The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรเทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรเทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนำ

หลักสูตรเทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนำ

ค่มู ือการฝึ กอบรม

หลกั สตู ร : “เทคนิคการเป็ นวิทยากรแกนนา”
และการแลกเปล่ียนเรียนรกู้ ารสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ท์

ในพ้ืนที่กลุ่มจงั หวดั

สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ

คู่มอื การฝกึ อบรมหลกั สตู ร “เทคนคิ การเป็นวทิ ยากรแกนนา”
และการแลกเปลย่ี นเรียนรู้การสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์

ในพื้นที่กลุ่มจังหวดั

กลมุ่ นโยบายและยุทธศาสตร์
สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

52



สารบัญ

หนา้

คำนำ…………………………………………………………………………………………………………………………………… ก

สำรบญั ………………………………………………………………………………………………………………………………… ข

ส่วนที่ 1 แนวทางการดาเนนิ การฝกึ อบรม 1

ความเปน็ มา............................................................................................................ 1

วัตถุประสงค์ของคูม่ ือการฝึกอบรม......................................................................... 1

ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน........................................................................................... 3

ระยะเวลาการดาเนินงาน....................................................................................... 5

บทบาทของบุคลากรที่เก่ียวข้องกบั การดาเนนิ การฝึกอบรม................................... 6

สว่ นที่ 2 หลักสูตร “เทคนคิ การเป็นวทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ฯ 11

หลักการและเหตุผล............................................................................................... 11

วัตถุประสงค์ของหลักสตู ร...................................................................................... 12

โครงสร้างของหลักสูตร........................................................................................... 12

แนวทางการฝึกอบรม ............................................................................................. 13

สอื่ ทใี่ ชใ้ นการฝึกอบรม ........................................................................................... 13

การวัดและประเมินผลการฝึกอบรม ....................................................................... 13

ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รับ...................................................................................... 14

กาหนดการฝกึ อบรม............................................................................................... 14

ส่วนที่ 3 การประเมนิ ผลการฝึกอบรม................................................................................... 15

แนวทางการประเมนิ ผล.......................................................................................... 16

เครอื่ งมือการวัดผลและประเมินผลการฝกึ อบรม.................................................... 17

- แบบประเมนิ เวลาการเข้ารับการอบรม......................................................... 17

- แบบประเมินผลงานกลมุ่ .............................................................................. 18

- แบบประเมินผลงาน (วิทยากรแกนนา)......................................................... 20

- แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการมีส่วนรว่ ม........................................................ 21

- แบบสรปุ คะแนนผลสัมฤทธ์กิ ารฝกึ อบรม...................................................... 23

- แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องวิทยากร... 24

- แบบสารวจความพงึ พอใจ............................................................................ 25

สว่ นท่ี 4 ขนั้ ตอนการลงทะเบียนประวัติการพัฒนา/ฝึกอบรม............................................... 29

กรณี : สมาชิกใหม่ท่ยี ังไมเ่ คยสมคั รสมาชกิ ในระบบ............................................... 30

กรณี : เคยสมัครสมาชกิ ในระบบ............................................................................ 34

สว่ นท่ี 5 แบบสอบถามข้อมูลผผู้ ่านการฝกึ อบรม............................................................... 38

ภาคผนวก ............................................................................................................................. ... 42

คาส่ังคณะทางานจัดทาหลักสูตรและคมู่ ือการฝึกอบรม........................................ 43

แนวทางดาเนินการฝกึ อบรมหลักสูตร “เทคนคิ การเปน็ วทิ ยากรแกนนา”
และการแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ารสรา้ งความปรองดองและสมานฉันทใ์ นพน้ื ที่กลุม่ จงั หวัด

1. หลักการและเหตผุ ล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์

ชาติเป็นเปา้ หมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพ่ือใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ
ให้สอดคลอ้ งและบูรณาการกนั เพื่อให้เกิดเป็นพลงั ผลกั ดันร่วมกันไปส่เู ปา้ หมายดังกล่าว การจัดทา การกาหนด
เป้าหมาย ระยะเวลาท่ีจะบรรลุเป้าหมาย และสาระท่ีพึงมีในยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเ กณฑ์และ
วิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ท้ังน้ี กฎหมายดังกล่าวต้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการรับฟังความ
คดิ เห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอยา่ งท่วั ถึงดว้ ย ยทุ ธศาสตรช์ าตเิ มื่อไดป้ ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษาแล้วให้ใช้
บังคับได้ รัฐบาลพลเอกประยุทธ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้จัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560 -
2579) เป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” (กระทรวงศึกษาธิการ,2560)
ประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ที่สาคัญได้แก่ ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถใน
การแขง่ ขนั ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพคน ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอ
ภาคและเท่าเทียมกนั ทางสังคม ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
และยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ และสานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตไิ ด้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 -
2564)บนพื้นฐานของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี และเป้าหมายการพัฒนาทย่ี ่ังยืน (Sustainable development
Goals: SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการ
ปฏิรูปประเทศ รวมทั้งได้ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคีทุกภาคส่วน โดยยึดหลัก “ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 9-11 เพ่ือให้การพัฒนาในทุก
มติ มิ กี ารบรู ณาการบนทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมีระบบภูมิคุ้มกันท่ีดี สอดคล้องกับ
ภูมิสังคม การพัฒนาทกุ ด้านมีดลุ ยภาพ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม และระบบนิเวศน์ มีความสอดรับ เก้ือกูล และ
พ่ึงพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยการพัฒนา ในมิติหนึ่งต้องไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อมิติอื่นๆ รวมทั้งต้อง
มุ่งเน้นให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” สร้างความม่ันคงของชาติ พัฒนาคนทุกวัยให้เป็น คนดี คนเก่ง
มีศักยภาพ และความคิดสรา้ งสรรค์ ซง่ึ เป็นหัวใจสาคัญในการเพ่ิมศักยภาพการแข่งขันทั้งในภาคการผลิตและ
ภาคบริการเพอ่ื สรา้ งความเข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม มจี ติ สานกึ รบั ผิดชอบตอ่ ส่วนรวมนาไปสกู่ ารสร้างสังคม
ทพ่ี งึ ปรารถนา รวมถงึ มีจติ อนรุ กั ษ์ รกั ษา ฟ้นื ฟู และใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมอย่าง
ถกู ต้องและเหมาะสม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และได้ให้
ความสาคัญตอ่ การฟ้นื ฟพู ื้นฐานด้านความมั่นคง ท่ีเป็นปัจจัยสาคัญต่อต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์
บนพ้นื ฐาน ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และการเตรียมการรับมือ
กับภัยคุกคามข้ามชาติ ซ่ึงจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
โดยกาหนดไว้ในยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติ เพ่ือการพัฒนาประเทศสู่ความม่ันคงและยั่งยืน
ท่สี อดคลอ้ งกับยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคงยุทธศาสตร์ชาติที่มีเป้าหมายในการสร้างเสถียรภาพภายในประเทศ
และชว่ ยลดและปอ้ งกนั ภัยคกุ คามจากภายนอก รวมทั้งสร้างความเชื่อม่ันในกลุ่มประเทศอาเซียนและประชาคมโลก
ท่ีมีต่อประเทศไทย (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ,2560) นอกจากนี้รัฐบาล
ได้กาหนดวิธีการจัดทางบประมาณเพิ่มเติมในรูปแบบแผนบูรณาการด้านยุทธศาสตร์ และกาหนดการสร้าง



ความปรองดองและสมานฉันท์เป็นแผนบูรณาการตามยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงด้วย โดยมีกองอานวยการ
รักษาความมน่ั คงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) เปน็ เจ้าภาพหลักในการจดั ทาแผนงาน ติดตาม และรายงาน
ผลการดาเนนิ งานตามแผนบูรณาการเป็นรายไตรมาสและสิ้นสดุ โครงการ

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และ
บุคลากรทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-
2579) นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการท่ีมุ่งเน้นการเตรียมพร้อมรับ
การเปลี่ยนแปลงของโลกและประเทศในทุกมิติ และสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนไทย
ในอนาคตท่ีมีศกั ยภาพในการรว่ มกนั พฒั นาประเทศสามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต มีความ
พร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีทักษะวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
มจี ติ สานึกวฒั นธรรมท่ดี งี าม รคู้ ุณคา่ ความเปน็ ไทย และมีความรบั ผดิ ชอบเปน็ รากฐานทมี่ ่นั คงของชุมชน สังคม
รักชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์ สาหรับสถานการณ์ความมั่นคงของชาติในปัจจุบันเป็นความจาเป็นท่ี
ทกุ ภาคสว่ นจะตอ้ งรว่ มมือในการปอ้ งกันและแกไ้ ขเพ่ือลดความขัดแย้งของคนในชาติ รวมทงั้ เพื่อเตรียม ความ
พรอ้ มใหผ้ บู้ ริหาร ครู บคุ ลากร ในการพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รียนมภี ูมิค้มุ กนั ตอ่ การเปล่ียนแปลง มีความรัก ความ
สามัคคี ปรองดองสมานฉันท์อันเป็นรากฐานสาคัญในการสร้างความม่ันคงของชุมชน สังคมให้กับคนไทยใน
อนาคต สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทาและเสนอของบประมาณโครงการฝึกอบรมผู้บริหาร
การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือขับเคล่ือนการสร้างความปรองดองและสมา นฉันท์ลงสู่การปฏิบัติ
ในพน้ื ท่กี ลมุ่ จังหวดั ตามแผนบรู ณาการสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
โดยการดาเนินงานโครงการมุ่งเน้นให้หน่วยงานและสถานศึกษาทุกสังกัดทั้งในและนอกกระทรวงศึกษาธิการ
ได้ร่วมคิด ร่วมทา ร่วมรับผิดชอบในการปฏิบัติงานการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์อย่างบูรณาการ
ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดเพ่ือขับเคล่ือนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ ให้สอดคล้องเหมาะสมกับสภาพ
ความจรงิ ในแตล่ ะพื้นทีก่ ลมุ่ จังหวดั และมอบหมายให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
เป็นหน่วยงานหลักในการดาเนินการจัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร และร่วมกับสานักงาน
ศึกษาธิการภาคดาเนินการจัดฝึกอบรมและขับเคล่ือนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติ
ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดด้วยการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์” ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด
และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นการดาเนินงานท่ีต่อเน่ืองจากปีที่ผ่านมา ด้วยการให้ผู้ผ่านการฝึกอบรม
นาผลงานท่ีเกิดจากการนาความรู้ “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์”โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและศาสตร์พระราชาไปเช่อื มโยงประยกุ ต์ใช้ในหน่วยงานและสถานศึกษามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
และเติมเต็มศักยภาพให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วยการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”
เพ่ือนาความรู้“การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์”โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์
พระราชาไปขยายผลสู่ประชาชนต่อไป จากที่กล่าวมาข้างต้น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง
การศกึ ษาจึงจัดทาหลักสตู รและคูม่ อื การฝึกอบรม หลักสตู ร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยน
เรียนรูก้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพืน้ ที่กลมุ่ จงั หวัด ขึ้น

