั ได้ จากนน้ั คลกิ ปมุ่ Install

รูปที่ 1.11 แสดงตาแหนง่ แฟ้มเพ่ือการติดต้งั โปรแกรม

7. รอจนกระท้ังโปรแกรมติดตั้งลงเครื่องเสรจ็ สมบรู ณ์

รูปท่ี 1.12 แสดงหน้าต่างความคืบหนา้ ของการตดิ ต้งั โปรแกรม 30
8. หน้าตา่ งโปรแกรมแสดงการตดิ ตง้ั เสรจ็ สน้ิ เรียบร้อย จากนั้นคลิกปมุ่ Finish

รูปท่ี 1.13 แสดงหนา้ ต่างการตดิ ตั้งโปรแกรมเสรจ็ ส้นิ

9. หนา้ ต่างการใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ 5.11

รปู ท่ี1.14 แสดงหนา้ ต่างการใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ 5.11 31

ไปลองติดตัง้ โปรแกรม
ด้วยตนเอง

ตามแบบฝกึ หดั กันเลย

ใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี นที่ 1.4 32
เรอ่ื ง การตดิ ตัง้ โปรแกรม Dev-C++

จดุ ประสงค์การเรยี นรปู้ ระจาหนว่ ย
สามารถตดิ ตั้งโปรแกรม Dev-C++ ไดถ้ กู ต้อง

คาช้แี จง้ : ให้นกั เรยี นปฏิบตั ติ ามหัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้

1. ให้นักเรียนทาการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต จากน้ันเข้าไปยังเว็บไซต์ของ Google เพ่ือทาการ
คน้ หาโปรแกรม Dev-C++ พร้อมทัง้ ดาวน์โหลดมาเกบ็ ไว้ในเครอื่ งคอมพิวเตอร์

2. ให้นักเรียนทาการติดต้ังโปรแกรม Dev-C++ จากไฟล์ที่ดาวน์โหลดโดยดาเนินการด้วย
ตนเอง

3. เมอื่ ติดต้ังเสร็จสิ้นเปน็ ทเี่ รยี บร้อยแล้วให้ทาการเรยี กโปรแกรม Dev-C++ ขน้ึ มาใช้งาน

บันทึกขอ้ มูล

ปัญหาทีพ่ บ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

วิธีการแก้ปัญหา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบเน้อื หาที่ 5
เรือ่ ง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++ v5.11

การใชง้ านโปรแกรม Dev C++ v5.11

ขน้ั ตอนการเข้าสู่โปรแกรม
1. คลกิ ป่มุ Start ที่มุมดา้ นล่างซา้ ยมอื ของหนา้ จอ
2. คลกิ โฟลเดอร์ Bloodshed Dev-C++
3. คลกิ เปิดโปรแกรม Dev-C++

2

3

33

1
รูปท่ี 1.15 แสดงขัน้ ตอนการเข้าสโู่ ปรแกรม Dev c++

หรือคลิกเลือกไอคอน หนา้ Desktop เพ่ือเขา้ สโู่ ปรแกรม

จะไดห้ นา้ ต่างโปรแกรม Dev-C++ v5.11 ดังรูป

รูปที่ 1.16 แสดงหนา้ ตา่ งโปรแกรม Dev-C++ 5.11

สว่ นประกอบของหนา้ ตา่ งโปรแกรม Dev-C++ v5.11 34
เมอ่ื เปดิ โปรแกรมขนึ้ มา เราจะเหน็ หน้าต่างโปรแกรมดังรปู
3
12

