The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mekinnn2523, 2021-03-21 00:38:41

pdf24_merged

pdf24_merged

รายงานการวจิ ยั

เรอ่ื ง การฝึ กทกั ษะการอา่ นคา่
ไมโครมเิ ตอรร์ ะบบเมตรกิ

นายธวิ ากร อสุ าพรหม นกั เรยี นชนั้
ปวช. ๓/๒

แผนกวชิ าชา่ งยนต์

นายเมฆนิ ทร์ เชอื้ วงศพ์ รหม
ครู

แผนกวชิ าชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั การ
อาชพี พรรณานคิ ม
สำนกั งาน
คณะกรรมการ
การ อาชวี ศกึ ษา
ศกึ ษาธกิ าร
กระทรวง

ใบรบั รองงานวจิ ยั
วทิ ยาลยั การอาชพี พรรณานคิ ม

เรอื่ ง การฝึกทกั ษะการอา่ นคา่ ไมโครมเิ ตอรร์ ะบบเมตรกิ นาย
ธวิ ากร อสุ าพรหม นักเรยี นชนั้ ปวช. ๓/๒ แผนกวชิ าชา่ ง

ยนต์
โดยการเห็นชอบของคณะกรรมการ สมควรรับเป็ นสว่ นหนง่ึ
ของงานวจิ ัยระดบั สถานศกึ ษา

ของแผนกวชิ าชา่ งยนต์ วทิ ยาลยั การอาชพี
พรรณานคิ ม

ลงชอ่ื …………………………………. ผวู ้ จิ ัย
(นายเมฆนิ ทร์ เชอ้ื วงศพ์ รหม)

ลงชอื่ …………………………………. หวั หนา้ แผนกวชิ าชา่ ง
ยนต์

(นายศรายทุ ธ หนิ สอ)
ลงชอ่ื ………………………………. หวั หนา้ งานวจิ ัยพัฒนา
นวตั กรรมและสง่ิ ประดษิ ฐ์

(นายธรายทุ ธ ปัญญาประชมุ )

ลงชอ่ื ……………………………………… รองผอู ้ ำนวยการ
ฝ่ ายแผนงานและความรว่ มมอื

(นายวชิ ติ ระดมบญุ )

ลงชอ่ื ………………………………............... รองผอู ้ ำนวย
การฝ่ ายวชิ าการ

(นางสาวอมรรัตน์ พทิ กั ษ์วาปี )

ลงชอื่ ……………………………….. (นายทองสขุ พาม)ี
วทิ ยาลยั การอาชพี พรรณานคิ ม ผอู ้ ำนวยการ





ช่ือเร่ือง การฝึกทักษะการอา่ นคา่ ไมโครมเิ ตอรร์ ะบบเมตริก
นายธิวากร อสุ าพรหม นกั เรียนชนั้ ปวช. 3/2 แผนกวชิ าชา่ งยนต์

ผู้ศกึ ษา นายเมฆินทร์ เชอ้ื วงศ์พรหม
ตาแหนง่ ครูผสู้ อน
สถานศึกษา วทิ ยาลยั การอาชีพพรรณานิคม
ปีการศึกษา 2563

บทคดั ยอ่

ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงสารวจ จากการอ่านค่าไมโครมิเตอร์
ระบบเมตริกของนักเรียน จานวน 16 คน พบว่านักเรียนจานวน 1 คน คือ นายธิวากร อุสา
พรหม ยังอ่านค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกต้อง ซ่ึงในงานช่างยนต์ เคร่ืองวัดละเอียดเป็นเครื่องมือสาคัญ
มาก ถ้าอ่านคา่ พลาดเพยี งนิดเดียว ก็จะทาให้งานเสียหายได้ ดงั นั้นผู้สอนพิจารณาแลว้ หากไม่
จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพิ่มหรือเสริมให้กับนักเรียนคนดังกล่าว จะส่งผลให้นักเรียนคนน้ีมีปัญหาใน
การอ่านค่าไมโครมิเตอร์ ซึ่งเป็นเครื่องมือท่ีจาเป็นอย่างมากในงานช่างยนต์ ซ่ึงได้สรุปผลการวิจัย
อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ ซ่งึ มีรายละเอียดดงั ตอ่ ไปน้ี
สรปุ ผลการวิจัย

จากการวิจัยคร้ังน้ีพบว่านายธิวากร อุสาพรหม มีความสามารถในการอ่านค่าไมโครมิเตอร์
ระบบเมตรกิ สูงขึ้น ได้พัฒนาความสามารถจากระดับปรบั ปรุงเปน็ ระดับดี
อภิปรายผล

จากการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยมีแนวความคิดว่าวิธีการท่ีนามาแก้ไขปัญหาในคร้ังน้ี ได้ผลดี
เพราะจากไมโครมิเตอร์ทม่ี ีขนาดสเกลท่เี ลก็ ทาให้เป็นปญั หาต่อการอา่ นค่าแต่ละคร้ัง โดยเฉพาะผู้ท่ี
เร่ิมเรียนใหม่ ดังนั้น ถ้าเราออกแบบให้มีตัวอย่างของไมโครมิเตอร์ที่มีขนาดใหญ่กว่าของจริง ก็จะ
สามารถทาให้ผู้ท่เี ริ่มเรยี นสามารถมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจได้งา่ ยขนึ้
ขอ้ เสนอแนะ

สามารถนาวิธีการนี้ไปใช้กับการเรียน การสอนในแผนกวิชาช่างยนต์ ช่างเชื่อมและช่างกล
ซ่งึ ใช้เทคนิคการเริ่มต้นจากสิ่งงา่ ยไปหาสิ่งที่ยากข้ึน และจะทาให้นักศกึ ษามีความรู้ความเข้าใจได้ง่าย
ข้ึน



กติ ตกิ รรมประกาศ

งานวจิ ัยฉบับน้สี าเรจ็ ไดโ้ ดยได้รบั ความเมตตาและความชว่ ยเหลือจากผมู้ พี ระคณุ
ขอขอบคุณ นายวิชิต ระดมบุญ และนายอัมพร สิงห์เทพ ที่ให้ความช่วยเหลือในการวิเคราะห์ผล
ขอ้ มลู ในการจดั ทางานวจิ ัย

ขอขอบคุณ นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ ช้นั ปีที่ 3/2 แผนกวิชาชา่ ง
ยนต์ วิทยาลยั การอาชพี พรรณานคิ ม ทีใ่ ห้ขอ้ มลู และใหค้ วามร่วมมือในการจดั ทาวจิ ยั ฉบับนเ้ี ป็น
อย่างดี

ทส่ี าคัญทสี่ ดุ ต้องขอขอบพระคณุ คณุ พอ่ คุณแม่ และครอบครวั ทค่ี อยให้กาลังใจ
ในการจัดทาวิจัยฉบบั น้ีจนประสบความสาเรจ็ ด้วยดี ประโยชน์ และคุณคา่ ของงานวิจัยฉบับนี้ผู้วิจัย
ขอมอบแด่พ่อแม่ ญาตพิ น่ี ้องและผู้มพี ระคุณทุกท่าน

