The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระสุตตันตปิฎกเล่ม ๑

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mcutipitaka, 2022-04-27 22:15:01

พระสุตตันตปิฎกเล่ม ๑

พระสุตตันตปิฎกเล่ม ๑

พระไตรปฎก

ฉบบั สังเขปวัณณนา

พระไตรปฎ ก เลม ที่ ๙

สถาบันพระไตรปฎ กศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

พระไตรปฎ ก

ฉบับ สงั เขปวัณณนา

พทรีฆะสนตุ ิกตานัยตสปีลฎ ขกันธเลวมรรทคี่ ๑

สถาบนั พระไตรปฎ กศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

พระไตรปฎ ก

ฉบับ สงั เขปวัณณนา

จัดทาํ โดย : ทีมสารสนเทศ สถาบันพระไตรปฎกศึกษา
เผยแพร : เมษายน ๒๕๖๕
ลิขสทิ ธ์ิ : สถาบนั พระไตรปฎ กศึกษา
พระไตรปฎ กภาษาไทย
ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
ISPN : 974-575-369-6

ขอมูลเฉพาะ

พระสุตตนั ตปฎ ก เลม ๑ : ทีฆนิกาย สลี ขันธวรรค
จาํ นวนหนา : ๒๔๗ หนา
ปท พ่ี ิมพ : พ.ศ. ๒๕๓๙
พิมพท่ี : โรงพิมพม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั

ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค

ตอนวาดวยเร่อื งกองศลี มี ๑๓ สูตร ไดแ ก
พรหมชาลสูตร สามญั ญผลสูตร อัมพัฏฐสูตร
โสณทณั ฑสูตร กูฏทันตสตู ร มหาลิสูตร ชาลยิ สตู ร

มหาสหี นาทสูตร โปฏฐปาทสูตร สุภสตู ร
เกวัฏฏสตู ร โลหิจจสูตร เตวิชชสูตร

อรรถกถา

สมุ ังคลวิลาสินี สีลขนั ธวคั คอฏั ฐกถา

ฎีกา

ลนี ตั ถัปปกาสินี สีลขันธวคั คฎกี า

1

พทรฆี ะนสิกุตาตยันสตีลปขฎนั กธเวลรมรค๑

พระสุตตันตปฎก หมายถึง ประมวลพุทธพจนหมวด
พระสูตรประกอบดวยพระธรรรมเทศนาและธรรมบรรยาย
ตางๆ ท่ตี รสั ยักเยอื้ งใหเ หมาะกบั บคุ คล เหตกุ ารณ และโอกาส
ตลอดจนบทประพนั ธ เรอ่ื งเลา และเร่อื งราวทง้ั หลายทเ่ี ปน ช้นั
เดิมในพระพุทธศาสนา

โครงสรางของพระสตู ร มอี งคประกอบ ๓ สวน คือ
๑. คําข้ึนตน หรอื ขอความเบ้อื งตน ท่ีเรียกวา นิทานวจนะ
ไดแ กข อ ความทท่ี า นพระอานนทก ลา ววา “เอวมเฺ ม สตุ ”ํ เปน ตน
ไปจนจบขอความทบี่ อกถงึ ความเปน มาของพระสตู รนั้น ๆ
๒.เนอื้ หาของพระสตู รหรอื ขอ ความทเ่ี ปน พระพทุ ธภาษติ
หรือสาวกภาษิตเปนตน ไดแกขอความท่ตี อจากนิทานวจนะ
เปนตน ไปจนถึงนิคมวจนะ
๓. คําลงทายหรือขอสรุป ที่เรียกวานิคมวจนะ ไดแก
ขอความท่ีตอ จากเนือ้ หาของพระสูตร เชน ขอ ความทขี่ ้ึนตนวา
“อิทมโวจ ภควา”

2

พระสตู รมอี งคป ระกอบครบถอื วา มคี วามงาม ๓ อยา ง คอื
(๑) งามในเบอ้ื งตนดวยนิทานวจนะ (๒) งามในทา มกลางดว ย
เน้อื หาที่เปน พระพทุ ธภาษติ หรอื สาวกภาษิต (๓) งามในท่ีสุด
ดว ยนิคมวจนะ