4

5
6

7

รปู ท่ี 1.17 แสดงส่วนประกอบต่าง ๆ ของโปรแกรม Dev-C++ v5.11

1. ไตเตลิ บาร์ (Title Bar) ใชแ้ สดงชอื่ และประเภทของไฟล์ 35
2. เมนูบาร์ (Menu Bar) แถบแสดงรายการเมนคู าสงั่ ต่าง ๆ 10 รายการ คือ File, Edit, Search
View, Project, Execute, Tools, AStyle, Window, Help
3. รายการเลอื ก TDM-GCC ของโปรแกรม Dev-C++ รองรบั สองระบบ 32-bit หรือ 64-bit
4. ทูลบาร์ (Toolbar) เป็นปุ่มสว่ นของเคร่ืองมอื ท่รี วมเมนูคาส่งั ที่ใช้งานบ่อย ๆ เพ่ืออานวยความ
สะดวกในการเรยี กใช้แทนเมนูที่มขี ้นั ตอนเขา้ ใช้หลายขน้ั ตอน
5. แทบ็ แสดงรายการ Project/Classes/Debug ใชแ้ สดง Project หรือ Class ตา่ ง ๆ ของ
โปรแกรมอยู่ทางซา้ ย
6. ส่วนของพน้ื ที่การเขยี นโปรแกรม (Editor) เปน็ ส่วนของพน้ื ทีท่ ี่ใช้ในการเขยี นรหสั โปรแกรม
ภาษาซี
7. แถบสถานะ (Status Bar) แสดงข้อมลู เกีย่ วไฟลท์ ีเ่ ปิดอยู่ เช่น จานวนบรรทัดท้งั หมด หรอื
สถานะการพมิ พแ์ ทรกหรือพิมพท์ ับ

การใช้งานเมนูตา่ ง ๆ ของโปรแกรม Dev-C++ v5.11 ดังนี้

1. การใชง้ านเมนู File

รูปที่ 1.80 แสดงหน้าตา่ งการเมนู File โปรแกรม Dev-C++ v5.11
 New: สรา้ งไฟล์ใหม่
 Open: ใชส้ าหรบั เปดิ ไฟล์อื่น

 Save: เป็นการบนั ทกึ ไฟลท์ ่ีกาลงั มีการแกไ้ ขอยู่
 Save As: เปน็ คาสั่งทใ่ี ชบ้ ันทึกไฟลท์ ่ีเปิดอยไู่ ปเปน็ อีกไฟล์ โดยจะอยทู่ ี่โฟลเดอร์เดียวกัน แต่

คนละชอื่ หรอื จะเก็บไว้ทโี่ ฟลเดอรอ์ ่นื กท็ าได้
 Save All: ใช้สาหรับบันทกึ ไฟล์ หรือโปรเจค (project) ทั้งหมด ที่เปิดทางานอยู่ขณะน้ัน
 Close: ใช้สาหรบั ปิดไฟล์ที่เปิดอยู่ โดยไมป่ ิดโปรแกรม
 Close All: ใช้สาหรับปดิ ไฟล์ หรอื โปรเจค (project) ทง้ั หมดที่กาลงั ใช้งาน
 Exit: ใชส้ าหรับปดิ โปรแกรม

2. การใชง้ านเมนู Edit

36

รปู ที่ 1.81 แสดงหน้าตา่ งเมนู Edit โปรแกรม Dev-C++ v5.11

 Undo: ใช้สาหรบั ยกเลิกคาสั่ง 1 ครง้ั
 Redo: ใชส้ าหรับใหท้ าซ้าคาสัง่ 1 ครั้ง
 Cut: ใชส้ าหรบั ตัดข้อความที่เลอื ก ไปไวใ้ นคลิปบอร์ด
 Copy: ใช้สาหรบั คดั ลอกขอ้ ความที่เลอื ก ไปไวใ้ นคลิปบอร์ด
 Paste: ใชส้ าหรับวางข้อความจากคลปิ บอรด์ ตามตาแหน่งของเคอรเ์ ซอร์
 Select All: ใชส้ าหรบั เลือกโค้ด หรอื ข้อความทง้ั หมดท่อี ยู่ในพน้ื ทเี่ ขียนโปรแกรม (Editor)
 Insert Snippet: เปน็ เครือ่ งมอื สาหรับช่วยจารูปแบบคาส่ัง โดยสามารถเลอื กแทรกรปู แบบ

คาสัง่ ต่าง ๆ ได้

3. การใชง้ านเมนู Search

รปู ที่ 1.82 แสดงหน้าตา่ งเมนู Search โปรแกรม Dev-C++ v5.11 37

 Find: ใชส้ าหรบั คน้ หาคา หรอื ข้อความในพื้นทเี่ ขียนโปรแกรม (Editor)
 Replace: ใชส้ าหรับแทนที่คาที่คน้ หา ด้วยคาใหม่
 Search Again: ใชส้ าหรับค้นซา้ หรอื คน้ หาต่อไป