นายเมฆนิ ทร์ เชื้อวงศพ์ รหม
25 สงิ หาคม 2563

สารบัญ ค

บทคัดย่อ หนา้
กติ ตกิ รรมประกาศ
สารบัญ ก
สารบัญภาพ ข
1 บทนา ค

ความเปน็ มาและความสาคัญของการศึกษาค้นควา้ 1
ปญั หาการวจิ ยั 1
สาเหตุการวจิ ัย 1
วตั ถปุ ระสงค์ 1
ขอบเขตของการวจิ ยั 1
นิยามศัพท์เฉพาะ 1
ประโยชนท์ ี่ไดร้ บั 1
2 เอกสารทีเ่ กี่ยวข้อง 2
3 วธิ ดี าเนินการศกึ ษาคน้ คว้า 3-8
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 9
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 9
การวิเคราะห์ข้อมูล 11
สถิติในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 12
4 ผลการดาเนนิ งานวิจยั 13
5 สรุปผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ 14
ภาคผนวก 15
16-22

บญั ชีภาพ ง

ภาพท่ี หนา้

1 การใชเ้ ทคนิคเพื่อนสอนเพื่อน 22-23

1

บทที่ 1

บทนำ

1.1 ควำมเป็ นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ
เนื่องจากในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563 ผวู้ จิ ยั ไดร้ ับผดิ ชอบทาหนา้ ท่ีเป็นผสู้ อนวชิ างานปรับอากาศ

รถยนต์ ให้กบั นกั เรียนช้นั ปวช. 3/2 แผนกวิชาช่างยนต์ ซ่ึงจากการสอนในหน่วยการตรวจวดั ชิ้นส่วนของ
คอมเพรสเซอร์ ปรากฏวา่ ในหน่วยน้ีตอ้ งใชไ้ มโครมิเตอร์ในการวดั ค่าความสึกหรอของชิ้นส่วน ดงั น้นั ผสู้ อน
จึงได้ทาการสอนการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก เพ่ือให้นักเรียนสามารถตรวจวดั ชิ้นส่วนของ
คอมเพรสเซอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

จากการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกของนกั เรียน จานวน 16 คน พบวา่ นกั เรียนจานวน 1 คน คือ
นายธิวากร อุสาพรหม ยงั อ่านค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง ซ่ึงในงานช่างยนต์ เคร่ืองวดั ละเอียดเป็ นเคร่ืองมือ
สาคญั มาก ถา้ อ่านค่าพลาดเพียงนิดเดียว ก็จะทาให้งานเสียหายได้ ดงั น้ันผูส้ อนพิจารณาแล้ว หากไม่จดั
กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ิมหรือเสริมให้กับนักเรียนคนน้ี จะส่งผลให้นักเรียนคนน้ีมีปัญหาในการอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือท่ีจาเป็นอยา่ งมากในงานช่างยนต์

1.2 ปัญหำกำรวจิ ัย
มีแนวทางใดที่จะช่วยใหน้ ายธิวากร อุสาพรหม สามารถอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกได้

1.3 สำเหตุของปัญหำ
ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาสาเหตุของปัญหา โดยการสอบถามจากนักเรียนร่วมช้ันและครูผูส้ อนท่านอ่ืนพบว่า

สาเหตุมาจากการที่ไมโครมิเตอร์น้นั มีขนาดของสเกลเล็กมาก ทาให้เวลาอา่ นคา่ น้นั ถา้ ไม่สังเกตดีๆ อาจทาให้
อ่านค่าผดิ พลาดไปมาก ดงั น้นั การอ่านค่าไมโครมิเตอร์น้นั จาเป็ นตอ้ งฝึ กอ่านบ่อยๆจึงจะเกิดความชานาญ อีก
สาเหตุหน่ึงท่ีอาจทาใหน้ กั เรียนคนน้ีอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ งคือ นกั เรียนคนน้ีเป็ นคนไมต่ ้งั ใจเรียน ซ่ึงนี่
กเ็ ป็นอีกสาเหตุหน่ึงที่ทาใหน้ กั เรียนคนน้ีอ่านค่าไมโครมิเตอร์ไมถ่ ูกตอ้ ง

1.4 วตั ถุประสงค์และเป้ำหมำยของกำรวจิ ัย
เพื่อช่วยใหน้ กั เรียนช้นั ปวช3/2 แผนกวชิ าช่างยนตท์ ่ีมีปัญหาอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง

จานวน 1 คน คือนายธิวากร อุสาพรหม ใหอ้ า่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

2

1.5 ขอบเขตของกำรวจิ ัย
ผู้ร่วมวิจัย นายธิวากร อุสาพรหม นักเรียนช้นั ปวช.3/2 แผนกช่างยนต์ วิทยาลยั การอาชีพพรรณา

นิคม ต.สวา่ ง อ.พรรณานิคม จ.สกลนคร
ตวั แปรต้น ไดแ้ ก่ การฝึกทกั ษะการอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก
ตวั แปรตำม ไดแ้ ก่ ผลการเรียนรู้เรื่องการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก

1.6 นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. นกั เรียน หมายถึง นายธิวากร อุสาพรหม นักเรียนช้นั ปวช. 3/2 แผนกช่างยนต์ วิทยาลยั การ

อาชีพพรรณานิคม
2. แบบฝึ กอ่านค่าไมโครมิเตอร์ หมายถึง แบบฝึ กเสริมท่ีครูผูส้ อนจดั ทาข้ึนเพ่ือให้ผูเ้ รียนได้ทา

กิจกรรมที่ครูจดั ให้
3. แบบเรียน หมายถึง หนงั สือเรียนวชิ างานวดั ละเอียด ระดบั ช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ
4. การเรียนรู้ หมายถึง พฒั นาการการเปลี่ยนแปลงจากไม่เขา้ ใจเป็นเขา้ ใจมากยงิ่ ข้ึน
5. ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก หมายถึง เคร่ืองมือวดั ท่ีใชส้ าหรับงานเครื่องกล ซ่ึงจะมีค่าความละเอียด

สูงมาก
6. ทฤษฎีการเรียนรู้แบบส่ิงเร้าและการตอบสนองพ้ืนฐานการกระทาของบุคคลข้ึนอยูก่ บั อิทธิพลของ

ส่ิงแวดลอ้ ม (Passive) หนา้ ท่ีของผสู้ อนคือจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ใหก้ บั ผเู้ รียน

1.7 ประโยชน์ทค่ี ำดว่ำจะได้รับ
1. นกั เรียนสามารถอ่านค่าไมโครมิเตอร์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
2. นาประสบการณ์ที่ไดไ้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานช่างได้