2.วตั ถปุ ระสงคข์ องคู่มอื การฝึกอบรม
1.เพอื่ ใหว้ ิทยากร และผรู้ บั ผดิ ชอบการจัดฝกึ อบรมใชเ้ ป็นแนวทางการดาเนนิ การจดั ฝึกอบรม

หลกั สูตร “เทคนคิ การเป็นวทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู ารสร้างความปรองดองและสมานฉันท์
ในพนื้ ทก่ี ลุ่มจงั หวัด

2. เพ่อื ให้ผรู้ บั ผิดชอบการจัดฝึกอบรมใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู สารสนเทศของ
โครงการและจดั ทารายงานผลการดาเนนิ งานกจิ กรรม/โครงการ



3. ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน

โครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือขับเคล่ือนการสร้างความ
ปรองดองและสมานฉนั ท์ลงสู่การปฏิบัติในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด เป็นโครงการต่อเนื่องจากการดาเนินงานในปีที่ผ่านมา
โดยสถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา เป็นหนว่ ยหลักและร่วมมอื กับสานักงานศึกษาธิการภาค
ดาเนินการจัดฝึกอบรมเพ่ือขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ให้ขยายผลสู่ประชาชนในพื้นที่
กลุม่ จังหวัด มีข้นั ตอนการดาเนนิ การ 3 ข้ันตอน ดังนี้

ขัน้ การสรา้ งและพฒั นาหลกั สตู ร“เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยน

เรียนร้กู ารสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพน้ื ท่กี ลมุ่ จังหวัด

สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการจัดทา
หลกั สตู รและคู่มือการฝกึ อบรมหลกั สตู ร “เทคนคิ การเปน็ วทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้าง

ความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด สาหรับให้หน่วยดาเนินการจัดฝึกอบรมนาไปใช้เป็น

แนวทางการจดั ฝึกอบรมในพื้นทก่ี ลมุ่ จังหวดั ใหเ้ ป็นแนวเดียวกัน โดยดาเนนิ การดงั นี้

1. ศึกษาความต้องการจาเป็นในการจัดทาหลักสูตร โดยการเตรียมข้อมูลท่ีจาเป็น ได้แก่
ผลการดาเนินงานโครงการในปีท่ีผ่านมา และศึกษาความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการโดยการติดตามผล
ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์” ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผ่าน
ระบบออนไลน์ จานวน 4 กลุ่มจังหวัดที่สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
เป็นผู้ดาเนินการจัดฝึกอบรม เพ่ือสรุปเป็นข้อมูลความต้องการในการจัดทาหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากร

แกนนา” และการแลกเปลีย่ นเรียนรู้การสรา้ งความปรองดองและสมานฉันทใ์ นพ้ืนที่กลมุ่ จังหวัด

2. ประสานคณะทางานและจัดประชุมคณะทางานจัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร
“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา” และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่ม

จงั หวัด ระหว่างวันที่ 18 - 19 มกราคม 2561 ณ ห้องประชมุ Cockpit อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ สถาบันพัฒนาครู

คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนผู้รับบริการ ประกอบด้วย ผู้บริหาร
การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาที่ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “ การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์”
จากทุกสังกัด และผู้แทนผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย ผู้แทนจากกองอานายการรักษาความม่ันคงภายใน
ราชอาณาจักร (กอ.รมน.) และผู้รับผิดชอบโครงการจัดฝึกอบรมจากสานักงานศึกษาธิการภาค และได้รับเกียรติ
จาก ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นักรบ ระวังการณ์ หัวหน้าภาควิชาศกึ ษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลยั มหดิ ล เป็นวิทยากรให้ความรู้ และคาปรึกษาแนะนาในการจัดทาหลกั สูตร

3. จัดประชุมพิจารณาหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้

การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัดให้มีความถูกต้อง ครอบคลุม และเหมาะสมกับ

ระยะเวลาในการดาเนินการจัดฝึกอบรม จานวน 12 ชั่วโมง เมื่อวันท่ี 26 มกราคม 2561 ณ ห้องประชุม

Cockpit อาคารเฉลิมพระเกยี รติ สถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
4. จัดทารูปเล่มคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด สาหรับนาไปใช้ในการประชุม

ชีแ้ จงแนวทางการจัดฝกึ อบรมหลกั สตู ร “เทคนิคการเป็นวทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้าง

ความปรองดองและสมานฉันทใ์ นพื้นทก่ี ลุ่มจังหวดั



5. ประสานและจัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากร

แกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ให้กับผู้รับผิดชอบ

โครงการจากสานักงานศึกษาธิการภาค รวมท้ังสรุปแนวทางในการจัดฝึกอบรมในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดให้เป็นไป
ในแนวทางเดียวกัน รวมท้งั จดั ทาปฏิทินการดาเนินงานโครงการและรายงานผลการดาเนินงานโครงการร่วมกัน

6. จัดทาทาเนียบผู้บริหารโครงการ สาหรับใช้ในการติดต่อสื่อสารสร้างความเข้าใจร่วมกัน
ไดอ้ ย่างชดั เจน รวดเรว็ ดว้ ยชอ่ งทางท่ีหลากหลาย

ข้นั การขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉนั ทล์ งสู่การปฏิบตั ิในพน้ื ท่กี ลุ่มจงั หวัด
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับสานักงานศึกษาธิการภาค
ดาเนินการจดั ฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉนั ท์ในพืน้ ท่ีกล่มุ จงั หวัด ดงั น้ี

1. สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา แจ้งโอนงบประมาณโครงการฝึกอบรม
ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือขับเคล่ือนการสร้างความปรองดองและสมานฉัน ท์ลงสู่
การปฏิบัติในพ้นื ทีก่ ลมุ่ จงั หวัด” ให้สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค รุน่ ละ 155,000 บาท

2. หน่วยดาเนินการจัดฝึกอบรมวางแผนการบริหารการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดท่ีรับผิดชอบ

ได้แก่ ประสานกลุ่มเป้าหมายการฝึกอบรม (ผู้ผ่านการฝึกอบรมในปีท่ีผ่านมา) ให้จัดเตรียมผลงานการสร้างความ

ปรองดองและสมานฉันท์ของหน่วยงานและสถานศึกษามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน จัดเตรียมเอกสารสาหรับใช้

ในการจัดฝึกอบรม จัดเตรียมส่ือ วัสดุ อุปกรณ์ในการจัดนิทรรศการ “ผลงานการสร้างความปรองดองและ

สมานฉันท์ของหน่วยงานและสถานศึกษา” ประสานสถานที่ฝึกอบรมที่มีความพร้อม ได้แก่ ห้องประชุมมีขนาด

เหมาะสมกบั การจดั ฝึกอบรมและจดั มมุ นิทรรศการ มรี ะบบสญั ญาณอินเตอร์เน็ตไร้สายใหบ้ ริการ เป็นต้น
3. สานกั งานศึกษาธิการภาคจดั สง่ รายช่ือผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมให้สถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์

และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือดาเนินการจัดทาวุฒิบัตรผู้ผ่านการฝึกอบรม และจัดส่งรายช่ือหน่วยงานและ
สถานศึกษาของผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาผลงานมาแลกเปล่ียนเรียนรู้พร้อมส่งสาระสาคัญของผลงานตามแบบ
ที่กาหนดให้สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อดาเนินการจัดทาเกียรติบัตรเพื่อเป็น
ขวญั และกาลงั ใจให้กับหนว่ ยงานและสถานศึกษา

4. ดาเนนิ การจัดฝกึ อบรมผูบ้ ริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือขับเคล่ือนการสร้าง
ความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด : หลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”

และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด รวมทั้งวัดและประเมินผล

การฝกึ อบรมตามเกณฑท์ ี่หลักสตู รกาหนดไว้
5. สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ดาเนินการติดตามผล ให้คาปรึกษา

แนะนาในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา” และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความ

ปรองดองและสมานฉนั ท์ในพน้ื ท่ีกลุ่มจังหวดั

6. สานักงานศกึ ษาธิการภาคจัดทารายงานผลการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากร

แกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดและส่งให้สถาบัน

พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา



ขน้ั การสรปุ ผลและแลกเปล่ียนเรียนรู้ ในการขบั เคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์
สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดทารายงานผล
การดาเนินงานโครงการฝึกอบรมผู้บรหิ ารการศกึ ษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การสร้าง
ความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติในพื้นที่กลุ่มจังหวัด เพื่อรายงานผลการดาเนินงานให้หน่วยงาน
ท่เี ก่ยี วข้องรับทราบ และประชาสัมพันธ์ให้สาธารณะชนรบั ทราบ จงึ ดาเนนิ การ ดังน้ี
1. ผูร้ บั ผิดชอบโครงการของสานกั งานศึกษาธกิ ารภาคจดั เตรียมผลการดาเนนิ งาน ปัญหา อุปสรรค
ในการดาเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความ

ปรองดองและสมานฉันท์ในพืน้ ทีก่ ลมุ่ จังหวัด สาหรบั นามาแลกเปลยี่ นเรียนรรู้ ่วมกัน

2. สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จัดประชุมสรุปผลและแลกเปล่ียน
เรียนรู้การจดั ฝกึ อบรมหลักสูตร “เทคนคิ การเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉนั ท์ในพ้นื ท่ีกลุ่มจังหวดั โดยเชิญ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้รับผิดชอบโครงการของสานักงานศึกษาธิการภาค และ

บคุ ลากรของสถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา มาแลกเปล่ียนเรียนรู้ผลการดาเนินงาน ปัญหา
อุ ปสรรคในการด าเนิ นงานและสรุ ปองค์ ความรู้ การฝึ กอบรมและขั บเ คลื่ อนยุ ทธศาสตร์ ส าหรั บน าไปใช้
ในการปฏบิ ตั งิ านในโอกาสตอ่ ไประหวา่ งเดอื นสงิ หาคม – กนั ยายน 2561

3. สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาจัดทารายงานผลการดาเนินงาน
โครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษ าและผู้บริหารสถานศึก ษาเพ่ือขับเคล่ื อนการสร้างความปรองดองและ
สมานฉนั ท์ลงส่กู ารปฏิบัติในพน้ื ท่ีกลุ่มจังหวดั ให้แล้วเสร็จภายในเดอื นกนั ยายน 2561

4. รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพ่ือ
ขบั เคลอ่ื นการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติในพื้นที่กลุ่มจังหวัดให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และประชาสมั พนั ธใ์ หส้ าธารณะชนรบั ทราบทางเวบ็ ไซตข์ องสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา

5. จัดเก็บข้อมูลสนับสนุนการดาเนินงานและผลการดาเนินงานของโครงการฝึกอบรมผู้บริหาร
การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติ
ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด สาหรับนาใช้ประโยชน์ในการวางแผนการดาเนินงานการฝึกอบรมเพ่ือขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
ในโอกาสตอ่ ไป

4. ระยะเวลาการดาเนนิ งาน
- จัดประชุมคณะทางานจัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”

และการแลกเปลย่ี นเรียนรกู้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดระหว่าง วันที่ 18 -19 มกราคม

2561
- จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพ้นื ทกี่ ลุ่มจงั หวัด วนั ที่ 27 - 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2561

-จัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้าง

ความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้นื ทีก่ ลมุ่ จงั หวดั เดอื น เมษายน - สิงหาคม 2561

- จดั ประชุมสรปุ ผลและแลกเปล่ียนเรียนรู้การจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกน

นา”และการแลกเปล่ยี นเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด ระหว่างเดือนสิงหาคม – กันยายน

2561



5. บทบาทของบคุ ลากรทเี่ กีย่ วข้องกับการดาเนินการฝึกอบรมและขบั เคลื่อนการสรา้ งความปรองดองและ
สมานฉันท์ลงสู่การปฏิบตั ิในพืน้ ทกี่ ลมุ่ จงั หวัด

1. บทบาทผ้บู รหิ ารโครงการของสถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา
1.1 ศึกษารายข้ันตอนการดาเนินงานโครงการ วิเคราะห์ความเส่ียงตามมิติธรรมาภิบาล

10 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ หลกั ประสทิ ธผิ ล หลกั ประสิทธิภาพ หลกั การมีส่วนร่วม หลักความโปร่งใส หลักการ
ตอบสนอง หลักภาระรับผิดชอบ หลักนิติธรรม หลักการกระจายอานาจ หลักความเสมอภาค และหลักการ
มุ่งเน้นฉนั ทามติ ประเมินความเสย่ี งและวเิ คราะห์กลยุทธท์ ใ่ี ช้ในการจดั การกับแต่ละความเส่ียง จัดทาแนวทาง
การบริหารความเสย่ี งของโครงการ ตลอดจนจัดทากจิ กรรมตามแนวทางการบริหารความเส่ียง สาหรับนาไปใช้
ในการวางแผนการดาเนนิ งานโครงการร่วมกนั ระหวา่ งสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
กบั สานักงานศึกษาธกิ ารภาคเพ่อื ใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านโครงการบรรลุผลตามตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของโครงการ
ท่ีไดจ้ ัดทาไวต้ ามแผนบูรณาการสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ท์

1.2 ศึกษาข้อมูลสาหรับใช้ในการวางแผนการดาเนินงานโครงการให้บรรลุผล
ตามเป้าหมาย เช่น ศึกษาความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสาหรับ
นาไปใช้ในการจัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรม ศึกษาแนวทางในการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับ
ผู้ผ่านการฝึกอบรมหลักสูตรการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์เม่ือปีที่ผ่านมาในการนาความ รู้ไป
บูรณาการในหน่วยงานและสถานศึกษา และนาผลงานการสร้างความปรองดองมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ในการเข้ารบั การฝกึ อบรมหลกั สตู ร“เทคนคิ การเปน็ วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉนั ท์ในพืน้ ที่กลุ่มจงั หวดั

1.3 ประสานงานกบั สานกั งานศกึ ษาธิการภาคเพือ่ แจ้งรายละเอยี ดข้ันตอนการปฏิบัติงาน
และงบประมาณสนับสนุนการจัดกิจกรรมการฝึกอบรมตามโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหาร
สถา น ศึ ก ษา เพื่ อ ขับ เคล่ื อ น ยุทธ ศา สตร์ ก า ร สร้ าง คว า มป ร อ ง ดอ ง แล ะ ส มาน ฉัน ท์ ลง สู่ ก าร ป ฏิบั ติ ใน พ้ื น ท่ี
กลุ่มจังหวดั

1.4 จัดประชุมคณะทางานจัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด โดยเชิญ

ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ตัวแทนของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี เปน็ คณะทางาน
1.5 จัดทารูปเล่มหลักสตู รและคู่มือการฝึกอบรมหลกั สูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และ

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด สาหรับใช้ในการประชุมชี้แจง

แนวทางการจัดฝกึ อบรมหลกั สตู ร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉันท์ในพืน้ ที่กลุม่ จงั หวัด

1.6 จัดประชุมเพ่ือช้ีแจงแนวทางการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากร

แกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดให้กับผู้รับผิดชอบ

โครงการของสานกั งานศึกษาธิการภาค
1.7 แจ้งโอนเงินงบประมาณสาหรับจัดกิจกรรมการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดให้สานักงาน

ศกึ ษาธกิ ารภาค รนุ่ ละ 155,000 บาท



1.8 ดาเนินการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้

การสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดในส่วนที่สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง

การศึกษาดาเนนิ การจัดฝกึ อบรมเมอื่ ปที ่ีผา่ นมาจานวน 4 กลุ่มจังหวัด
1.9 สื่อสารสร้างความเข้าใจในการเตรียมความพร้อมการจัดฝึกอบรมและแลกเปลี่ยน

เรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์กับผู้บริหารโครงการของสานักงานศึกษาธิการภาค เช่น การ
ลงทะเบียนประวัติผู้เข้ารับการฝึกอบรมทางเว็บไซต์ของสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง
การศึกษา การประสานสถานที่จัดฝึกอบรมท่ีมีความเหมาะสมกับการจัดฝึกอบรมและจัดมุมนิทรรศการ
รวมทง้ั การประสานกบั วิทยากร เปน็ ต้น

1.10 ให้คาปรึกษาแนะนาและแก้ปัญหาท่ีอาจจะเกิดข้ึนในการดาเนินงานโครงการ
ร่วมกันกับสานกั งานศึกษาธกิ ารภาค

1.11 ติดตามผลการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการ

แลกเปลย่ี นเรียนรูก้ ารสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์ของหน่วยงาน/สถานศกึ ษาในพ้นื ทีก่ ล่มุ จงั หวดั

1.12 จัดประชุมสรุปผลและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดให้กับผู้บริหาร

โครงการของสานักงานศึกษาธิการภาค
1.13 จดั ทารายงานผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหาร

สถานศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติในพ้ืน ที่กลุ่มจังหวัด

สาหรับรายงานผลใหผ้ ูบ้ ริหารรับทราบ และประชาสมั พนั ธ์ให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งและสาธารณชนรบั ทราบ
1.14 จัดทารายงานผลการปฏิบัติงานโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหาร

สถานศกึ ษาเพื่อขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดเสนอต่อ

สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และกองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.)
หน่วยงานเจ้าภาพหลักของแผนบูรราการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ เป็นรายไตรมาสและสิ้ น
ปีงบประมาณ

1.15จั ด ท า ฐ า น ข้ อ มู ล / ข้ อ มู ล ส นั บ ส นุ น ก า ร ด า เ นิ น ง า น โ ค ร ง ก า ร เ พ่ื อ เ ผ ย แ พ ร่
ประชาสมั พนั ธท์ างเว็บไซต์ของสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา

2. บทบาทผบู้ ริหารโครงการของสานักงานศึกษาธิการภาค
2.1 ศึกษาและทาความเข้าใจในรายละเอียดขั้นตอนของโครงการฝึกอบรมผู้บริหาร

การศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อขับเคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงสู่การปฏิบัติ

ในพนื้ ท่ีกล่มุ จงั หวดั

2.2 เข้าร่วมประชุมการช้ีแจงแนวทางการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากร

แกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนร้กู ารสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพน้ื ท่กี ลุ่มจังหวดั

2.3 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเพ่ือแจ้งกาหนดการ
จดั ฝกึ อบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์

ในพ้ืนทกี่ ลุม่ จังหวดั ใหก้ ับผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษาท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “การสร้าง
ความปรองดองและสมานฉันท์”เมื่อปที ี่ผา่ นมา



2.4 จัดเตรียมความพร้อมในการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และ

การแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ได้แก่ ประสานสถานท่ีจัดฝึกอบรม

ที่เหมาะสมในการจัดฝึกอบรมและจัดมุมนิทรรศการผลงานการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ ประสานผู้เข้ารับ

การฝกึ อบรมลงทะเบยี นประวัติผู้เข้ารับการฝกึ อบรมทางเวบ็ ไซต์ของสถาบันพฒั นาครู คณาจารย์ และบุคลากร
ทางการศกึ ษา จดั เตรยี มเอกสารประกอบการฝึกอบรมและเครอื่ งมือวดั ผลและประเมินผล เป็นตน้