4. การใชง้ านเมนู View

รูปที่ 1.83 แสดงหนา้ ต่างเมนู View โปรแกรม Dev-C++ v5.11

 Project/Class Browser: ใช้สาหรับแสดง หรือไม่แสดง Project/Class Browser
 Status bar: ใชส้ าหรบั แสดง หรอื ไมแ่ สดงแถมสถานะ
 Tool bars: ใช้สาหรบั แสดง หรือไม่แสดงเมนูบาร์ต่าง ๆ

5. การใชง้ านเมนู Project

38

รปู ท่ี 1.84 แสดงหน้าต่างเมนู Project โปรแกรม Dev-C++ v5.11

 New file: ใชส้ าหรับสรา้ งไฟลใ์ หม่ในโปรเจค
 Add to Project: ใชส้ าหรบั เพิม่ ไฟลเ์ ข้าสโู่ ปรเจค
 Remove from Project: ใชส้ าหรับยา้ ยไฟล์ออกจากโปรเจค

6. การใชง้ านเมนู Execute

รูปที่ 1.85 แสดงหน้าตา่ งเมนู Execute โปรแกรม Dev-C++ v5.11 39

 Compile (F9): ใช้สาหรับแปลภาษาท่สี ั่งงานใหเ้ ป็นภาษาเครื่อง
 Run (F10): ใชส้ าหรบั ส่งั การให้โปรแกรมทผ่ี ่านการเอ๊กซีคิวต์แลว้ ได้ไฟล์ .exe ทางาน
 Compile & Run (F11): ใชส้ าหรบั แปลภาษาพร้อมสั่งรัน (Run) โปรแกรมทนั ทผี่ า่ น

การเอ็กซีควิ ต์แล้ว
 Rebuild All (F12): ใชส้ าหรับสรา้ งไฟล์ .exe แทนท่ีไฟล์เดิม

7. การใช้งานเมนู Tools

รปู ท่ี 1.86 แสดงหน้าตา่ งเมนู Tools โปรแกรม Dev-C++ v5.11

 Editor Options: ใช้สาหรบั การตง้ั คา่ ภายในโปรแกรมให้กบั Editor เชน่ การกาหนด
แบบอกั ษร ขนาดตวั อักษร สตี ัวอกั ษร เป็นต้น

8. การใชง้ านเมนู AStyle

รปู ท่ี 1.87 แสดงหนา้ ตา่ งเมนู Astyle โปรแกรม Dev-C++ v5.11 40

 Format Current File: ใช้สาหรบั จดั รปู แบบไฟล์ปจั จบุ นั
 Formatting Options: ใช้สาหรบั ตง้ั ค่าการจดั รูปแบบ

9. การใช้งานเมนู Window

รปู ท่ี 1.88 แสดงหนา้ ต่างเมนู Windows โปรแกรม Dev-C++ v5.11

 Close All: ใช้สาหรับปดิ หนา้ ต่างของ Editor ท้งั หมด
 Full Screen Mode: แสดงโปรแกรมแบบเต็มจอ
 Next: แสดงหน้าต่างของ Editor ถดั ไป
 Previous: แสดงหนา้ ต่างของ Editor ก่อนหนา้

10. การใช้งานเมนู Help

รูปท่ี 1.89 แสดงหน้าต่างเมนู Help โปรแกรม Dev-C++ v5.11 41

 Help on Dev-C++: ใช้สาหรบั ขอความชว่ ยเหลือในโปรแกรม Dev-C++
 Tip of the day: ใช้สาหรบั แนะนาเทคนิคการใช้งานโปรแกรม Dev-C++
 About Dev-C++: แสดงรายละเอียดท่เี ก่ยี วข้องกับโปรแกรม Dev-C++

ไปลองฝึกการใช้งาน
โปรแกรมกนั เลย

แบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรียนท่ี 1.5 42
เรอื่ ง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++

จุดประสงค์การเรียนรู้ประจาหน่วย
สามารถเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาซเี พื่อตรวจสอบความผิดพลาดและแก้ไขโปรแกรมด้วย

ภาษาซเี บือ้ งต้นได้ถกู ต้อง

คาชแ้ี จ้ง : ให้นักเรยี นปฏิบัติตามหัวข้อดังตอ่ ไปนี้

1. เปิดโปรแกรม Dev-C++ และทาการสร้างไฟล์งานใหม่
2. เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรต์ ามตัวอย่างด้านล่าง