3

บทท่ี 2

เอกสำรและงำนวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้อง

ความหมายของการวจิ ยั คาวา่ “ การวจิ ยั ” ตรงกบั คาภาษาองั กฤษวา่ “ Research ” ใหค้ วามหมายวา่
การสอบสวน หรือการตรวจสอบความรู้ในแขนงใดแขนงหน่ึงอย่างขยนั ขนั แข่งเป็ นระบบ อย่างอดทนและ
ระมดั ระวงั คน้ หาความจริงอยา่ งต่อเน่ือง การสะสมรวบรวมคน้ ควา้ เพอ่ื หาขอ้ มูลตามหลกั วชิ า

2.1 กำรวจิ ัยคือ กระบวนการคน้ หาความรู้ความจริงท่ีเช่ือถือได้ โดยมีลกั ษณะด้งั น้ี
1.เป็นขบวนการท่ีมีระบบ แบบแผนท่ีชดั เจนแน่นอน
2.มีหลกั และเหตุผล
3.มีการวเิ คราะห์และควบคุม
4.เป็นการศึกษาแบบหยง่ั ลึกอยา่ งระมดั ระวงั
5.มีการเขียนบนั ทึกและสรุปเป็นรายงาน

2.2 ลกั ษณะสำคัญกำรทำ
1. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
2.การแกป้ ัญหา
3.มีการวางแผน
4.หาขอ้ เทจ็ จริง
5.รอบรู้ในเรื่องท่ีวจิ ยั
6.การสังเกต
7.ใชเ้ หตุผล
8.ความอดทน
9.ความกลา้ หาญ
10.บนั ทึกรายงานผล

2.3 วตั ถุประสงค์กำรทำวจิ ัย
1. เพ่ือความรู้ความเขา้ ใจ
2. นาผลการวจิ ยั ไปแกไ้ ขปรับปรุง
3 .เพือ่ พยากรณ์เหตุการณ์ท่ีจะเกิดในอนาคต
4. เพ่ือความคุมชีวติ ความเป็นอยขู่ องมนุษย์

2.4 ประเภทของกำรวจิ ัย แบ่งไดห้ ลายประเภท
1. แบ่งตำมวตั ถุประสงค์กำรวจิ ัย
1.1 วจิ ยั บริสุทธ์ เป็นการวจิ ยั เพอ่ื ความรู้อยา่ งแทจ้ ริง
1.2 วจิ ยั ประยกุ ต์ เป็นการวจิ ยั มุ่งเอาผลการวจิ ยั ไปใชใ้ นการแกไ้ ขปัญหาต่างๆ

4

2. แบ่งตำมระเบียบวธิ ีวจิ ัย แบง่ ได้ 3 ประเภท
2.1 การวจิ ยั เชิงประวตั ิศาสตร์ เป็นการวจิ ยั ส่ิงที่ผา่ นมาในอดีต การรวบรวมขอ้ มูล ตรวจสอบวเิ คราะห์สรุป
2.2 การวจิ ยั เชิงบรรยาย เป็นการวจิ ยั คน้ หาขอ้ เทจ็ จริงในปัจจุบนั ของเหตูการณ์ต่างๆแบ่งเป็น 3แบบ
2.2.1 วจิ ยั แบบสารวจ เป็นการสารวจขอ้ มูลความเป็นจริง
2.2.2 การวจิ ยั เชิงวเิ คราะห์หาความสาพนั ธ์ เป็นการหาตวั แปรต่างๆ ขอ้ เทจ็ จริงวา่ มีความแปรผนั กนั อยา่ งไร
2.2.3วจิ ยั เชิงพฒั นา เป็นการมุ่งทราบการเปล่ียนแปลงเมื่อเวลาล่วงเลยไปช่วงหน่ึง
2.2.4 การวจิ ยั เชิงทดลอง เป็นการวจิ ยั เชิงเหตุผลที่เกิดข้ึน

3. แบ่งตำมลกั ษณะของข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท
3.1 การวจิ ยั เชิงปริมาณ เป็นการนาเอาการวจิ ยั ท่ีเป็นตวั เลขมาวเิ คราะห์ สรุปผล เสนออกมาเป็นตวั เลข
3.2 การวจิ ยั เชิงคุณภาพ เป็นการวจิ ยั ท่ีนาเอาขอ้ มูลมาวเิ คราะห์สรุปผลเสนอในรูปแบบเป็นขอ้ มูล

4. แบ่งตำมแหล่งข้อมูล แบ่งได้ 2 ประเภท
4.1 การวจิ ยั เชิงปฐมภูมิ เป็นการวจิ ยั แบบขอ้ มูลจากแหล่งกาเนิดขอ้ มูลโดยตรงแลว้ นามาวิเคราะห์สรุปผล
4.2 วจิ ยั เชิงทุติยภูมิ เป็นการวจิ ยั ท่ีอาศยั ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลที่ผอู้ ่ืนเกบ็ รวบรวมได้ แลว้ นามาวเิ คราะห์สรุปผล

2.5 ประโยชน์ของกำรวจิ ัย มุงหวงั นางานวจิ ยั ไปใช้ ดงั น้ี
1. ช่วยใหไ้ ดค้ วามรู้ใหมๆ่ ในทางทฤษฏี และปฏิบตั ิ
2. ช่วยใหเ้ ขา้ ใจสถานการณ์และพฤติกรรมต่างๆ
3. ช่วยในการวนิ ิจฉยั ตดั สินใจหรือแกไ้ ขปัญหา
4.ช่วยใหท้ ราบขอ้ เทจ็ จริงต่างๆ
5. ช่วยใหเ้ กิดวทิ ยาการใหม่ๆ
6. ช่วยใหร้ ู้จกั รการมีเหตุผล รู้จกั คิดและกระตือรือร้น

วธิ ีกำรอนุมำณ การศึกษาหาเหตุผลขอ้ เทจ็ จริงใหญก่ บั ขอ้ เทจ็ จริงยอ่ ยสรุปเป็นความรู้ใหม่
วธิ ีกำรอปุ มำน การศึกษาขอ้ เทจ็ จริงยอ่ ยเป็นขอ้ ใหญ่

2.6 สรุปประเภทกำรวจิ ัยตำมเกณฑ์ต่ำงๆ
1. แบ่งตำมวตั ถุประสงค์กำรวจิ ัย
1.1 วจิ ยั บริสุทธ์
1.2 วจิ ยั ประยกุ ต์
2. แบ่งตำมระเบยี บวธิ ีวจิ ัย
2.1 การวจิ ยั เชิงประวตั ิศาสตร์
2.2 การวจิ ยั เชิงบรรยาย
2.3 การวจิ ยั เชิงทดลอง
3. แบ่งตำมลกั ษณะของข้อมูล