2.5 ดาเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียน

เรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัดตามท่ีหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรม

กาหนดไว้ และจานวนกลุม่ เป้าหมายการอบรมตามเปา้ หมายท่กี าหนดไว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 50 คนต่อรนุ่
2.6 อานวยความสะดวกแก่วิทยากร ผู้เขา้ รบั การฝึกอบรมและผู้ที่เกี่ยวข้อง
2.7 ใหค้ าปรกึ ษา แนะนา และแก้ปัญหาทีอ่ าจจะเกดิ ขึ้นในระหวา่ งการฝึกอบรม
2.8 กากบั ควบคุมเวลาการเขา้ รับการฝึกอบรมของผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม
2.9 จัดเก็บข้อมูลการประเมินผลผู้เข้ารับการฝึกอบรม และการประเมินโครงการตาม

แบบที่กาหนดไว้ในคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้าง

ความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวัด รวมท้ังรวบรวมผลงานการสร้างความปรองดองและ

สมานฉันท์ที่ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรมนาเสนอ

2.10 วเิ คราะห์ข้อมูลและสรปุ ผลการประเมินผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมและประเมินโครงการ
2.11 จัดส่งรายงานผลการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัดให้ผู้บริหารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

รับทราบ ได้แก่ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในพ้ืนท่ี
กล่มุ จงั หวัด

2.12 เขา้ ร่วมประชมุ สรุปผลและแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ารจดั ฝกึ อบรมหลักสูตร “เทคนคิ การเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพน้ื ทีก่ ลมุ่ จังหวัด

3. บทบาทวทิ ยากร
3.1 ศึกษาหลักสูตรและทาความเข้าใจสาระของหน่วยการเรียนรู้ จัดเตรียมกิจกรรม

การจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นการเรยี นรแู้ บบ Active Learning ผสมกบั วธิ ี Group Dynamic
3.2 วางแผนการจดั กจิ กรรมร่วมกนั ในหน่วยการเรียนรู้ทมี่ ีวทิ ยากรเปน็ คณะ
3.3 ดาเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีเน้นการเรียนรู้แบบ Active Learning ผสมกับวิธี

Group Dynamic ตามเน้ือหาสาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดกิจกรรม และการวัดและประเมินผลการ
ฝึกอบรม

3.4 ให้คาปรกึ ษา แนะนากบั ผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรม
3.5 สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมในการปฏิบัติงานกลุ่มท่ีสะท้อนถึงเทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา
การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์
3.6 ประเมินผลผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม
3.7 ปฏบิ ัตงิ านอ่ืนๆตามความเหมาะสม



การฝึกอบรม 4.วทิ ยากรประจากลุ่ม (ถ้าม)ี
ในหลกั สูตร 4.1 ศึกษาหลกั สตู รและทาความเข้าใจสาระของหนว่ ยการเรียนรู้ใหช้ ดั เจน
4.2 ร่วมวางแผนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และอานวยความสะดวกให้แกว่ ทิ ยากร
4.3 ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาการจดั กจิ กรรมการฝึกอบรมให้กับผู้เขา้ รับการฝึกอบรม
4.4 ส่งเสริมการมสี ่วนร่วมและให้ขวัญกาลงั ใจในการปฏิบัติกิจกรรมการเรยี นรู้แก่ผู้เข้ารับ

4.5 รว่ มกบั วทิ ยากรหลักประเมินผลผู้เข้ารับการฝึกอบรมตามแบบประเมินท่ีกาหนดไว้

4.6 ปฏิบัติงานอน่ื ๆตามความเหมาะสม

5.แนวปฏบิ ัติของผู้เข้ารับการฝกึ อบรม
5.1 จดั เตรียมผลงานการนาความรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนา

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและศาสตร์พระราชาลงสู่การปฏบิ ัติ สาหรับนามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน

ในการเขา้ รับการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉันท์ในพนื้ ทีก่ ลมุ่ จงั หวัด

5.2 เข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหาร
สถานศกึ ษาเพ่ือขบั เคล่อื นการสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ลงสกู่ ารปฏิบัตใิ นพน้ื ที่กลุ่มจังหวัด : หลักสูตร
“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด

ตามระยะเวลาท่ีหลักสตู รกาหนดไว้คือ 2 วัน 12 ชวั่ โมงชว่ งเวลาประมาณเดือนเมษายน – สิงหาคม 2561
5.3 นาความรู้เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนาการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดย

น้อมนาและประยกุ ต์ใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและศาสตร์พระราชาไปขยายผลสู่ประชาชนในพน้ื ที่



ส่วนท่ี 2

หลักสูตร “เทคนคิ การเปน็ วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้นื ทีก่ ลมุ่ จงั หวัด

๑๐

หลักสูตร “เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้นื ทีก่ ลุ่มจังหวัด

1. หลกั การและเหตผุ ล

ประเทศไทยเผชิญกับการเปล่ียนแปลงของภัยคุกคามด้านความม่ันคงท่ีเป็นภัยคุกคาม
รูปแบบเดิมและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทาให้ปัญหาเกิดความซับซ้อนและมีแนวโน้มการเปล่ียนแปลงได้จาก
ความผันผวนด้านการเมือง การทหาร เศรษฐกิจ สังคมจิตวิทยา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงานและ
สิ่งแวดล้อม ทาใหต้ ้องเผชญิ กบั ความเส่ยี งทางดา้ นความมั่นคงภายในประเทศท่ีเพิ่มข้ึน โดยเฉพาะปัญหาความขัดแย้ง
ของคนในชาติ การขาดความสามัคคีท่ีกระทบต่อความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ จึงควรสร้างคุณค่าของ
พลเมอื งใหย้ ดึ มนั่ ในชาติ ศาสนาและพระมหากษัตรยิ ์ รวมท้ังการรู้รักสามัคคี สร้างความแข็งแกร่งของสังคมไทย
ให้มีภูมิคุ้มกนั ที่มั่นคง มีความรเู้ ท่าทันกระแสการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กดิ ขึ้น มีจิตสานกึ ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม รวมท้ัง
มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรมในการดาเนินการรักษาผลประโยชน์และดารงไว้
ซึ่งความม่นั คงของชาติสืบไป การบริหารประเทศของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) ได้ให้
ความสาคญั ในด้านความม่นั คง โดยกาหนดเป็นยุทธศาสตรด์ ้านความม่ันคงเป็นยทุ ธศาสตร์หนึ่งของยุทธศาสตร์
ชาติ 20ปี (พ.ศ. 2560-2579) ซ่ึงเป็นแผนหลักของการบริหารประเทศซ่ึงจัดทาตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 65 ที่กล่าวว่า “รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย
การพฒั นาประเทศอย่างยัง่ ยนื ตามหลกั ธรรมาภิบาลเพอื่ ใช้เป็นกรอบในการจัดทาแผนต่างๆ ให้สอดคล้องและ
บูรณาการกันเพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย” (แผนพัฒนาการศึกษาของสานักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564 ,6-7) และสานักงานคณะกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
มาเชื่อมโยงสู่การปฏิบัติเป็นแผนงาน/โครงการในช่วง 5 ปี โดยการมุ่งเตรียมความพร้อมและวางรากฐาน
ในการยกระดับประเทศไทยให้เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว มีความม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืนด้วยการพัฒนาตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกาหนดกรอบแนวคิดและหลักการในการวางแผนท่ีสาคัญ 4 ประการ
ไดแ้ ก่ (1) การนอ้ มนาและประยุกต์ใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (2) คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
อย่างมีส่วนร่วม (3) การสนับสนุนและส่งเสริมแนวคิดการปฏิรูปประเทศ และ (4) การพัฒนาสู่ความม่ันคง
มั่งคั่ง ยั่งยืน เพื่อให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ในการพัฒนา“คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมี
ส่วนร่วม” จะต้องใช้การศึกษาเป็นรากฐานท่ีสาคัญและเป็นเคร่ืองมือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน (สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ : 2559)

สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปน็ หนว่ ยงานที่มีภารกิจในการพัฒนาผู้บริหาร ครู และ
บคุ ลากรทางการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น การจัดทาแผนงาน/โครงการพัฒนาผู้บริหาร ครู และ
บุคลากรทางการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการจะต้องมีความเช่ือมโยง สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) และ
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ทีเ่ ป็นสาระสาคญั ทเ่ี ก่ียวข้องเพอื่ ฝึกอบรม พัฒนาผู้บริหาร ครู และบุคลากร
ทางการศึกษาให้มีความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของโลกและประเทศในทุกมิติโดยน้อมนา หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ แล้วนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีความพร้อม ท้ังกาย ใจ
สติปัญญา มีทักษะวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันต่อการเปล่ียนแปลง มีจิตสานึกวัฒนธรรมท่ีดีงาม รู้คุณค่า
ความเปน็ ไทย และมีความรับผิดชอบอันเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน
เพ่ือใหส้ งั คมอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมคี วามสุข ดงั นนั้ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 ได้มอบหมายให้สถาบันพัฒนาครู

๑๑

คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาดาเนินการ “โครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา
เพอื่ ขบั เคลื่อนการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ลงส่กู ารปฏิบัติในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด” ตามแผนบูรณาการ
สร้างความปรองดองและสมานฉันท์ โดยร่วมกับสานักงานศึกษาธิการภาคดาเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตร
“การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์” ในพื้นท่ี 18 กลมุ่ จงั หวดั และในปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 ได้รับ
งบประมาณดาเนินงานต่อเนื่องจากปีท่ีผ่านมา โดยกาหนดให้ผู้ผ่านการฝึกอบรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
นาผลงานที่เกิดจากการนาความรู้ “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและศาสตรพ์ ระราชา”ไปเชือ่ มโยงประยกุ ต์ใช้ในหน่วยงานและสถานศกึ ษามาแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ร่วมกัน
และจัดฝกึ อบรมเพ่อื เติมเตม็ ศกั ยภาพให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมด้วยหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา” สาหรับ
นาไปใช้เป็นเครื่องมือในการนาความรู้ “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและศาสตรพ์ ระราชา” ไปขยายผลสปู่ ระชาชนตอ่ ไป