#include<stdio.h>
#include<conio.h>
void main ()
{

printf(“Hello World\n”);
printf(“I Love Thailand”);
getch();
}

3. ทาการบนั ทึกไฟล์ที่ชอ่ื วา่ testing.c เลือกทีอ่ ยสู่ าหรบั เก็บไฟลต์ ามทตี่ ้องการ
4. ทดสอบโปรแกรมโดยการ Compile (F9) หากมีข้อผดิ พลาดใหท้ าการแก้ไขโปรแกรม
ดังกลา่ วใหถ้ กู ตอ้ ง จากนั้นทาการ Run (F10) โปรแกรม สังเกตผลลัพธ์ทีเ่ กดิ ขึ้น
5. บันทึกผลลัพธ์ท่เี กิดขนึ้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….

แบบทดสอบหลังเรยี น 43

คาชีแ้ จง
1. แบบทดสอบฉบบั น้ีมีจานวน 10 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลา 20 นาที
2. แบบทดสอบนี้เป็นแบบเลือกตอบ
3. จงทาเคร่ืองหมาย x ลงในกระดาษคาตอบท่ีถูกทส่ี ดุ เพียงขอ้ เดยี ว

1. โปรแกรมภาษาซใี ช้ตัวแปลภาษาชนิดใด
ก. Compiler
ข. Translator
ค. Assembler
ง. Interpreter

2. ภาษาซจี ดั อยู่ในภาษาระดับใด
ก. ภาษาระดบั สูง
ข. ภาษาระดับกลาง
ค. ภาษาระดบั ต่า
ง. ภาษาเคร่ือง

3. ขอ้ ใดต่อไปน้ี ไมใ่ ช่ ส่วนประกอบหลกั ของโครงสร้างภาษาซี
ก. สว่ นของคาอธบิ ายโปรแกรม (Program Comment)
ข. สว่ นประมวลผลก่อน (Preprocessor Directive)
ค. ส่วนฟังกช์ ันหลัก (Main Function)
ง. ส่วนคอมไพเลอร์ (Compiler

4. ขอ้ ใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ ขนั้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม
ก. การออกแบบโปรแกรม
ข. การวเิ คราะห์ปัญหา
ค. การทดสอบโปรแกรม
ง. การประกาศตวั แปร

5. สว่ นใดของโปรแกรมภาษาซีต่อไปน้ี ทถี่ ูกประมวลผลกอ่ น
ก. {
ข. /* Testing *2
ค. #include <conio.h>
ง. printf

6. ประโยคคาสง่ั ในภาษาซตี อ้ งลงทา้ ยดว้ ยเครื่องหมายใด 44
ก. : (colon)
ข. , (comma)
ค. ; (Semicolon)
ง. { }

7. ตวั แปลภาษาชนดิ ท่ที าการแปลท้ังโปรแกรม หากพบข้อผดิ พลาด จะตอ้ งทาการแก้ไขให้ถูกต้องแล้วแปล
ใหม่จนกระทง้ั ไม่พบข้อผดิ พลาด โปรแกรมจึงจะทางานได้

ก. คอมไพลเลอร์
ข. อนิ เตอร์พรีเตอร์
ค. ดบี ๊กั เกอร์
ง. ดีบกั
8. การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ดว้ ยภาษาซี อยา่ งนอ้ ยต้องมี 1 ฟงั กช์ ัน อยากทราบว่า เปน็ ฟงั ก์ชันใด
ก. printf ( )
ข. scanf ( )
ค. main ( )
ง. getch ( )
9. ภาษาซี ถูกพฒั นาโดยใคร
ก. Dennis Ritchie
ข. Perter Norton
ค. Martin Richards
ง. Ken Thompson
10. ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการเขียนอธบิ ายโปรแกรม (comment) ไดถ้ ูกตอ้ ง
ก. #My first program
ข. /* Comment */
ค. /*My first program
ง. // Comment //

ใบบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนและการทางาน
ระดับช้ัน................. กลุ่ม ....................... แผนกวชิ า..................................................