5

3.1 การวจิ ยั เชิงปริมาณ
3.2 การวจิ ยั เชิงคุณภาพ

4. แบ่งตำมแหล่งข้อมูล
4.1 การวจิ ยั เชิงปฐมภูมิ
4.2 วจิ ยั เชิงทุติยภูมิ

กำรออกแบบสอบถำม
การออกแบบสอบถาม หมายถึงการวางแผนเพื่อที่จะกาหนดโครงสร้างและกาหนดยทุ ธวธิ ีเพื่อไดม้ าซ่ึง
คาตอบของปัญหาในการวจิ ยั
การวางแผน หมายถึง ขอบขา่ ยของการวจิ ยั ตอ้ งดาเนินการ กาหนดปัญหา ขอ้ สมมติฐาน การเก็บขอ้ มูล
และการเขียนรายงานการวจิ ยั
โครงสร้าง หมายถึง โครงร่างหรือแบบจาลองของการจดั ทาตวั แปรในการวจิ ยั ตามปัญหาของการวจิ ยั
ยทุ ธวิธี หมายถึง วิธีการจดั เก็บขอ้ มูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลหรือเป็ นตวั บ่งช้ีที่ทาให้การวิจยั บรรลุ2.7
หลกั เกณฑ์ในกำรออกแบบกำรวจิ ัย
1. ต้องกำรข้อมูลในเร่ืองอะไร
ผวู้ จิ ยั หาขอ้ มูลจากปัญหาวจิ ยั และขอ้ มูลท่ีเป็นคาตอบ
2. หำข้อมูลได้จำกทไี่ หน
ผวู้ จิ ยั หาขอ้ มูลจากแหล่งปฐมภูมิ และทุติยภูมิ
3. หำข้อมูลได้จำกใคร
หาจากประชาชนทุกหน่วยท่ีตอ้ งการหาจากกลุ่มตวั อยา่ งส่วนหน่ึงเป็ นตวั แทนท่ีดี หาจากการสุ่มตวั อยา่ งหลาย
วธิ ีท่ีเหมาะสม

4. เกบ็ ข้อมูลโดยวธิ ีใด

เครื่องมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล จากการสงั เกตุ การสมั ภาษณ์ แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสารวจ

5. จะวเิ ครำะห์ข้อมูลอย่ำงไร
โดยการจดั ลาดบั หรือสรุปยอ่ เพื่อตอบคาถามการวิจยั ตอ้ งอาศยั ความรู้ทางสถิติเขา้ มาเก่ียวขอ้ งเพ่ือช่วยในการ
ประเมินผลที่จะแปรความหมาย ของขอ้ มูลและสรุปผลขอ้ มูลเป็นท่ีเชื่อถือไดย้ งิ่ ข้ึน

6

กำรแบ่งวยั ของมนุษย์
การแบง่ วยั ของมนุษย์
นักจิตวิทยาพฒั นาการ แบ่งพฒั นาการของมนุษยอ์ อกเป็ นวยั ต่าง ๆ ตามระดบั อายุและวุฒิภาวะ เพื่อ
สะดวกในการศึกษาดงั น้ี
1. ระยะก่อนเกิด (prenatal period) ระยะก่อนเกิด คือ ระยะต้งั แต่เร่ิมปฏิสนธิจนถึงตอนคลอดหรือ
ระยะพัฒนาการในครรภ์ ซ่ึงรวมเวลาท่ีเด็กอยู่ในครรภ์ประมาณ 250-300 วนั ระยะก่อนคลอดมีการ
เปลี่ยนแปลง 3 ระยะ

1.1 ระยะที่ไข่ได้รับการผสมแล้ว คือ ไซโกต (zygote)หรือ fertiltzed cell มีระยะต้งั แต่
ปฏิสนธิจนถึงปลายสปั ดาห์ที่ 2 จะเคล่ือนเขา้ ไปฝังตวั อยใู่ นมดลูก

1.2 ระยะตวั อ่อน เรียกว่า embryo มีระยะต้งั แต่หลงั สัปดาห์ท่ี 2 ถึงสัปดาห์ที่ 8 ระยะน้ี
ตวั อ่อนจะพฒั นาส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และเร่ิมมีลกั ษณะเหมือนมนุษย์

1.3 ระยะเป็ นเด็กเล็ก เรียกว่า fetus มีระยะต้งั แต่สัปดาห์ที่ 8 ไปจนถึงคลอด เป็ นระยะท่ี
แสดงความเจริญเติบโตอยา่ งสมบูรณ์ของวยั วะตา่ ง ๆ

2. วยั ทารก (infancy) เริ่มต้งั แต่คลอดจนถึงอายุ 2 ขวบ ซ่ึงเป็นวยั ท่ีไมส่ ามารถช่วยตวั เองได้
3. วยั เด็ก (childhood) แบง่ เป็น

3.1 วยั เดก็ เลก็ หรือวยั ก่อนเขา้ เรียน (early childhood) อายุ 3-5 ปี
3.2 วยั เด็กโต หรือวยั เขา้ โรงเรียน ( late childhood) อายุ 6-12 ปี
4. วยั รุ่น (adolescence) แบง่ เป็น
4.1 วยั รุ่นตอนตน้ (carly adolesccnce) อายุ 13-15 ปี
4.2 วยั รุ่นตอนกลาง (middle adolesccnce) อายุ 15-18 ปี

4.3 วยั รุ่นตอนปลาย (late adolesccnce) อายุ 18-25 ปี
5. วยั ผใู้ หญ่ (adulthlld ) แบ่งเป็น

5.1 วยั ผใู้ หญ่ตอนตน้ (early adulthlld ) อายุ 21-40 ปี
5.2 วยั ผใู้ หญต่ อนกลางหรือวยั กลางคน (adulthood middle age) อายุ 40 – 60 ปี
5.3 วยั ผใู้ หญ่ตอนปลายหรือวยั ชรา (late adulthood or old age) อายุ 60 ปี ข้ึนไป
ควำมสำคัญของกำรศึกษำพฒั นำกำรของมนุษย์
การศึกษาพฒั นาการของมนุษยม์ ีความสาคญั ดงั น้ี
1. เพื่อให้มีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองเกี่ยวกบั พฒั นาการของบุคคลในวยั ตา่ ง ๆ ต้งั แตป่ ฏิสนธิจนกระทง่ั
ถึงวยั ชรา เพ่ือท่ีจะทานายไดว้ า่ มีปัจจยั ใดบา้ งท่ีทาให้บุคคลมีพฒั นาการอยา่ งปกติธรรมดาและไม่ปกติธรรมดา
ในช่วงวยั ของชีวติ

7

2. ช่วยให้บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เด็กและเยาวชนโดยตรง เช่น ผูป้ กครอง ครู อาจารย์ หรือโดยออ้ ม
เช่นนักการศึกษา นกั ปกครอง และนักวางแผน เพราะในการอธิบายพฤติกรรมของบุคคลจะตอ้ งมีหลกั การ
บางอยา่ งท่ีควบคุมการพฒั นาพฤติกรรมน้นั ดว้ ย

3. ทาให้ทราบและเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือให้เกิดการยอมรับ และเคารพ
ความสามารถหรือลกั ษณะบางอยา่ งอนั เป็นเอกลกั ษณ์ของแตล่ ะบุคคลวา่ แต่ละคนน้นั มีความแตกต่างกนั เพราะ
มีประสบการณ์จากพนั ธุ์กรรมและส่ิงแวดลอ้ ม

