The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

16.รายงาน-บริษัท บี.ฟู้ด โปรดักส์ชัน จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wipawanee Raksaphakdee, 2023-07-14 01:49:39

16.รายงาน-บริษัท บี.ฟู้ด โปรดักส์ชัน จำกัด

16.รายงาน-บริษัท บี.ฟู้ด โปรดักส์ชัน จำกัด

รายงานการฝึกงานทางสัตวศาสตร์ 3 ฟาร์มไก่เนื้อวิหารแดงฟาร์ม 3 บริษัท อาหารเบทเทอร์ จ ากัด จัดท าโดย นางสาว วิภาวนี รักษาภักดี รหัสนักศึกษา 633030422-5 เสนอ ผศ.ดร. ยุพิน ผาสุข รศ.ดร. สจี กัณหาเรียง รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา AG173798 การฝึกงานทางสัตวศาสตร์ 3 ปีการศึกษา 2565


ค ำน ำ รำยงำนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรำยวิชำ AG173798 กำรฝึกงำนทำงสัตวศำสตร์ 3 (PRACTICUM IN ANIMAL SCINCE III) มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตนักศึกษำให้เป็นสัตวบำลที่ดีและ เป็นมืออำชีพเพื่อที่จะน ำควำมรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงำนหรือองค์กร และน ำควำมรู้ไปพัฒนำ กำรปศุสัตว์ต่อไป ซึ่งได้ไปฝึกงำนที่บริษัท อำหำรเบทเทอร์ จ ำกัด เป็นเวลำ 40 วัน ตั้งแต่ วันที่ 7 พฤษภำคม ถึง 16 มิถุนำยน 25656 ได้รับหน้ำที่ให้ท ำงำนเป็นประจ ำทุกวัน เช่น เช็คจ ำนวน ไก่ตำยและไก่คัด จดมิเตอร์น ้ำ กำรท ำบันทึกประจ ำวันพันธุ์ประวัติกลับแกลบ และอื่นๆ ขอขอบคุณบริษัท เบทำโกร ที่ให้โอกำสไปฝึกประสบกำรณ์ในครั้งนี้และขอขอบคุณอำจำรย์ ที่ปรึกษำ ผศ.ดร.ยุพิน ผำสุข ที่ให้ค ำแนะน ำ ค ำปรึกษำ ควำมช่วยเหลือและให้ก ำลังใจตลอดกำร ฝึกงำน จึงท ำให้กำรฝึกงำนประสบควำมส ำเร็จและผ่ำนไปได้ด้วยดี ผู้จัดท ำ วิภำวนี รักษำภักดี


สำรบัญ เรื่อง หน้ำ 1. บทน ำ 1.1 วัตถุประสงค์ของกำรฝึกปฏิบัติงำน 1.2 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรฝึกปฏิบัติงำน 1.3 ระยะเวลำกำรฝึกปฏิบัติงำน 2. ข้อมูลพื้นฐำนฟำร์ม 1 2 3. สำยพันธุ์ที่เลี้ยง 3 4. รำยละเอียดกำรปฏิบัติงำน 4.1 กำรเตรียมโรงเรือน 4.2 ระยะเวลำกำรเลี้ยงลูกไก่อำยุ 0 วัน 4.3 กิจวัตรประจ ำวัน 4.4 กำรท ำวัคซีน 5. กิจกรรมเพิ่มเติมภำยในฟำร์ม 6. สิ่งที่ได้เรียนรู้ 7. ปัญหำอุปสรรค และแนวทำงกำรแก้ไข 3 3 7 8 9 11 11 11