คาชี้แจง ให้ผู้สอนทาเคร่ืองหมาย üหรือ û ตามพฤติกรรมการเรียนและการทางานของผู้เรียน
ในใบประเมินพฤตกิ รรมการเรียน และการทางาน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน หมายถงึ นกั เรยี นมีพฤติกรรมตามทกี่ าหนด
ปฏบิ ัตไิ ด้ (ü) 1 คะแนน หมายถึง นักเรียนไม่มีพฤติกรรมตามท่ีกาหนด

ไม่ปฏบิ ตั ิ (û) 0 คะแนน

มวี นิ ัย ใฝเ่ รยี นรู้ มคี ณุ ธรรม มจี ิตอาสา
(3 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) (2 คะแนน)

ลาดบั ช่ือ-สกุล 1.1 เข้าเรียนตรงเวลา 45
ที่ 1.2 แ ่ตงกายถูก ้ตองตามระเ ีบยบ
1.3 ทางานเ ็ปนระเ ีบยบ
2.1 ีมความพร้อม ในการเ ีรยน
2.2 มีความกระตือรือร้น
2.3 ใฝ่หาความรู้
3.1 มีความซ่ือสัตย์
3.2 ีมระเบียบ ิว ันย
4.1 ีม ุอดมการณ์ในส่ิง ่ีทดีงามเ ื่พอส่วนรวม
4.2 ่ชวยเหลือ ้ผูอ่ืนแสดง ึถงความมี ้นาใจ
รวมคะแนน (10 คะแนน)

แบบบันทึกหลงั สอน 46

1. ผลการใชแ้ ผนการสอนเปน็ อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ผลการเรยี นของนักเรยี นเปน็ อยา่ งไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ผลการสอนของครเู ปน็ อย่างไร

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นายพงศธร บารงุ บ้าน)
ครูผสู้ อน

ลงช่อื ...............................................................
(.....................................................)
รองผู้อานวยการ ฝ่ายวิชาการ

ภาคผนวก 47

เฉลยหนว่ ยที่ 1 เรื่อง หลักการเขยี นโปรแกรมเบ้ืองต้นด้วยภาษาซี

- กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน
- เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียน
- เฉลยใบแบบฝกึ หดั ระหว่างเรียนท่ี 1.1 เรอ่ื ง ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
- เฉลยใบแบบฝึกหดั ระหว่างเรยี นท่ี 1.2 เร่อื ง ประวัตขิ องภาษาซี
- เฉลยใบแบบฝกึ หดั ระหวา่ งเรยี นท่ี 1.3 เรอ่ื ง โครงสรา้ งของภาษาซี
- เฉลยใบแบบฝึกหดั ระหวา่ งเรียนที่ 1.4 เรื่อง การติดตง้ั โปรแกรม Dev-C++
- เฉลยใบแบบฝึกหัดระหวา่ งเรยี นที่ 1.5 เรื่อง การใชง้ านโปรแกรม Dev-C++
- ใบบันทึกผลคะแนนแบบฝึกหัดระหว่างเรียนหน่วยท่ี 1 เร่ืองหลักการเขียนโปรแกรม
เบอ้ื งตน้ ด้วยภาษาซี
- ใบบันทึกผลคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนหน่วยที่ 1
เร่ือง หลกั การเขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้นด้วยภาษาซี

กระดาษคาตอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน 48
หน่วยที่ 1 เรือ่ ง หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องตน้ ด้วยภาษาซี
รหัสนกั ศกึ ษา.....................................ชือ่ – นามสกลุ .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบก่อนเรียน

ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมิน

8-10 ดีมาก ระดับคณุ ภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ดมี าก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรับปรุง
คะแนนท่ไี ด้ คือ...........

กระดาษคาตอบ แบบทดสอบหลังเรยี น 49
หน่วยที่ 1 เรือ่ ง หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้นดว้ ยภาษาซี
รหัสนกั ศกึ ษา.....................................ช่ือ – นามสกุล .................................................ระดบั .............กลมุ่ ......

แบบทดสอบหลังเรียน

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10

เกณฑก์ ารประเมนิ

คะแนน ระดับคณุ ภาพ ผลการประเมิน

8-10 ดีมาก ระดับคณุ ภาพ คือ
5-7 พอใช้
0-4 ปรับปรุง o ดมี าก
o พอใช้
คะแนนเต็ม 10 คะแนน o ปรับปรุง
คะแนนท่ีได้ คือ...........


Click to View FlipBook Version