จากสาระสาคัญท่ีกล่าวมาข้างต้น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา จึงได้
จัดทาหลักสูตรและคู่มือการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา และการแลกเปล่ียนเรียนรู้
การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัด ขึ้น สาหรับนาไปใช้ในการจัดฝึกอบรมในพ้ืนที่
กลุ่มจังหวดั ใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางเดียวกันอย่างมีประสทิ ธิภาพตอ่ ไป

2. วัตถุประสงค์ของหลกั สูตร
2.1 เพ่ือใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมมีทักษะการเป็นวิทยากรแกนนาในการสร้างความปรองดอง

และสมานฉันท์โดยนอ้ มนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและศาสตร์พระราชา
2.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาเสนอผลงานและแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความ

ปรองดองและสมานฉนั ท์โดยนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและศาสตรพ์ ระราชา
2.3 เพอื่ สร้างเครอื ข่ายวิทยากรแกนนาในการสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ท์โดยนอ้ มนา

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและศาสตรพ์ ระราชาในพืน้ ท่ีกลุ่มจงั หวัด

3.โครงสร้างของหลกั สตู ร
หลักสตู ร“เทคนคิ การเป็นวทิ ยากรแกนนา และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉันทใ์ นพืน้ ท่กี ลุ่มจงั หวดั ประกอบดว้ ย 6 สาระการเรยี นรู้ ดังน้ี
3.1 ศิลปะการพูด การนาเสนอ
3.2 เทคนิคการใชส้ ือ่
3.3 จติ วทิ ยาการเรียนรู้
3.4 การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้
3.5 การวัดและประเมนิ ผล
3.6 การสร้างเครอื ข่ายวทิ ยากรแกนนา

4. ระยะเวลาในการฝึกอบรม
หลักสูตร“เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้การสร้างความปรองดอง

และสมานฉันทใ์ นพน้ื ทก่ี ลุ่มจังหวัด ใชเ้ วลาในการฝึกอบรม จานวน 12 ช่ัวโมง ณ หนว่ ยจัดฝึกอบรม
5. แนวทางการฝึกอบรม

5.1 ศกึ ษาเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมศึกษาเรียนร้จู ากเอกสารประกอบการกอบรม
ท่ีหน่วยฝึกอบรมจัดทาให้และศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมจากแหล่งการเรียนรู้และเว็บไซต์ต่างๆเพื่อนาสาระสาคัญ
มาใชป้ ระโยชน์ในการฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารและแลกเปลยี่ นเรยี นรู้รว่ มกัน

๑๒

5.2 จัดกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนา
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและศาสตร์พระราชา”

หน่วยฝึกอบรมประสานผู้เข้ารับการฝึกอบรมซ่ึงเป็นผู้ผ่านการฝึกอบรมในปีที่ผ่านมา
ให้จัดเตรียมผลงานท่ีเกิดจากการนาความรู้ “การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา” ไปเช่ือมโยงประยุกต์ใช้ในหน่วยงานและสถานศึกษามาแลกเปล่ียน
เรียนรู้รว่ มกัน

5.3 จัดนิทรรศการแสดงผลงาน “การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์โดยน้อมนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงและศาสตร์พระราชา” ของผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรม

ผู้เข้ารับการฝึกอบรมจัดส่งผลงาน“การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา”ให้หน่วยจัดฝึกอบรมสาหรับนาไปใช้ในการจัดแสดง
นิทรรศการผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรรู้ ว่ มกนั

5.4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิทยากรจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning ผสมกับวิธี Group Dynamic

6. ส่ือ/อปุ กรณ์ทีใ่ ชใ้ นการฝกึ อบรม
6.1 เอกสารประกอบการฝึกอบรม
6.2 Slideware ได้แก่ PowerPoint วีดีทัศน์ หรือโปรแกรมต่างๆ สาหรับใช้ประกอบการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้
6.3 แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิ ใบงาน ใบกจิ กรรม
6.4 นทิ รรศการผลงานการสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ทข์ องผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรม
6.5 วสั ดุฝึกอบรม

7. การประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการฝึกอบรม โดยประเมนิ จาก
7.1 ผลงานกลมุ่
7.2 พฤติกรรมการมสี ่วนรว่ ม
7.3 ผลงาน (วทิ ยากรแกนนา)
7.4 ระยะเวลาการเข้ารบั การฝกึ อบรม

8. เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการฝึกอบรม
ผผู้ า่ นการฝึกอบรมจะตอ้ งมคี ะแนนการประเมนิ ตามเกณฑ์ทกี่ าหนด ดงั น้ี
1. คะแนนการประเมินผลงานกล่มุ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80
2. คะแนนการประเมนิ พฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. คะแนนประเมินผลงานวิทยากรแกนนา ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
4. ระยะเวลาการเขา้ รบั การฝึกอบรม ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

9. กลมุ่ เป้าหมายในการฝกึ อบรม
- ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาท่ีผ่านการฝึกอบรมหลักสูตร “ การสร้างความปรองดองและ

สมานฉันท์” ในพ้ืนที่ 18 กลุม่ จงั หวัด และกรุงเทพมหานคร ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 หรอื ผูแ้ ทน จานวนรนุ่ ละ 50 คน

10. ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ ับ

๑๓

10.1. ผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถนาความรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อขับเคล่ือน
การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนาและประยุกต์ใช้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและ

ศาสตรพ์ ระราชาขยายผลสู่ประชาชนในพืน้ ท่ี
10.2. หน่วยงานและสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเป็นเครือข่าย“การสร้างความปรองดอง

และสมานฉนั ท์” ในพนื้ ที่กลุ่มจงั หวัด
10.3. ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการกับผู้ผ่านการฝึกอบรมสามารถรับรู้และเข้าใจการสร้างความ

ปรองดองและสมานฉันทโ์ ดยนอ้ มนาและประยุกตใ์ ช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและศาสตรพ์ ระราชา

10.4.ประชาชนมคี วามรัก ความสามคั คี มีภูมิคุ้มกันในการแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในสังคมและ
นาประเทศไทยสู่ความเป็นประเทศทม่ี ั่นคง มง่ั คัง่ ย่ังยนื ได้ในทีส่ ดุ

11. กาหนดการฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้าง
ความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่กลุ่มจังหวดั จานวน 12 ชัว่ โมง

วันท่ี 1 ของการฝกึ อบรม ปฐมบทการเป็นวทิ ยากรแกนนา
09.00 - 12.00 น.
พักรับประทานอาหารกลางวัน
12.00 - 13.00 น. บทปฏบิ ตั ิการเพ่ือการพูดและการนาเสนอ
13.00 - 16.00 น. พกั รับประทานอาหารเยน็
17.00 - 18.00 น. บทปฏิบัตกิ ารสร้างเครือขา่ ยวิทยากรแกนนา

18.00 - 21.00 น.

วนั ที่ 2 ของการฝกึ อบรม บทปฏบิ ตั กิ าร แนวทางการเปน็ วิทยากรปรองดองและสมานฉนั ท์ : จาก
09.00 - 12.00 น. ความรู้สู่การปฏิบตั ิ

12.00 - 13.00 น. พักรบั ประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 14 .30 น. สรุป ประเมินผลโครงการ และปิดการฝึกอบรม

หมายเหตุ กาหนดการน้ีอาจเปลย่ี นแปลงได้ตามความเหมาะสม
เวลา 10.30 -10.45 น. และ เวลา 14.30 -14.45 น. พักรบั ประทานอาหารวา่ งและเครอ่ื งดม่ื

๑๔

สว่ นที่ 3
การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม
หลักสตู ร “เทคนคิ การเปน็ วทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพนื้ ทกี่ ลมุ่ จังหวดั

๑๕

การประเมนิ ผลการฝกึ อบรมหลักสูตร“เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”

และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพนื้ ทก่ี ลมุ่ จงั หวัด

1.แนวทางการประเมนิ ผลการฝึกอบรม
การประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวทิ ยากรแกนนา”และการแลกเปลย่ี น

เรยี นรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพืน้ ท่ีกลุ่มจงั หวัด แบง่ การประเมินเปน็ 2 แนวทาง ดงั น้ี

1. การประเมนิ ผลสมั ฤทธิข์ องผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ประกอบดว้ ยการประเมนิ ดงั น้ี
1.1 การประเมนิ ระยะเวลาการเข้ารับการฝึกอบรม เปน็ การประเมนิ โดยผูบ้ รหิ ารโครงการ

หรอื วทิ ยากรประจากลมุ่ ตรวจสอบระยะเวลาการเขา้ รับการฝกึ อบรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมตลอดหลักสูตร
(12 ชัว่ โมง) จานวน 10 คะแนน โดยเกณฑ์การใหค้ ะแนนร้อยละ 10 ต่อ 1 คะแนน

1.2 การประเมินผลงานกลุ่ม เป็นการประเมินโดยวิทยากร วิทยากรประจากลุ่ม ผู้บริหาร
โครงการตรวจสอบผลงานกลุ่มตามเกณฑ์ที่กาหนด 5 ประเด็น ประกอบด้วย ประเด็นที่ 1 เน้ือหาของผลงาน
ประเด็นที่ 2 การบูรณาการข้อมลู ประเด็นที่ 3 การมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม ประเด็นที่ 4 การนาเสนอ
ผลงาน และประเดน็ ท่ี 5 ประโยชนข์ องผลงาน ประเดน็ ละ 2 คะแนน รวม 10 คะแนน

1.3 การประเมินพฤติกรรมการมีส่วนร่วม เป็นการประเมินโดยวิทยากร วิทยากรประจากลุ่ม
ผบู้ รหิ ารโครงการ สงั เกตพฤติกรรมของผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม ตามเกณฑท์ ก่ี าหนด 5 ประเดน็ ประกอบด้วย ประเด็นท่ี 1
การเปน็ ผ้นู าและผู้ตาม ประเด็นที่ 2 ความตง้ั ใจ กระตือรือร้นในการฝึกอบรม ประเด็นท่ี 3 การยอมรับฟังความ
คิดเหน็ ประเดน็ ท่ี 4 การให้ความร่วมมือ ประเด็นที่ 5 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประเด็นละ 2 คะแนน รวม 10 คะแนน