สำรบัญรูปภำพ เรื่อง หน้ำ รูปภำพที่ 1. ที่ตั้งฟำร์ม 2 รูปภำพที่ 2. แผนผังฟำร์ม 2 รูปภำพที่ 3 -4 ลูกไก่สำยพันธุ์ Cobb 3 รูปภำพที่ 5. โรงเรือนก่อนล้ำง 3 รูปภำพที่ 6. ใช้น ้ำล้ำงโฟมให้สะอำด 3 รูปภำพที่ 7. พ่นยำฆ่ำเชื้อภำยในโรงเรือน 4 รูปภำพที่ 8. พ่นยำฆ่ำเชื้อรอบโรงเรือน 4 รูปภำพที่ 9. กำรเก็บตัวอย่ำง 5 รูปภำพที่ 10. ชั่งน ้ำหนักแกลบ 5 รูปภำพที่ 11. กลับแกลบ 6 รูปภำพที่ 12. พ่นยำฆ่ำเชื้อบนแกลบ 6 รูปภำพที่ 13. เตรียมโรงเรือนเรียบร้อยก่อนลูกไก่ลง 7 รูปภำพที่ 14. ลูกไก่อำยุ 0 วัน 7 รูปภำพที่ 15. ล้ำงห้องน้อย 8 รูปภำพที่ 16. ไก่คัดทิ้ง 9 รูปภำพที่ 17. ตรวจปำกไก่อำยุ 1 วันเพื่อดูว่ำไก่ดื่มวัคซีน 10 รูปภำพที่ 18. ตรวจปำกไก่อำยุ 8 -10วัน เพื่อดูว่ำไก่ดื่มวัคซีน รูปภำพที่ 19. ผ่ำซำกไก่ตรวจดูหนอง 10 11


1 บทน ำ วัตถุประสงค์ของกำรฝึกปฏิบัติงำน 1. เพื่อผลิตนักศึกษำที่มีควำมรู้และควำมเชี่ยวชำญด้ำนสัตวศำสตร์ 2. มีควำมรอบรู้ในกำรพัฒนำและกำรผลิตปศุสัตว์ 3. เพื่อให้นักศึกษำมีโอกำสได้เรียนรู้และได้ประสบกำรณ์ชีวิตในกำรท ำงำนอย่ำงแท้จริง 4. เพื่อให้นักศึกษำได้เตรียมพร้อมก่อนจะออกไปท ำงำนจริง 5. เพื่อให้นักศึกษำได้รู้จักกำรปรับตัวให้เข้ำกับสภำพแวดล้อมนอกมหำวิทยำลัย 6. เพื่อให้นักศึกษำได้น ำควำมรู้มำประยุกต์ใช้ในกำรท ำงำนต่อไป ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับจำกกำรฝึกปฏิบัติงำน 1. ได้รับประสบกำรณ์จริงตำมสำขำวิชำที่ได้ศึกษำ 2. ได้ฝึกทักษะวิชำชีพและได้ปฏิบัติงำนจริง 3. ได้รับข้อมูลที่จ ำเป็นต่อกำรประกอบอำชีพในอนำคต 4. ได้สร้ำงบุคลิกภำพ และสำมำรถแก้ปัญหำเฉพำะหน้ำได้ดี ระยะเวลำกำรฝึกปฏิบัติงำน ระหว่ำงวันที่ 7 พฤษภำคม – 16 มิถุนำยน 2566


2 ข้อมูลพื้นฐำนฟำร์ม ฟำร์ม ไก่เนื้อวิหำรแดงฟำร์ม 3 88 หมู่ 10 ต.คลองเรือ อ.วิหำรแดง จ.สระบุรี 18150 มีพื้นที่56 ไร่ มีทั้งหมด 12 เล้ำ ขนำด 14*120*2.3 เป็นโรงเรือนแบบปิด เลี้ยงไก่เนื้อจ ำนวน 230,000 ตัว รูปภำพที่ 1. ที่ตั้งฟำร์ม รูปภำพที่ 2. แผนผังฟำร์ม