พระสตุ ตันตปฎ ก แบง ออกเปน ๕ นิกาย มีอักษรยอวา
ที ม สํ องฺ ขุ ไดแก

๑.ทีฆนิกาย รวบรวมพระสูตรทีม่ ีความยาวมากไวเปน
หมวดหมูเดยี วกนั

๒. มัชฌิมนิกาย รวบรวมพระสูตรที่มีความยาวปาน
กลางไวเปนหมวดหมเู ดียวกัน

๓. สังยุตตนิกาย ประมวลพระสูตรท่ีมีเนื้อหาสาระ
ประเภทเดียวกนั จดั ไวเปน หมวดเดียวกัน

๔. อังคตุ ตรนกิ าย รวบรวมพระสตู รทม่ี จี าํ นวนองคธ รรม
หรือหวั ขอ ธรรมะเทากนั เขา ไวเ ปน หมวดเดียวกนั

๕. ขทุ ทกนกิ าย จดั แยกพระสตู รทไี่ มเขา เกณฑท ง้ั ๓ ขา ง
ตนไวเ ปนหมวดเดียวกนั เรียกวา หมวดเล็กนอ ย

3

พระสุตตันตปฎ ก ทฆี นิกาย

ทฆี นกิ าย รวบรวมพระสตู รทม่ี คี วามยาวมากไวเ ปน หมวด
หมูเดยี วกนั แบง เปน ๓ วรรค มพี ระสูตรรวม ๓๔ สูตร

๑. ทฆี นิกาย สีลขันธวรรค มี ๑๓ สูตร
๒. ทีฆนิกาย มหาวรรค มี ๑๐ สูตร
๓. ทีฆนิกาย ปาฏกิ วรรค มี ๑๑ สตู ร

พระสตุ ตนั ตปฎก ทฆี นกิ าย สลี ขนั ธวรรค

ทีฆนิกาย สีลขันธวรรค มีพรหมชาลสูตรเปนพระสูตรท่ี
๑ พระสูตรนวี้ า ดวยเรอ่ื งศลี และทิฏฐิ จงึ ตง้ั ช่ือวา สีลขันธวรรค
แปลวา ตอนท่วี าดว ยกองศีล

พระสูตรในทีฆนกิ าย สีลขันธวรรค ๑๓ สตู ร ไดแก
๑. พรหมชาลสูตร พระสูตรที่วาดวยขา ยอันประเสริฐ
คําวา ขายอันประเสริฐ หมายถึง พระสัพพัญุตญาณของ
พระผมู พี ระภาคทเ่ี ปน เหตใุ หท รงรทู ฎิ ฐิหรือลทั ธิตา งๆ ซง่ึ แพร
หลายอยูในสมัยนั้นโดยแจมแจง และยังทรงรูแจงยิ่งไปกวา
นั้นอกี
ความสําคัญของพระสตู ร พระผมู พี ระภาคตรสั ถึงสาเหตุ

4

ทที่ ําใหค นสรรเสริญพระองคว า ไดแ ก ศีล ๓ ช้ัน คอื (๑) จฬู ศีล
ศลี อยา งเลก็ นอ ย (๒) มชั ฌมิ ศลี ศลี อยา งกลาง (๓) มหาศลี ศลี
อยางใหญ

๒. สามัญญผลสูตร พระสตู รทีว่ า ดวยผลแหงความเปน
สมณะ คําวา ความเปนสมณะ หมายถึงการบวชเปนภิกษุใน
พระพุทธศาสนา ในพระสูตรน้ี พระผูมีพระภาคทรงพิสูจนให
เห็นชัดวา การบวชไดผลเห็นประจกั ษ

๓. อัมพัฏฐสตู ร พระสูตรทวี่ าดว ยอมั พัฏฐมาณพ ท่ีชื่อ
อยางนี้เพราะเน้ือหาของพระสูตรน้ีเปนขอโตตอบระหวาง
พระผมู พี ระภาคกบั อมั พฏั ฐมาณพในเรอ่ื งวรรณะ เปน แบบการ
สนทนาโตตอบ สวนใหญพระผูมีพระภาคทรงซักไซไลเลียง
จนอัมพฏั ฐมาณยอมจํานนดวยหลักฐานและเหตุผล ลดทิฏฐิ
มานะลง กลบั ขอความรจู ากพระผูมีพระภาค