1.4 การประเมินผลงาน (วิทยากรแกนนา) เป็นการประเมินโดยวิทยากร ตามเกณฑ์
ที่กาหนด 4 ประเดน็ ประกอบด้วย ประเด็นท่ี 1 มีศลิ ปะการพดู ที่เหมาะสมกับการทาหน้าท่ีวิทยาการแกนนา
ประเด็นที่ 2 ใช้ส่ือประกอบการนาเสนอได้เหมาะสม ประเด็นที่ 3 มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ ประเด็นที่ 4
มคี วามรับผิดชอบตอ่ งานท่ีได้รับมอบหมาย ตามเกณฑ์การให้คะแนน ระดับพอใช้ เท่ากับ 1 คะแนน ระดับดี เท่ากับ
2 คะแนน และระดับดีมาก เท่ากบั 3 คะแนน รวม 12 คะแนน

2. การประเมินโครงการ มีจานวน 2 ฉบับ ประกอบด้วย
2.1 การประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของวิทยากร เป็นการประเมินความคิดเห็น

ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของวิทยากร
เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เป็นข้อคาถามเก่ียวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และประโยชน์
ท่ไี ด้รับ จานวน 10 ข้อ คาถามปลายเปดิ สงิ่ ทพ่ี ึงพอใจวิทยากร ส่ิงทคี่ วรปรบั ปรงุ และขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เติม

2.2 การประเมินโครงการ เป็นการประเมินโดยสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมโดยใช้แบบสารวจความพึงพอใจต่อการให้บริการการจัดฝึกอบรมหลักสูตร “เทคนิคการเป็น

วิทยากรแกนนา”และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด

เป็นแบบมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ จานวน 4 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้รบั บริการ จานวน 5 ข้อ
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจการให้บริการ จานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านกระบวนการและ

ข้ันตอนการให้บริการ 5 ข้อ ด้านผู้บริหารโครงการ 8 ข้อ ด้านส่ิงอานวยความสะดวก 9 ข้อ ด้านคุณภาพ
การให้บรกิ าร 5 ขอ้ และดา้ นหลกั สตู รการพฒั นา 8 ขอ้ รวมจานวน 35 ข้อ

ตอนท่ี 3 ความไม่พึงพอใจการให้บรกิ ารด้านต่าง ๆ เป็นคาถามปลายเปิดจานวน 5 ข้อ
ตอนที่ 4 ความคาดหวังตอ่ การให้บริการ เปน็ คาถามปลายเปดิ จานวน 1 ขอ้

๑๖

2. เครื่องมือการวดั ผลและประเมินผลการฝกึ อบรม

1. แบบประเมินระยะเวลาเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”
และการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพน้ื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั

ที่ ช่อื – สกุล จานวนชั่วโมง คิดเป็นรอ้ ยละ ผลการประเมิน
ที่เข้ารับการฝึกอบรม

ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมนิ
(...........................................................)

วันที.่ ............เดือน..........................................พ.ศ. ..............

๑๗

2. แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม หลกั สตู ร“เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”และกา

กลุ่มที่...............
ชือ่ ผลงาน....................................................................................................

คาช้แี จง ใหผ้ ู้ประเมนิ สังเกต ตรวจสอบ และประเมนิ ผลงานกลุ่มตามเกณฑ

ที่ ชอ่ื – นามสกุล รายการป

เน้อื หาของ การบรู ณาการ การมีสว่

โครงการ ข้อมลู ของสมาช

1

2

3

4

18 5

6

7

8

9

10

๒๕

ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพน้ื ทกี่ ลุ่มจงั หวัด

.................
.................................................................................

ฑ์การใหค้ ะแนนทีก่ าหนด และใส่คะแนนในแต่ละรายการ

ประเมนิ ประโยชนข์ อง รวม ข้อคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ
โครงการ 10 คะแนน
วนรว่ ม การนาเสนอ
ชิกกลมุ่ ผลงาน

ลงชอื่ ...................................................ผ้ปู ระเมนิ
(...........................................................)

วันท่.ี ............เดอื น..........................................พ.ศ. ..............

เกณฑ์การให้คะแนนการประเมนิ ผลงานกลุ่ม “หลกั สูตรเทคนคิ การเปน็ วิทยากรแกนนา”

และการแลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพนื้ ทก่ี ลมุ่ จังหวัด

รายการประเมนิ 0 เกณฑก์ ารให้คะแนน 2
1

เนือ้ หา ไม่สอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง ยังขาดความชัดเจน มคี วามครบถว้ น สมบูรณ์
ในแตล่ ะหัวข้อท่ีกาหนด ในบางหวั ขอ้ ท่กี าหนด ตามหวั ขอ้ ท่ีกาหนด

การบรู ณาการข้อมลู ไมม่ ีขอ้ มลู ท่ีแสดงใหเ้ ห็น มขี ้อมลู การบูรณาการการ มขี ้อมูลการบรู ณาการ
ถงึ การบูรณาการการ สรา้ งความปรองดองและ การสร้างความปรองดอง
สร้างความปรองดอง สมานฉนั ทใ์ นพืน้ ที่บางส่วน และสมานฉนั ทเ์ ชอ่ื มโยงกัน
และสมานฉนั ท์ในพ้ืนที่ ในพ้ืนทีอ่ ยา่ งหลากหลาย

การมสี ่วนร่วม สมาชิกสว่ นใหญ่ไมม่ ี สมาชิกบางคนไม่มีสว่ นรว่ ม สมาชิกส่วนใหญม่ ีส่วนร่วม
ของสมาชกิ กลุ่ม ส่วนรว่ มในการแสดง ในการแสดงความคิดเห็น ในการแสดงความคิดเห็น
ความคิดเห็น

การนาเสนอผลงาน ไม่สอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง ยังขาดความชัดเจน มคี วามครบถ้วน สมบรู ณ์
ประโยชน์ของผลงาน กันในแตล่ ะหัวข้อ ในบางหัวข้อท่กี าหนด ตามหวั ข้อที่กาหนด
ทกี่ าหนด

ผลงานเปน็ ประโยชนต่อ ผลงานเปน็ ประโยชน์ ผลงานเป็นประโยชนต่อคน
คนบางกล่มุ ในหน่วยงาน ต่อคนส่วนใหญ่ในหนว่ ยงาน ส่วนใหญ่ในหน่วยงานหรอื
หรือสถานศึกษา หรอื สถานศึกษา สถานศกึ ษา รวมทั้งเกิด
ผลลพั ธ์ตอ่ ผปู้ กครองและ
ประชาชนในพ้นื ที่

1296

3. แบบประเมนิ ผลงาน (วทิ ยากรแกนนา) หลักสูตร “เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา”
และการแลกเปลยี่ นเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ทใ์ นพ้ืนท่กี ลุ่มจงั หวัด

ช่อื ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม........................................................................................................................

รายละเอียด ดีมาก ดี พอใช้

1. มีศิลปะการพูดที่เหมาะสมกับการทาหน้าท่วี ิทยาการแกนนา
2. ใช้สอื่ ประกอบการนาเสนอได้เหมาะสม
3. มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมการเรียนรู้
4. มีความรับผิดชอบตอ่ งานทไี่ ด้รบั มอบหมาย

ลงชอ่ื ...................................................ผู้ประเมิน
(...........................................................)

วันท่.ี ............เดือน.....................................พ.ศ. ..............

2207

4. แบบประเมนิ พฤตกิ รรมการมีส่วนร่วม หลักสูตร “เทค
กา

คาชแ้ี จง ให้ผู้ประเมินสังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรมตามเกณฑ์การใหค้

รายการ

การเปน็ กา

ท่ี ชอื่ – นามสกุล ผูน้ าและ ความตงั้ ใจ ยอมรับ

ผู้ตามท่ีดี กระตอื รือรน้ ควา

คิดเห

1

2

3

21 4

5

6

7

8

9

10

28

คนคิ การเป็นวทิ ยากรแกนนา” และการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้
ารสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์ในพื้นที่กล่มุ จงั หวัด
คะแนนทีก่ าหนด และใส่คะแนนในแต่ละรายการ

รประเมิน การแลก รวม 10 ข้อคดิ เหน็ เพม่ิ เติม
เปลี่ยน คะแนน
าร
บฟงั การให้ เรียนรู้
าม ความรว่ มมือ
ห็น

ลงชอื่ ...................................................ผู้ประเมนิ
(...........................................................)

วนั ท.่ี ............เดือน..........................................พ.ศ. ..............