4. เพื่อให้ทราบถึงองค์ประกอบต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อการเจริญเติบโตของบุคคล มีส่ิงใดบ้างที่ควร
เสริมสร้าง ส่งเสริมใหเ้ กิดพฒั นาการ เพอ่ื ใหแ้ ตล่ ะคนมีพฒั นาการไปในทางที่ดี

5. ทาให้รู้และเขา้ ใจถึงพฒั นาการของในแต่ละวยั สามารถปฏิบตั ิต่อกนั ในความแตกต่างน้นั เพื่อจะอยู่
ในสงั คมร่วมกนั อยา่ งมีความสุข

6. ความเขา้ ใจในพฒั นาการของเด็ก ทาใหพ้ อ่ แม่รู้จกั วิธีการอบรมเล้ียงดู เพ่ือใหเ้ ขาเติบโตเป็นผใู้ หญ่
ที่มีความคิด สติปัญญา ที่ดี

7. เพ่ือช่วยในการส่งเสริมพฒั นาการ โดยการจดั สภาพแวดลอ้ ม และปรับปรุงพฤติกรรมใหเ้ หมาะสม
กบั วยั ของแต่ละบุคคล

ระบบของกำรจำ
ระบบของกำรจำ
ระบบของการจาแบง่ ออกเป็น 3 ระบบ คือ
1. ระบบของความจาจากการรู้สึกสัมผสั หมายถึง การคงอยขู่ องความรู้สึกสมั ผสั หลงั จากการเสนอสิ่ง
เร้าสิ้นสุดลง การจาจากการสัมผสั เป็ นระบบการจาข้นั แรกท่ีจะเก็บขอ้ มูลไวใ้ นช่วงส้ัน ๆ การจาแบบน้ีมี
ลกั ษณะเหมือนส่ิงที่ไดเ้ ห็น ไดย้ นิ ไดก้ ล่ิน ไดร้ ับรส จากประสาทรับสัมผสั ท้งั หลายซ่ึงอาจจะเป็นตา หู จมูก
ลิ้น ผวิ กาย
2. ระบบความจาระยะส้ัน เป็ นความจาชั่วคราวที่เกิดข้ึนหลงั จากการรับรู้แล้ว ความจาระยะส้ันทา
หนา้ ที่คลา้ ยคลงั ขอ้ มูลชวั่ คราวที่เกบ็ ขอ้ มูลไดใ้ นจานวนจากดั ไม่วา่ ขอ้ มูลน้นั จะสาคญั เพียงใดก็ตาม ความระยะ
ส้ันช่วยป้องกนั ไมใ่ หเ้ ราเกิดความสบั สนเก่ียวกบั ชื่อ วนั ที่ หมายเลขโทนศพั ท์ และเรื่องเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ อื่น ๆ
ปกติแลว้ ส่ิวที่มีอยู่ในความทรงจาระยะส้ันจะหายไปไดเ้ ร็ว ถา้ ตอ้ งการให้อยนู่ านก็ตอ้ งทาการบนั ทึก
เอาไว้ การทบทวนก็จะทาใหค้ งความจาระยะส้นั ได้
3. ระบบความจาระยะยาว ทาหนา้ ท่ีเหมือนคลงั ขอ้ มูลถาวร จะบรรจุทุกอยา่ งท่ีเรารู้เกี่ยวกบั โลกเอาไว้
โดยไม่จากดั ความสามารถในการเก็บขอ้ มูล ซ่ึงความจาระยะยาวน้ีเป็ นความจาที่มีคุณค่าย่งิ ส่ิงท่ีอยูใ่ นความจา
ระยะยาวน้นั คอ้ นขา้ งถาวร แมจ้ ะไม่ตลอดชีวติ ก็ตาม แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท
3.1 การจาความหมาย เป็ นการจาในความรู้พ้ืนฐานทว่ั ๆไปที่เป็ นขอ้ เท็จจริงเกี่ยวกบั โลก เป็ นส่ิงที่จะ
ไม่มีวนั ลืม

8

3.2 การจาเหตุการณ์ เป็ นการจาที่ต่างจากการทาความหมายตรงที่จะเอาเวลาและสถานที่เข้าไป
เก่ียวข้อง การจาเรื่องราวจึงเป็ นการจาเรื่องท่ีเก่ียวกบั ชีวิตตนเอง การจาเหตุการณ์จะลืมได้ง่ายกว่าการจา
ความหมายเพราะในชีวติ ของคนเราจะมีเหตุการณ์ใหม่ ๆ เกิดข้ึนเขา้ มาอยตู่ ลอดเวลา

การจดั การความจาระยะยาวมีการจดั ขอ้ มูลในระดบั สูง การจดั ขอ้ มูลในความจาระยะยาวไม่ไดจ้ ดั เรียง
ตามตวั อกั ษร แต่มกั จะมีกฏเกณฑท์ ่ีนามาใชใ้ นการจดั ไดแ้ ก่ จินตภาพ ประเภท สญั ลกั ษณ์ ความคลา้ ย

ทฤษฏีกำรเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม
1. ประสบการณ์เดิมมีส่วนในการทาให้เกิดการเรียนรู้ โดยเขา้ ใจวา่ ท้งั หมดน้นั มีนอ้ ยกวา่ ผลรวมของ
ส่วนยอ่ ย ๆ
2. ความสาคญั ของการตอบสนองของร่างกายแสดงออก และการเช่ือมโยงระหว่างส่ิงเร้าและการ
ตอบสนอง
3. แบบแผนของการตอบสนองต่อสิ่งเร้าจะเกิดข้ึนอยา่ งค่อยเป็ นค่อยไป การทดลองทาหลาย ๆ คร้ังแลว้
สะสมไวโ้ ดยเฉพาะสถานการณ์ท่ีเป็ นปัญหา ผเู้ รียนแสดงการตองสนองแตกต่างกนั โดยการเรียนรู้แบบลองผดิ
ลองถูกจนกระท้งั หาทางแกป้ ัญหาสาเร็จ
แบบทดสอบเชำวน์ปัญญำ

แบบทดสอบเชาวน์ปัญญา ที่นิยมใชใ้ นปัจจุบนั มีดงั น้ี
1. แบบทดสอบแสตนฟอร์ด บิเนท์ ( Stanford – Binet Scale)
2. แบบทดสอบเวคส์เลอร์ (Wechsler – Scale ) มี 2 ชุด คือ

WISC ( Wechsler Intelligence Scale for Children) ใช้ทดสอบเชาวน์ปัญญาของเด็ก
อายไุ มเ่ กิน 15 ปี

WAIS (weschsler Adulr Intellifence Scale) ใช้ทอสอบเชาวน์ปัญญาของผู้ใหญ่
ต้งั แต่ 15 ปี ข้ึนไป

3. แบบทดสอบ The Progressive Matrices Test

ควำมคดิ สร้ำงสรรค์
ความคิดสร้างสรรคเ์ ป็ นปัจจยั ท่ีส่งผลต่อการเรียนรู้ท่ีสาคญั ประการหน่ึง ดงั น้นั ในการจดั การศึกษาเพ่ือ