3 สำยพันธุ์ที่เลี้ยง 1. พันธุ์ Cobb 2. พันธุ์Hubbard 3. พันธุ์ AA รูปภำพที่ 3-4 ลูกไก่สำยพันธุ์ Cobb รำยละเอียดในกำรปฏิบัติงำน 1. กำรเตรียมโรงเรือน เนื่องจำกในระยะเวลำฝึกงำนอยู่ระหว่ำงกำรพักเล้ำจึงได้ปฏิบัติบำง ขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ล้ำงโรงเรือน มีขั้นตอนดังนี้ พ่นโฟมที่ผสมน ้ำยำล้ำงโรงเรือนแล้วพ่นให้ทั่ว รวมทั้งรำงน ้ำและรำงอำหำร ทิ้งไว้ 10-15 นำทีจำกนั้นล้ำงน ้ำสะอำด แล้วไรน ้ำออกจำกโรงเรือน รูปภำพที่ 5. โรงเรือนก่อนล้ำง รูปภำพที่ 6. ใช้น ้ำล้ำงโฟมให้สะอำด


4 1.2 แขวนถำดแดงใส่รำงอำหำรให้เรียบร้อย 1.3 แช่ท่อรำงน ้ำด้วยน ้ำยำฆ่ำเชื้อประมำณ10 -15 นำที เปิดน ้ำท้ำยโรงเรือนเพื่อน ำน ้ำออก 1.4 พ่นยำฆ่ำเชื้อทั้งภำยในและรอบๆโรงเรือน โดยใช้น ้ำยำฆ่ำเชื้อเบต้ำกำร์ด รูปภำพที่ 7. พ่นยำฆ่ำเชื้อภำยในโรงเรือน รูปภำพที่ 8. พ่นยำฆ่ำเชื้อรอบโรงเรือน


5 1.4 เก็บตัวอย่ำงเพื่อตรวจหำร่องรอยของเชื้อส่งเข้ำแลป รูปภำพที่ 9. กำรเก็บตัวอย่ำง 1.5 เมื่อแกลบลง ต้องเช็คคุณภำพแกลบและน ้ำหนักแกลบ เพื่อค ำนวณแกลบที่ใช้เสริมช่วงที่ แกลบเสียในแต่ละโรงเรือน ซึ่งกำรเช็คคุณภำพแกลบจะเช็คควำมฝุ่น, ใบไม้หรือหญ้ำที่มำกับแกลบ และมี สิ่งปนเปื้อนหรือไม่ และพ่นยำฆ่ำเชื้อทั้งก่อนและหลังลงแกลบเสร็จ รูปภำพที่ 10. ชั่งน ้ำหนักแกลบ


6 1.6 เมื่อน ำแกลบเข้ำโรงเรือนและกรอกแลบเสร็จ ต้องกลับแกลบและพ่นยำฆ่ำเชื้อ ตำมเสมอ รูปภำพที่ 11. กลับแกลบ รูปภำพที่ 12. พ่นยำฆ่ำเชื้อบนแกลบ


7 1.7 ตั้งกก, ตู้กก, วำงและเทอำหำรใส่ถำดอำหำรสีเหลืองและถำดออโต้, ปรับรำงน ้ำให้สูง ประมำณไก่เงยหน้ำจิกหัวนิปเปิ้ลได้, ปรับรำงอำหำรให้สูงระดับออกไก่, เปิดรำงน ้ำและรำงอำหำรให้ ใช้งำนได้ รูปภำพที่ 13. เตรียมโรงเรือนเรียบร้อยก่อนลูกไก่ลง 1.8 เมื่อเตรียมโรงเรือนเสร็จให้เปิด ตรวจดูระบบต่ำงๆ รวมทั้งตู้กกหรือไฟที่โรงเรือน และก่อน ลูกไก่จะมำถึงฟำร์มให้เปิดใช้งำนตู้กกไว้อย่ำงน้อย 2-3 ชม. เพื่ออุณหภูมิจะได้พอดี ไม่ร้อนและไม่เย็น เกินไป และเมื่อเกิดเหตุขัดข้องให้แจ้งช่ำงเทคนิคทันที 2. ระยะเวลำกำรเลี้ยงลูกไก่อำยุ 0 วัน 2.1 ตั้งอุณหภูมิตู้กกประมำณ 28-35 องศำเซลเซียส 2.2 เมื่อลูกไก่มำถึง เช็คจ ำนวนถำดลูกไก่, เลข Lot. ลูกไก่, ตรวจดูลูกไก่ที่ตำย, ดูลักษณะ ภำยนอก เช่น สะดือ ข้อแดง ขน และอื่นๆ แล้วท ำพันธุ์ประวัติเบื้องต้น ซึ่งโรงเรือนที่ 1-5 ลงก่อน 6-12 ลงวันถัดมำ ท ำให้อำยุต่ำงกัน 1 วัน รูปภำพที่ 14. ลูกไก่อำยุ 0 วัน