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนพฤตกิ รรมการมสี ว่ นร่วม เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
รายการประเมนิ 12

0

การเปน็ ผนู้ าและผ้ตู าม ไม่แสดงพฤติกรรม แสดงพฤติกรรมการเป็น แสดงพฤติกรรมการเป็นผ้นู า
การเป็นผูน้ าและ
ความต้งั ใจ กระตือรอื รน้ ผตู้ ามทีด่ ี ผู้นาและเป็นผู้ตามท่ดี ี และผตู้ ามท่ดี อี ยา่ งสมา่ เสมอ
- เข้าหอ้ งอบรมไม่ตรง
การยอมรับฟัง เวลา เป็นบางครัง้
ความคิดเห็น - ไมส่ นใจในการรับฟัง
และร่วมกจิ กรรมของ - เข้าห้องอบรมตรงเวลา - เข้าหอ้ งอบรมก่อนเวลา
วทิ ยากร
เป็นบางครงั้ ทกุ ครัง้
ไมย่ อมรับฟังความ
คดิ เห็นของผอู้ ่ืน ไม่ให้ - สนใจในการรับฟัง และ - สนใจในการรับฟงั และ
โอกาสเพอื่ นแสดง
ความคิดเห็น ร่วมกจิ กรรมของ ร่วมกิจกรรมของวทิ ยากร

วิทยากรเปน็ บางครงั้ อย่างสมา่ เสมอ

ยอมรับฟังความคิดเห็น ยอมรบั ฟังความคดิ เห็นของ
ของผูอ้ ่นื ให้โอกาส ผู้อน่ื ดว้ ยความเตม็ ใจ
เพอื่ นแสดงความคิดเห็น ใหโ้ อกาสเพอื่ นแสดง
เป็นบางคร้ัง ความคดิ เห็นอยา่ งสม่าเสมอ

การใหค้ วามรว่ มมือ ไม่ให้ความรว่ มมอื ใหค้ วามร่วมมือในการทา ให้ความรว่ มมอื ในการทา
ในการทากจิ กรรมกลมุ่ กจิ กรรมกลุ่มเป็นบางคร้ัง กจิ กรรมกลุ่มอย่างสมา่ เสมอ

การแลกเปล่ียนเรียนรู้ ไม่แสดงความคิดเห็น แสดงความคดิ เห็นใน แสดงความคดิ เหน็ ในการ
ในการแลกเปล่ียน การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ แลกเปล่ียนเรยี นรู้ทีเ่ ป็น
เรยี นรูก้ ารทากิจกรรม การทากิจกรรมกลุม่ เป็น ประโยชนใ์ นการทากจิ กรรม
กลุ่ม บางคร้งั กลมุ่ อย่างสมา่ เสมอ

2292

แบบสรปุ คะแนนผลสมั ฤทธิ์ของผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม

ท่ี ชอื่ -สกลุ คะแนนการประเมิน รวม

เวลา พฤตกิ รรม ผลงานกลุ่ม ผลงาน

10 คะแนน 10 คะแนน 10 คะแนน 12 คะแนน

ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมนิ
(...........................................................)

วนั ท.่ี ............เดอื น..........................................พ.ศ. ..............

23
30

5. แบบสอบถามความคดิ เหน็ เก่ียวกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของวิทยากร
หลักสูตร “เทคนคิ การเป็นวิทยากรแกนนา” และการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้การสรา้ งความปรองดอง

และสมานฉนั ท์ในพ้ืนทกี่ ลุ่มจังหวดั

คาช้ีแจง โปรดแสดงความคิดเห็นโดยทาเคร่ืองหมาย () ลงในชอ่ งระดบั ความคิดเห็น

ระดับความคดิ เห็น

ข้อ ข้อความ/รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
ท่ีสดุ กลาง ทสี่ ดุ

เนอื้ หา

1 ความนา่ สนใจของเนือ้ หาสาระ

2 เนื้อหาสาระสอดคล้องกับหวั ขอ้ การบรรยาย

ระยะเวลา

3 เนื้อหาสาระกบั ระยะเวลา มคี วามเหมาะสม

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้

4 การสือ่ สารและนาเสนอเนอื้ หาสาระ มคี วามชัดเจน

5 การเช่ือมโยงเน้อื หาสาระกบั สถานการณ์จริง

6 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เข้ารับการฝึกอบรมมสี ่วนรว่ มในการ

แลกเปลย่ี นเรยี นรู้

7 การใชส้ ือ่ ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ มคี วามเหมาะสม

8 เอกสารประกอบการอบรม มีความชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย

ประโยชน์ท่ีไดร้ บั

9 เนื้อหาสาระสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัตงิ านได้

10 ภาพรวมในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในหลักสตู รนี้

11. สงิ่ ทที่ ่านพงึ พอใจวิทยากร
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
12. สงิ่ ทีท่ ่านเหน็ วา่ ควรปรับปรุง
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
13. ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ
………………………………………………………………………………………………………………….……………………….……………………
…………………………………………………………………………………………………………………..…………………………….……………

ขอขอบคุณในความร่วมมือ
สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา

2341

6. แบบสารวจความพงึ พอใจ ความไมพ่ ึงพอใจและความคาดหวังตอ่ การให้บริการ
หลกั สตู รเทคนคิ การเปน็ วิทยากรแกนนาและการแลกเปล่ียนเรยี นรู้
การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ทใ์ นพน้ื ทกี่ ลุ่มจงั หวัด
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

คาช้ีแจง

1. แบบสารวจนีม้ วี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ ศึกษาความพงึ พอใจ ไมพ่ งึ พอใจและความคาดหวงั ของผูร้ ับบริการท่มี ีต่อการ
ให้บริการการจัดฝึกอบรมหลักสูตร“เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา”และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและ

สมานฉันท์ในพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดของหน่วยดาเนินการฝึกอบรม ได้แก่ สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทาง

การศึกษา หรือสานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค สาหรับนาไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานและการให้บริการท่ีมี
คณุ ภาพตอ่ ไป

2. ผู้รับบริการ หมายถึง ผู้ที่มารับบริการจากสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา หรือ
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาคโดยตรง

3. แบบสอบถามนม้ี ี 4 ตอน ประกอบดว้ ย
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผรู้ ับบริการ
ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจการให้บริการด้านตา่ ง ๆ
ตอนท่ี 3 ความไม่พงึ พอใจการให้บรกิ ารดา้ นตา่ ง ๆ
ตอนท่ี 4 ความคาดหวังต่อการให้บริการ

ขอความอนุเคราะห์ทา่ นตอบแบบสารวจ โดยใส่เคร่อื งหมาย  ลงใน  หรือ  ตามความเป็นจริง

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของผรู้ ับบริการ

1. เพศ

 ชาย  หญงิ

2. อายุ  41-50 ปี  51 -60 ปี  มากกวา่ 60 ปี
 ตา่ กวา่ 30 - 30 ปี  31-40 ปี

3. ระดับการศกึ ษา
 ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี  ปรญิ ญาตรี  ปริญญาโท  ปรญิ ญาเอก

4. สังกดั  สพม.  สช.
 กระทรวงศึกษาธกิ าร
 สพป.  ศธภ./ศธจ.  สอศ.  อื่น ๆระบุ ................................

 กศน.

 นอกกระทรวงศึกษาธกิ าร ระบุ ......................................................

5. ประเภทผรู้ ับบริการ
 ผูบ้ ริหารสถานศึกษา  ผบู้ ริหารการศึกษา  ข้าราชการพลเรือน  ครู  อ่ืน ระบ.ุ .....................

2352

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจการใหบ้ ริการด้านตา่ งๆ

ท่านมีความพึงพอใจตอ่ การให้บรกิ ารดา้ นตา่ งๆอย่างไรบ้าง โปรดทาเครอื่ งหมาย  ในชอ่ งที่ตรงกับ

ความคิดเห็นของทา่ นมากท่ีสดุ

ระดบั ความคดิ เห็น

ขอ้ ขอ้ ความ/รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อย
ทส่ี ดุ กลาง ที่สดุ

1. ดา้ นกระบวนการและขน้ั ตอนการใหบ้ ริการ

1.1 การตดิ ต่อประสานงานระหว่างหน่วยดาเนินการฝึกอบรมกับ
ผูเ้ ข้ารับการอบรม มีการอธิบาย ชแ้ี จงอยา่ งชัดเจน

1.2 ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม

1.3 การดาเนินการฝกึ อบรมของหน่วยดาเนนิ การฝกึ อบรม
ถูกตอ้ ง ครบถว้ นตามทห่ี ลกั สตู รกาหนด

1.4 หนว่ ยดาเนนิ การฝกึ อบรมใหข้ ้อมลู ขา่ วสาร ข้อเสนอแนะ
ที่เป็นประโยชน์ต่อผ้เู ข้ารบั การอบรม

1.5 หน่วยดาเนินการฝึกอบรมให้บรกิ ารต่อผเู้ ข้ารับการอบรม
ด้วยความเสมอภาค

2. ด้านผู้บริหารโครงการ

2.1 การใหบ้ ริการมีความสภุ าพ เป็นมติ ร

2.2 การใหบ้ ริการดว้ ยความสะดวก รวดเร็ว

2.3 การดแู ลเอาใจใส่ กระตอื รือรน้ เตม็ ใจให้บริการ

2.4 การใหค้ าแนะนาหรือตอบขอ้ ซักถามได้เปน็ อย่างดี

2.5 การใหค้ าอธบิ ายและตอบขอ้ สงสยั ได้ตรงประเด็น

2.6 ความสามารถแกไ้ ขปัญหาอุปสรรคตามที่ได้รับการร้องเรียน

2.7 ปฏบิ ตั งิ านอย่างเปน็ กลาง ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ

2.8 ความรู้ ความสามารถเหมาะสมในการปฏบิ ัติงาน

3. ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก

3.1 ท่นี ัง่ สาหรับผู้มาใช้บริการพอเพียง

3.2 สถานทใี่ ห้บรกิ ารสะอาด เปน็ ระเบยี บ

3.3 หอ้ งพกั สะอาด

3.4 ห้องประชุมสะอาด และมีโสตทัศนปู กรณ์ทีเ่ หมาะสม

3.5 ห้องน้าสะอาด

3.6 อาหาร อาหารว่างและเครอ่ื งด่มื

3.7 ความชดั เจนของป้ายบอกทางและสถานทใ่ี หบ้ รกิ าร

3.8 เครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ตทีร่ วดเรว็ ครอบคลมุ ทกุ พ้ืนท่ี

3.9 จานวนเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ณ จุดบริการ มีความเพยี งพอ

3236

ระดับความคดิ เห็น

ข้อ ข้อความ/รายการ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย
ทสี่ ดุ กลาง ทส่ี ุด
4. ด้านคุณภาพของการให้บริการ
4.1 ข้นั ตอนการใหบ้ รกิ ารไม่ซบั ซอ้ น เขา้ ใจง่าย
4.2 มีตแู้ สดงความคิดเหน็ หรือรับแบบประเมนิ การบรกิ าร
4.3 ได้รบั บรกิ ารท่ีตรงตามความตอ้ งการ
4.4 ได้รบั บรกิ ารที่ครบถ้วน ถูกต้อง
4.5 มคี วามชัดเจนในการใหค้ าแนะนาทเ่ี ป็นประโยชน์
5. ด้านหลกั สูตรการฝึกอบรม
5.1 ความรู้ แนวคดิ ทกั ษะ ประสบการณใ์ หม่ ๆ