ส่งเสริมความคิดสร้างสรรคจ์ ึงเป็ นส่ิงจาเป็ นในสังคมปัจจุบนั เนื่องจากความคิดสร้างสรรคช์ ่วยสร้างเสริมนิสัย
ท่ีดี ซ่ึงเป็นผลใหส้ ามารถนาความรู้ไปใชใ้ นการเรียนรู้ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวนั

9

บทท่ี 3

วธิ ีดำเนินกำรวจิ ัย

วธิ ีดาเนินงานวจิ ยั ในช้นั เรียน เร่ือง การฝึกทกั ษะการอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก ของ
นายธิวากร อุสาพรหม นักเรียนช้ัน ปวช. 3/2 แผนกช่างยนต์ วิทยาลัยการอาชีพพรรณานิคม ผูว้ ิจยั ได้
ดาเนินการวจิ ยั ดงั น้ี

1. กลุ่มเป้าหมาย
2. สภาพปัญหา
3. วธิ ีดาเนินการวจิ ยั
4. เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั
5. สถิติและการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

1. กล่มุ เป้ำหมำย
ในการวจิ ยั คร้ังน้ี กลุ่มเป้าหมายในการวจิ ยั คือ นายธิวากร อุสาพรหม นกั เรียนช้นั ปวช.3/2 แผนกวชิ า

ช่างยนต์ วทิ ยาลยั การอาชีพพรรณานิคม

2. สภำพปัญหำ
นกั เรียนช้นั ปวช3/2 แผนกช่างยนต์ จานวน 1 คน คือนายธิวากร อุสาพรหม ซ่ึงอา่ นค่าไมโครมิเตอร์

ไม่ถูกต้อง ท้ังน้ีเพราะจากการทดสอบการตรวจวดั ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนต์ ปรากฎว่านักเรียนอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง และจากการสอบถามจากครูผสู้ อนท่านอ่ืน ต่างก็มีความเห็นเช่นเดียวกนั ดงั น้นั หาก
นายธิวากร อุสาพรหม ไดร้ ับการแกไ้ ขโดยใชแ้ บบฝึ กเสริมทกั ษะแลว้ จะช่วยพฒั นาความสามารถในการอ่าน
ค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกไดด้ ีข้ึน

10

ประวตั ิส่วนตัวนักเรียนทที่ ำกำรวจิ ัย

ชื่อ-สกุล นายธิวากร อุสาพรหม

วดป. เกดิ 14 สค. 2545

ส่วนสูง 168 ซม. นำ้ หนัก 54 กก.

บิดำ นายพิทกั ษ์ อุสาพรหม อายุ 49 ปี อาชีพ ทานา

มำรดำ นางพสิ มยั อุสาพรหม อายุ 46 ปี อาชีพ ทานา

พน่ี ้องร่วมบดิ ำ-มำรดำ _ คน

สถำนะครอบครัว อยดู่ ว้ ยกนั

เพื่อนสนิท นายวชิ าญ ทิลารักษ์

งำนอดิเรก ฟุตบอล

งำนบ้ำน กรอกน้า กวาดบา้ น

โรคประจำตัว -

ผลกำรเรียน เกรดเฉลี่ย 2.68

11

3. วธิ ีดำเนินกำรวจิ ัย

สัปดำห์ที่ 1
สิ่งทดี่ ำเนินกำร 1. ศึกษาประวตั ิของนกั เรียนที่ทาการวจิ ยั
2. ระบุปัญหาที่เร่งด่วน ทดลองวจิ ยั
3. เลือกประชากร/กลุ่มเป้าหมาย คือนายธิวากร อุสาพรหม
4. ให้นกั เรียนทดสอบก่อนเรียนโดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมินการอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกก่อนเรียน และแบบสงั เกตพฤติกรรม
เคร่ืองมือ/วธิ ีกำรทใ่ี ช้
1. แบบสารวจขอ้ มูลประวตั ินกั เรียน
2. แบบประเมินการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ก่อนเรียน
3. แบบสังเกตพฤติกรรม

สัปดำห์ที่ 2
สิ่งทดี่ ำเนินกำร 1. สร้างเคร่ืองมือ โดยเครื่องมือที่ใชเ้ ป็ นรูปภาพไมโครมิเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ของ
จริง 3 เทา่ จานวน 20 แบบ
2. ให้นกั เรียนฝึ กอ่านค่าไมโครมิเตอร์ของจริง แลว้ เปรียบเทียบกบั แบบฝึ กท่ีครูสร้าง
ข้ึนมา โดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากแบบสงั เกตพฤติกรรม
เคร่ืองมือ/วธิ ีกำรทใี่ ช้
1. แบบสงั เกตพฤติกรรม
2. แบบฝึกเสริมทกั ษะการอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก

สัปดำห์ที่ 3
สิ่งทด่ี ำเนินกำร 1. ให้นกั เรียนฝึ กอ่านค่าไมโครมิเตอร์ของจริง แลว้ เปรียบเทียบกบั แบบฝึ กท่ีครูสร้าง
ข้ึนมา โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแบบสังเกตพฤติกรรม
2. ใชว้ ธิ ีการใหเ้ พื่อนกั เรียนสอนกนั เองแลว้ บนั ทึกในแบบสงั เกตพฤติกรรม
3. ให้รางวลั ผูเ้ รียนเมื่อผูเ้ รียนพฒั นาการท่ีดีข้ึน โดยใชท้ ฤษฎีการเสริมแรง เช่น การ
ใหค้ าชมเชย การใหเ้ พื่อนปรบมือให้ เป็นตน้

12

เคร่ืองมือ/วธิ ีกำรทใ่ี ช้
1. แบบสงั เกตพฤติกรรม

สัปดำห์ที่ 4
สิ่งทด่ี ำเนินกำร 1. ให้นักเรียนทดสอบหลังเรียน โดยรวบรวมข้อมูลจากแบบประเมินการอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์หลงั เรียน และแบบสงั เกตพฤติกรรม

เครื่องมือ/วธิ ีกำรทใี่ ช้
1. แบบสังเกตพฤติกรรม
2. แบบประเมินการอ่านค่าไมโครมิเตอร์หลงั เรียน

4. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในกำรดำเนินกำรวจิ ัย
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ประกอบดว้ ย
1. แบบฝึกเสริมทกั ษะการอ่านคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก
2. แบบเรียนวชิ างานจกั รยานยนตแ์ ละงานวดั ละเอียด
3. ชิ้นส่วนของเคร่ืองยนตท์ ่ีนามาวดั ค่า
4. แผนการสอนโดยใชท้ ฤษฎีการเรียนรู้แบบส่ิงเร้าและการตอบสนอง

5. กำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเป็นการวเิ คราะห์เชิงปฏิบตั ิการ สาหรับเครื่องมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คือ