8 3. กิจวัตรประจ ำวัน เวลำ กิจกรรมที่ฝึกงำน 07.00 – 08.00 เช็คจ ำนวนไก่ตำย ไก่คัด ดูอุณหภูมิ 08.00 – 09.00 พักรับประทำนอำหำรเช้ำ 09.00 – 12.00 จดมิเตอร์น ้ำ เช็คไก่คัด ดูอุณหภูมิและสิ่งต่ำงๆภำยในโรงเรือน 12.00 – 13.00 ท ำบันทึกประจ ำวัน และพักเที่ยง 13.00 – 17.00 เช็คภำพรวมของฝูง อุณหภูมิ เช็คไก่คัด และตรวจควำมเรียบร้อยภำยในโรงเรือน หมำยเหตุ 1. ระยะกก อำยุ 10 วัน ขึ้นอยู่กับฤดูในช่วงนั้น อุณหภูมิในระยะกกอยู่ระหว่ำง 28 – 35 องศำเซลเซียส จึงต้องมีกำรมัดและปล่อยผ้ำม่ำน เพื่อให้อุณหภูมิคงที่ตำมที่ต้องกำร 2. กำรเปิดอำหำรของแต่ละช่วงอำยุจะต่ำงกัน ในระยะเวลำกกจะให้แบบกระสอบ หลังจำก นั้นจะเปิดรำงอำหำรทุกๆ 2 ชม. ไม่ควรให้เห็นพื้นถำดอำหำรสีแดง 3. กิจกรรมที่อยู่ในช่วงพักโรงเรือนเริ่มเวลำ 08.00 – 17.00 น. 3.1 ล้ำงห้องน้อย เปลี่ยนน ้ำยำจุ่มเท้ำ ทั้งเช้ำและเย็น รูปภำพที่ 15. ล้ำงห้องน้อย


9 3.2 เปิดอำหำรและไซโล 3.3 เช็คจ ำนวนไก่ตำยและจ ำนวนไก่คัด รูปภำพที่ 16. ไก่คัดทิ้ง 3.4 จดมิเตอร์น ้ำ 3 จุด ได้แก่ ข้ำงห้องน้อย น ้ำเปล่ำด้ำนหน้ำ ข้ำงคูลลิ่งแพด และจดอุณหภูมิ Wet – Dry เพื่อบันทึกปริมำณน ้ำที่ไก่ดื่มเข้ำไปและควำมชื้นภำยในโรงเรือน ค่ำควำมชื้นที่เหมำะสมไม่ เกิน 80 % 3.5 น ำข้อมูลข้ำงต้นจดบันทึกลงเป็นพันธุ์ประวัติของไก่รุ่นนี้ 3.6 กลับแกลบ เปิดพัดลมเสริม 1-2 ตัว เพื่อไม่ให้แกลบเสียและชื้นเร็ว หำกแกลบเริ่มชื้นควร เปิดพัดลมเสริม 1 ตัวและเสริมแกลบเพิ่ม 3.7 ชั่งน ้ำหนักไก่ทุกสัปดำห์เพื่อน ำไปค ำนวณค่ำ FCR เมื่อไก่อำยุ 2 สัปดำห์ให้ประเมินค่ำอุ้ง เท้ำและข้อแดง 4. กำรท ำวัคซีน 4.1 ในลูกไก่อำยุ 1 วัน - ท ำวัคซีน IB (โรคหลอดลมอักเสบ) และ ND (นิวคำสเซิล) แบบละลำยน ้ำ เมื่อวัคซีนหมด ให้เปิดน ้ำสะอำด 2 ลิตรเพื่อไม่ให้วัคซีนตกค้ำงในท่อน ้ำ และสุ่มเช็คปำกไก่ จ ำนวน 30 ตัว หำกลิ้นติด สีฟ้ำแสดงว่ำ “ ไก่ดื่มวัคซีน ”