จากการฝกึ อบรม
5.2 เนือ้ หาสาระเป็นประโยชน์ตอ่ การปฏบิ ตั งิ าน
5.3 กจิ กรรมการฝกึ อบรมสอดคล้องกับเนอ้ื หาและ

วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร
5.4 สดั ส่วนการฝึกอบรมระหว่างภาคทฤษฏีกบั ภาคปฏิบตั ิ

มคี วามเหมาะสม
5.5 วิทยากรในภาพรวมมคี ณุ ภาพเหมาะสม
5.6 ส่ือและเอกสารประกอบการฝกึ อบรม มคี วามเหมาะสม
5.7 บรรยากาศเอ้ืออานวยต่อการเรยี นรู้
5.8 ทา่ นสามารถนาความรู้ที่ได้รบั จากการฝกึ อบรมไปใช้ใน

การปฏิบัติงาน

ตอนที่ 3 ความไมพ่ ึงพอใจการใหบ้ รกิ ารด้านต่างๆ
คาชี้แจง 1. โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงใน  ตามความคดิ เห็นของทา่ นตอ่ การให้บริการ

2. คาตอบทไ่ี ดร้ ับจะเป็นประโยชน์ต่อการปรบั ปรงุ การบรกิ ารให้ดยี ิ่งขึน้
3.1 ท่านมีความไม่พึงพอใจดา้ นกระบวนการ/ขน้ั ตอนการใหบ้ ริการหรือไม่

 ไมม่ ี
 มี (โปรดระบ)ุ ................................................................................................................................................
…..............................................................................................................................................................…................

ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรุง
.............................................……………………………………..…………………………………………………………………….…………
3.2 ท่านมีความไม่พงึ พอใจ ด้านผ้บู ริหารโครงการหรอื ไม่

 ไม่มี
 มี (โปรดระบ)ุ ......................................................................................................................................….......
….................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรุง.............................................………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….…….…............

3427

3.3 ทา่ นมคี วามไม่พึงพอใจด้านสิ่งอานวยความสะดวกหรือไม่
 ไม่มี
 มี (โปรดระบุ).....................................................................................................................................….......

….................................................................................................................................................................................
ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรุง

.............................................………………………………………………………………………………………………………….…............
3.4 ท่านมคี วามไม่พงึ พอใจด้านคณุ ภาพของการให้บริการหรือไม่

 ไมม่ ี
 มี (โปรดระบุ).........................................................................................................................….......
….................................................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะเพือ่ การปรับปรงุ
.............................................…………………………………………………………………………………………………………………….…
3.5 ท่านมคี วามไม่พึงพอใจด้านหลักสูตรการฝึกอบรมหรือไม่

 ไม่มี
 มี (โปรดระบ)ุ ....................................................................................................................................….......
….................................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ
.............................................………………………………………………………………………………………………………….……………
ตอนที่ 4 ความคาดหวงั ต่อการให้บริการ
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความรว่ มมือ
สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา

และสานกั งานศึกษาธิการภาค

3258

ส่วนท่ี 4
ขัน้ ตอนการลงทะเบียนประวตั กิ ารพัฒนา/ฝึกอบรม

3629

ขนั้ ตอนการลงทะเบียนประวตั ิการพฒั นา

3370

3381

3392

4303

4314

35
42

36
43

4347

ส่วนท่ี 5 แบบสอบถามขอ้ มูลผผู้ ่านการฝกึ อบรม
หลกั สตู ร "การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์"ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560

3485

แบบสอบถามข้อมูลผผู้ า่ นการฝกึ อบรม
หลกั สตู ร "การสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์"ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560

------------------------------------------------------------
คำชี้แจง

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ได้อนุมัติให้สถาบันพัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาดาเนินการโครงการฝึกอบรมผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา
เพื่อขับเคล่ือนการสรา้ งความปรองดองและสมานฉนั ท์ลงสู่การปฏิบัติในพื้นที่กลุ่มจังหวัดตามแผนบูรณาการสร้าง
ความปรองดองและสมานฉันท์ต่อเน่ืองจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยร่วมกับสานักงานศึกษาธิการภาค
ดาเนินการจัดฝึกอบรมหลักสูตร "เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา" และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสร้างความ
ปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัด ระยะเวลาการฝึกอบรม 2 วัน ดาเนินการประมาณช่วงเดือน
เมษายน – กรกฎาคม 2561

วิธีการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนาผลงาน “การสร้างการปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อม
นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชาไปบูรณาการเชื่อมโยงกับโครงการหรือกิจกรรม
ในหน่วยงานและสถานศึกษามาแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ร่วมกนั และเตมิ เต็มศักยภาพด้วยการฝึกอบรม "เทคนิคการเป็น
วทิ ยากรแกนนา"

รูปแบบการนาเสนอผลงานเป็น PowerPoint วีดีทัศน์ โปสเตอร์ จัดส่งให้หน่วยจัดฝึกอบรม
นามาจดั แสดงนทิ รรศการ

ท้ังนี้ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จะมอบ "เกียรติบัตร" ให้กับหน่วยงาน และ
สถานศกึ ษาทีน่ าผลงานการสร้างความปรองดองและสมานฉันทม์ าแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการฝึกอบรมหลักสูตร
"เทคนคิ การเป็นวิทยากรแกนนา" และการแลกเปล่ียนเรียนรู้การสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในพ้ืนที่
กลุ่มจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 โดยจัดส่งผลงานให้หน่วยดาเนินการจัดฝึกอบรมตาม
ระยะเวลาที่กาหนด

ในการน้ี สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และสานักงานศึกษาธิการภาค
มคี วามประสงค์สอบถามข้อมลู การนาความรู้ท่ีได้รับไปใช้ในการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ในหน่วยงาน
และสถานศึกษา สาหรับนาไปใช้ในการวางแผนการจัดฝึกอบรมหลักสูตร "เทคนิคการเป็นวิทยากรแกนนา" และ
การแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ารสร้างความปรองดองและสมานฉนั ท์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด โดยแบง่ ออกเป็น 3 สว่ น ดังนี้

สว่ นที่ 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป
ส่วนที่ 2 การนาความรู้จากการฝึกอบรมไปประยกุ ตใ์ ช้ และการเขา้ รว่ มกิจกรรม
ส่วนท่ี 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป

ช่ือ – นามสกุล ……………………………….........................ตาแหนง่ ……………………………..……………………………
สถานท่ีทางาน……………………………………………………………………………………………………………………….………..
เลขท่ี……………………ตาบล……………………………….อาเภอ……………………………จงั หวัด…………………………..…………
รหสั ไปรษณีย์……………………เบอรโ์ ทรศพั ท/์ มือถอื ..............................................………………………………………….
E-mail : …………………………………………………………………………………………………………………………………………..….

4369

ส่วนที่ 2 การนาความรู้การสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์โดยนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และศาสตร์พระราชาไปประยกุ ตใ์ ช้

1. ท่านนาความรู้จากการฝึกอบรมไปประยุกต์ใช้ในการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์โดยน้อมนา
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และศาสตร์พระราชาไปบูรณาการเชื่อมโยงกับโครงการในหน่วยงานและ
สถานศึกษาของท่านหรือไม่ อยา่ งไร

 นาไปประยกุ ต์ใช้ (โปรดตอบคาถามขอ้ 1 – 4) )

1) ช่ือโครงการหรือกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2) กลมุ่ เป้าหมายของโครงการหรือกิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
3) ช่วงเวลาดาเนนิ การของโครงการหรือกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
4) พืน้ ท่ดี าเนินการของโครงการหรือกจิ กรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

 ไมไ่ ดน้ าไปประยกุ ตใ์ ช้ เพราะ..........................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. ท่านสามารถเข้ารบั การฝึกอบรมและนาผลงานการสรา้ งความปรองดองและสมานฉันทม์ านาเสนอเพอ่ื

แลกเปลีย่ นเรียนรใู้ นการฝึกอบรมหลกั สูตร "เทคนิคการเปน็ วิทยากรแกนนา" และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การ
สร้างความปรองดองและสมานฉันทใ์ นพน้ื ท่กี ล่มุ จังหวดั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้หรือไม่

 เข้ารบั การฝึกอบรม โดย "ม"ี ผลงานมานาเสนอ (โปรดตอบรายละเอียดของผลงานในส่วนที่ 4)
 เขา้ รับการฝกึ อบรม โดย "ไม่ม"ี ผลงานมานาเสนอ
 เข้ารบั การฝกึ อบรมไมไ่ ด้ เพราะ..........................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………………
****ในกรณที ่ที ่านไม่สามารถเข้ารบั การฝกึ อบรมได้ ทางโครงการขอให้ทา่ นสง่ ชอื่ ผู้แทนเขา้ รับ
การฝกึ อบรม
ชอ่ื -นามสกลุ .....................................................................ตาแหนง่ ...............................................
สว่ นท่ี 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

40
47

ส่วนที่ 4 ผลงานการสรา้ งความปรองดองและสมานฉันท์โดยน้อมนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
และศาสตร์พระราชาในพืน้ ท่ีกลุม่ จงั หวดั

1. ชื่อหน่วยงานหรอื สถานศึกษา......................................................................................................................
2. ช่ือผนู้ าเสนอผลงาน......................................................................................................................................
3. ชื่อโครงการหรือกจิ กรรมทีด่ าเนนิ การ

.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
4. วตั ถุประสงคข์ องโครงการหรือกจิ กรรม
5. กลมุ่ เป้าหมายของโครงการหรือกิจกรรม
……..…………………………………………………………………………………………………………………………..…………………
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
6. ชว่ งเวลาดาเนินการของโครงการหรอื กจิ กรรม
……………………….……………………………………………………………………………………………………………………………
7. พนื้ ท่ดี าเนินการของโครงการหรอื กิจกรรม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
8. วิธดี าเนนิ การ
……..……………………………………………………………………………………………………………………………..………………
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
9. ผลสาเรจ็ ของโครงการหรอื กิจกรรม
…………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
10. ภาพประกอบกิจกรรม 3-5 ภาพ

4841

ภาคผนวก

4492

5403

4541


Click to View FlipBook Version