แบบฝึ กเสริมทกั ษะการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก โดยนาแบบฝึ กเสริมทกั ษะไปฝึ กให้กบั นักเรียน
จากน้ันสร้างแบบประเมินการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ท้งั ก่อนและหลงั การใชแ้ บบฝึ กและประเมินผลการอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก เปรียบเทียบความกา้ วหนา้ ในการพฒั นาความสามารถในการอ่านค่าไมโครมิเตอร์
ระบบเมตริกก่อนเรียนและหลงั เรียนแลว้ นาผลที่ไดม้ าวิเคราะห์ โดยการหาค่าร้อยละของนกั เรียนท้งั ก่อนเรียน
และหลงั เรียน แลว้ สรุปเปรียบเทียบถึงการพฒั นา ซ่ึงต้งั เกณฑก์ ารประเมินดงั น้ี

0 - 49 ตอ้ งปรับปรุง
50 - 70 พอใช้
71 - 100 ดี
จากการวิจยั ในช่วงระยะหน่ึงของการฝึ กทกั ษะการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกของนกั เรียนช้ัน
ปวช.3/2 แผนกวชิ าช่างยนต์ ต้งั แตว่ นั ท่ี 10 สิงหาคม 2563 – 7 กนั ยายน 2563 ดงั ตารางท่ี 3.1

13

ตำรำง 3.1 เครื่องมือและวธิ ีการ

วัน เดือน เคร่ืองมือทใ่ี ช้ วธิ ีกำร ผลทไี่ ด้รับ

ปี

10ส.ค./63 - แบบ สารวจข้อมู ลประวัติ 1. ศึกษาประวตั ินายธิวากร - ข้ อ มู ล ผ ล ก า ร อ่ า น ค่ า

นกั เรียน อุสาพรหม ไมโครมิเตอร์

- แบบสังเกตพฤติกรรมคร้ังที่ 1 2. ทดสอบ รวบรวมข้อมูล - ขอ้ มูลส่วนตวั นกั เรียน

- แบ บ ป ระ เมิ น ก ารอ่ าน ค่ า ก่อนเรียน

ไมโครมิเตอร์ก่อนเรียน

24/ส.ค/63 - แบบสงั เกตพฤติกรรม คร้ังท่ี 2 1. สร้างแบบฝึ กทักษะการ - ไ ด้ ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ส ร้ า ง

- แบบฝึกเสริมทกั ษะการอา่ นค่า อ่านคา่ เคร่ืองมือ

ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก 2. ทดลองใชเ้ ครื่องมือกบั นาย - รู้สาเหตุเบ้ืองตน้ ของปัญหา

ธิวากร อุสาพรหม โดย คือ ไมโครมิเตอร์มีขนาดเล็ก

ให้ฝึ กในเวลาเรียน วนั ละ ท าให้ ก ารอ่ าน ค่ าท าไ ด้

30 นาที ลาบาก

31/ส.ค/63 - แบบสงั เกตพฤติกรรม คร้ังที่ 3 1. ให้ นั ก เรี ย น ฝึ ก อ่ าน ค่ า - ฝึ กประสบการณ์การเรียนรู้

ไมโครมิเตอร์โดยใช้แบบ ใหก้ บั ผเู้ รียน

ฝึกร่วมกบั ของจริง - เน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วม

2. ใชว้ ธิ ีการใหเ้ พือ่ สอนเพือ่ น ในการแกป้ ัญหา

7/ก.ย/63 - แบบสังเกตพฤติกรรม คร้ังท่ี 4 1. ให้นักเรียนทดสอบหลัง - ได้ข้อมูลท่ีสามารถเผยแพร่

- แบ บ ป ระ เมิ น ก ารอ่ าน ค่ า เรียน ให้กบั ครูผูส้ อนทางดา้ นช่าง

ไมโครมิเตอร์หลงั เรียน 2. รวบรวมขอ้ มูล ยนตไ์ ดน้ าไปประยกุ ตใ์ ช้

3. สรุปผลการวจิ ยั

6. สถิตทิ ใ่ี ช้ในกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลในการวจิ ยั ในคร้ังน้ี คือ คา่ ร้อยละของจานวนคร้ังท่ีตอบได้

ร้อยละของจานวนคร้ังที่ตอบได้ = จานวนคร้ังท่ีตอบได้ 100
จานวนคร้ังท้งั หมด

14

บทท่ี 4

ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล

4.1 ปัญหำกำรวจิ ัย
มีแนวทางใดท่ีจะช่วยให้ นายธิวากร อุสาพรหม สามารถอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกได้

4.2 สำเหตุของปัญหำ
ผูว้ ิจยั ไดศ้ ึกษาสาเหตุของปัญหา โดยการสอบถามจากนักเรียนร่วมช้ันและครูผูส้ อนท่านอ่ืนพบว่า

สาเหตุมาจากการที่ไมโครมิเตอร์น้นั มีขนาดของสเกลเล็กมาก ทาให้เวลาอ่านคา่ น้นั ถา้ ไม่สังเกตดีๆ อาจทาให้
อ่านค่าผิดพลาดไปมาก ดงั น้นั การอ่านค่าไมโครมิเตอร์น้นั จาเป็ นตอ้ งฝึ กอ่านบ่อยๆจึงจะเกิดความชานาญ อีก
สาเหตุหน่ึงท่ีอาจทาใหน้ กั เรียนคนน้ีอ่านค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ งคือ นกั เรียนคนน้ีเป็ นคนไม่ต้งั ใจเรียนและ
ชอบหนีเรียนบ่อยคร้ัง ซ่ึงนี่ก็เป็นอีกสาเหตุหน่ึงที่ทาใหน้ กั เรียนคนน้ีอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง

4.3 ผลกำรแก้ไขพฒั นำเชิงคุณภำพและเชิงปริมำณ
จากการท่ีผูว้ ิจยั ได้ดาเนินการฝึ กทกั ษะการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก น้ัน ผูว้ ิจยั ได้นาวงจร

PAOR มาใช้ในการวิจยั ในคร้ังน้ี เร่ิมต้งั แต่การวางแผนท่ีจะทาอยา่ งไร หรือหาส่ือ หานวตั กรรมใดมาใชใ้ น
การวิจยั ซ่ึงจนกวา่ จะไดแ้ บบฝึ กเสริมทกั ษะการอ่านค่าไมโครมิเตอร์น้ัน ผูว้ ิจยั ไดท้ ดลองปรับเปล่ียนแกไ้ ข
และตรวจสอบจนถูกตอ้ งแลว้ จึงนามาใชใ้ นการวิจยั รวมไปถึงการวางแผนในการถ่ายทอดความรู้ ในช่วงเวลา
ที่เหมาะสมและมีสิ่งเร้าต่าง ๆ เพ่ือให้นกั เรียนต่ืนตวั ตลอดเวลา นอกจากน้นั ยงั ตอ้ งมีการสังเกต ถึงพฒั นาการ
ของนกั เรียนในหลาย ๆ ดา้ น ท้งั จากการถามตอบ การสอบถามเพื่อนกั เรียน และความมนั่ ใจในการตอบคาถาม
ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีลว้ นเป็นผลสะทอ้ นถึงระดบั การพฒั นาการของนกั เรียนที่ดีข้ึน