10 รูปภำพที่ 17. ตรวจปำกไก่อำยุ 1 วันเพื่อดูว่ำไก่ดื่มวัคซีน - ระยะเวลำในกำรกกลูกไก่ ประมำณ 10 วัน ขึ้นอยู่กับฤดูในช่วงนั้น สังเกตอุณหภูมิ, ภำพโดยรวมของฝูง, ควำมชื้น และอุปกรณ์ต่ำงๆภำยในโรงเรือน 4.2 ในลูกไก่อำยุ 8 – 12 วัน - ท ำวัคซีน IB ND และวัคซีนเกี่ยวกับก้ำนต้ำนเชื้อซัลโมเนลลำ แบบละลำยน ้ำ เมื่อวัคซีน หมด ให้เปิดน ้ำสะอำด 5 ลิตรเพื่อไม่ให้วัคซีนตกค้ำงในท่อน ้ำ และสุ่มเช็คปำกไก่ จ ำนวน 30 ตัว หำกลิ้น ติดสีฟ้ำแสดงว่ำ “ ไก่ดื่มวัคซีน ” รูปภำพที่ 18. ตรวจปำกไก่อำยุ 8-10วัน เพื่อดูว่ำไก่ดื่มวัคซีน


11 กิจกรรมเพิ่มเติมภำยในฟำร์ม 1. ผ่ำซำกไก่ที่คัดทิ้ง เพื่อตรวจดูว่ำมีหนองหรือไม่ ถ้ำมี กระจำยทั่วหรือเป็นจุดมำกแค่ไหน รูปภำพที่ 19. ผ่ำซำกไก่ ตรวจดูหนอง 2. กำรชั่งน ้ำหนักไก่ทุกๆ สัปดำห์ ตรวจดูควำมคะแนนอุ้งเท้ำและข้อแดง สิ่งที่ได้เรียนรู้ - กำรแก้ไขปัญหำเฉพำะหน้ำ ในกรณีที่เกิดปัญหำฉุกเฉิน - กำรสังเกตสิ่งต่ำงๆที่อยู่รอบตัว เมื่อเข้ำไปในโรงเรือนต้องสังเกตให้ครบ หำกเกิดปัญหำจะแก้ไข ได้ทันที - กำรท ำงำนร่วมกับคนอื่นและอำยุต่ำงกัน - กำรปรับตัวให้เข้ำกับสภำพแวดล้อมและสังคมใหม่ๆ ปัญหำอุปสรรค และแนวทำงกำรแก้ไข - ส่วนมำกเป็นเรื่องที่ต้องให้ช่ำงทำงเทคนิคแก้ไข ซึ่งบำงอย่ำงต้องแก้ไขบ่อย เช่น มอร์เตอร์ที่ รำงอำหำร trip บ่อย แก๊สรั่วจำกกำรหมุนไม่แน่นหรือโดนท ำให้เคลื่อน และอื่นๆ


Click to View FlipBook Version