ตำรำง 4.1 ผลการฝึกทกั ษะการอา่ นคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก

ผลการฝึกทกั ษะการอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก ร้อยละ
ก่อนเรียน 12
หลงั เรียน 94

4.4 องค์ควำมรู้และนวตั กรรมทค่ี ้นพบจำกกำรดำเนินกำรวจิ ัย
ในการวิจยั คร้ังน้ี ผูว้ ิจยั ไดน้ าวธิ ีการนาไมโครมิเตอร์ไปถ่ายเอกสารให้มีขนาดใหญ่กว่าของจริง 3 เท่า

แลว้ ให้นกั เรียนฝึ กอ่านค่า ซ่ึงแบบฝึ กน้ีจะสามารถดูง่ายกวา่ ของจริง แลว้ ให้ฝึ กอ่านค่าคู่กบั ไมโครมิเตอร์ของ
จริง ซ่ึงจากผลการวจิ ยั พบวา่ วธิ ีการน้ีสามารถแกไ้ ขปัญหาการอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ระบบเมตริกในระดบั ดี

15

บทท่ี 5

สรุปผล อภปิ รำยผล และข้อเสนอแนะ

การวจิ ยั คร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อช่วยใหน้ กั เรียนช้นั ปวช. 3/2 แผนกวชิ าช่างยนต์ ท่ีมีปัญหาการอ่านค่า
ไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง จานวน 1 คน คือ นายธิวากร อุสาพรหม ให้อ่านค่าไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง ซ่ึงใน
การสรุปผลมีข้นั ตอนดงั น้ี

วตั ถุประสงค์ของปัญหำ
เพือ่ ช่วยให้นกั เรียนช้นั ปวช.3/3 แผนกวชิ าช่างยนตท์ ่ีมีปัญหาอ่านค่าไมโครมิเตอร์ไม่ถูกตอ้ ง จานวน 1

คน คือนายธิวากร อุสาพรหม ใหอ้ ่านคา่ ไมโครมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง

วธิ ีดำเนินกำรวจิ ัย
1. ศึกษาประวตั ินกั เรียนท่ีทาการวจิ ยั คือ นายธิวากร อุสาพรหม
2. ระบุปัญหาท่ีเร่งด่วน ทดลองวจิ ยั
3. สร้างเคร่ืองมือ โดยเคร่ืองมือที่ใชเ้ ป็นรูปภาพไมโครมิเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ของจริง 3 เท่า จานวน

20 แบบ
4. เลือกประชากร / กลุ่มเป้าหมายคือ นายสิทธิชยั จนั อาคะ
5. ใหน้ กั เรียนทดสอบก่อนเรียนโดยเก็บรวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมินการอา่ นค่าไมโครมิเตอร์ระบบ

เมตริกก่อนเรียน และแบบสงั เกตพฤติกรรม
6. ให้นกั เรียนฝึ กอ่านค่าไมโครมิเตอร์ของจริง แลว้ เปรียบเทียบกบั แบบฝึ กที่ครูสร้างข้ึนมา โดยเก็บ

รวบรวมขอ้ มูลจากแบบสังเกตพฤติกรรม
7. ใชว้ ธิ ีการใหเ้ พือ่ นกั เรียนสอนกนั เองแลว้ บนั ทึกในแบบสังเกตพฤติกรรม
8. ใหร้ างวลั ผูเ้ รียนเมื่อผเู้ รียนพฒั นาการที่ดีข้ึน โดยใชท้ ฤษฎีการเสริมแรง เช่น การใหค้ าชมเชย การ

ใหเ้ พ่อื นปรบมือให้ เป็นตน้
9. ให้นกั เรียนทดสอบหลงั เรียน โดยรวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมินการอ่านค่าไมโครมิเตอร์หลงั

เรียน และแบบสังเกตพฤติกรรม

สรุปผลกำรวจิ ัย
จากการวิจยั คร้ังน้ีพบว่านายธิวากร อุสาพรหม มีความสามารถในการอ่านค่าไมโครมิเตอร์ระบบ

เมตริกสูงข้ึน ไดพ้ ฒั นาความสามารถจากระดบั ปรับปรุงเป็นระดบั ดี

16

อภิปรำยผล
จากการวิจยั ในคร้ังน้ี ผูว้ ิจยั มีแนวความคิดวา่ วิธีการท่ีนามาแกไ้ ขปัญหาในคร้ังน้ี ไดผ้ ลดี เพราะจาก

ไมโครมิเตอร์ท่ีมีขนาดสเกลที่เล็ก ทาใหเ้ ป็ นปัญหาตอ่ การอ่านค่าแต่ละคร้ัง โดยเฉพาะผูท้ ี่เร่ิมเรียนใหม่ ดงั น้นั
ถา้ เราออกแบบใหม้ ีตวั อยา่ งของไมโครมิเตอร์ท่ีมีขนาดใหญ่กวา่ ของจริง ก็จะสามารถทาใหผ้ ทู้ ่ีเร่ิมเรียนสามารถ
มีความรู้ความเขา้ ใจไดง้ ่ายข้ึน
ข้อเสนอแนะ

สามารถนาวิธีการน้ีไปใช้กบั การเรียน การสอนในวชิ างานวดั ละเอียด แผนกวิชาช่างยนต์ ช่างเช่ือม
และช่างกลโรงงาน ซ่ึงใชเ้ ทคนิคการเร่ิมตน้ จากสิ่งง่ายไปหาส่ิงที่ยากข้ึน และจะทาให้นกั ศึกษามีความรู้ความ
เขา้ ใจไดง้ ่ายข้ึน

ลงช่ือ.........................................................ผวู้ จิ ยั
(นายเมฆินทร์ เช้ือวงศพ์ รหม)

17
ภำคผนวก

18

แบบประเมินกำรอ่ำนค่ำไมโครมิเตอร์ก่อนเรียน

ตารางการทดสอบการฝึกทกั ษะการอ่านคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก ก่อนเรียน

คร้ังท่ี ตอบถูก ตอบผดิ หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

รวม ร้อยละ ร้อยละ

19

แบบประเมินกำรอ่ำนค่ำไมโครมเิ ตอร์หลงั เรียน

ตารางแบบการทดสอบการฝึ กทกั ษะการอ่านคา่ ไมโครมิเตอร์ระบบเมตริก หลงั เรียน

คร้ังท่ี ตอบถูก ตอบผดิ หมายเหตุ

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

รวม ร้อยละ ร้อยละ

20

แบบบันทกึ กำรสังเกตพฤตกิ รรม คร้ังท.ี่ ..........

ชื่อ ช้ัน อำยุ เพศ

วดป. ทส่ี ังเกต สถำนที่ สถำนกำรณ์ทส่ี ังเกต ระหวา่ งสอน 30 นาที

บันทกึ

...................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................................

21
รูปภาพแสดง รูปร่างของไมโครมิเตอร์

22

เครื่องมือที่ใช้ในกำรวจิ ัย

( แบบฝึ กจำนวน 20 แบบ )

23


Click to View FlipBook Version