๔. โสณทณั ฑสตู ร พระสตู รทว่ี า ดว ยโสณทณั ฑพราหมณ
เปนขอสนทนาถาม-ตอบ ระหวางพระผูมีพระภาคกับโสณ
ทัณฑพราหมณผูมีใจเล่อื มใสในพระผมู ีพระภาคอยูกอนแลว
จากการไดยินกิตติศัพทเกี่ยวกับพุทธคุณ การสนทนาถาม-
ตอบจึงเปนไปอยางราบรื่น ไมมีขอโตแยงจากโสณทัณฑ
พราหมณ

5

๕. กูฏทันตสูตร พระสูตรท่ีวาดวยกูฏทันตพราหมณ
(กฏู ทนั ตะ แปลวา ฟน เขยนิ ) พระสตู รนเี้ ปน ขอ สนทนาระหวาง
พระผูมีพระภาคกับกฏู ทนั ตพราหมณ โดยกฏู ทนั ตพราหมณ
เปน ผถู าม พระผมู พี ระภาคเปน ผตู รัสตอบ และทรงอธิบายพิธี
บูชามหายัญ ๓ ประการ ที่มอี งคป ระกอบ ๑๖ ประการ โดยยก
เอาพิธีบูชามหายัญของพระเจามหาวิชิตราชมาตรัสเลา
ประกอบ

๖. มหาลิสูตร พระสูตรท่ีวาดวยเจาลิจฉวีช่ือมหาลิ
แควน นีป้ กครองโดยระบอบสามัคคธี รรมหรอื สาธารณรัฐ จึงมี
กษัตริยห ลายองคร วมกันปกครอง บางครง้ั มีถึง ๗,๗๐๗ องค
เจา ลิจฉวีท่ีกลาวถึงในพระสูตรนี้มีพระนามวา โอฏฐัทธะ สวน
คาํ วา “มหาล”ิ เปน ชอื่ โคตรหรอื สกลุ พระผมู พี ระภาคทรงเรยี ก
เจาลิจฉวีองคน ต้ี ามชอ่ื โคตรวา “มหาลิ” โดยตลอด พระสตู รน้ี
เปน ขอ สนทนาระหวา งพระผมู พี ระภาคกบั เจา ลจิ ฉวอี งคน เ้ี กยี่ ว
กบั เรื่องตาทิพย หทู พิ ย

๗. ชาลิยสตู ร พระสตู รที่วา ดวยชาลยิ ปรพิ าชก พระสตู ร
นเ้ี ปน ขอสนทนาโตวาทะกันระหวางพระผมู ีพระภาคกับชาลิย
ปริพาชกและเพ่ือนของเขาช่ือมัณฑิยะ ในเรือ่ งชวี ะ(วิญญาณ
อมตะหรอื อาตมนั ) กับสรีระ(รางกาย) ตางกันหรือเปนอยาง
เดยี วกนั ซงึ่ เปน ปญหาทางอภปิ รชั ญา

6

๘. มหาสหี นาทสตู ร พระสตู รทว่ี า ดว ยการบนั ลอื สหี นาท
คําวา การบันลอื สีหนาท คือการกลาวอยางองอาจกลาหาญ
ดงั พญาราชสหี คําราม พระสตู รนเี้ ปน พระพทุ ธดาํ รสั ทปี่ ระกาศ
ทาทายใหผูรูสอบสวนดูไดวา พระองคมิไดทรงคัดคานและ
ชโ้ี ทษของผบู าํ เพ็ญตบะทกุ คนวา เปน ผมู อี าชวี ะเศรา หมองโดย
สวนเดียว เพราะทรงเหน็ ดวยทิพยจกั ษุวา ผบู ําเพ็ญตบะบาง
คนตายแลวไปเกิดในอบายภูมิก็มี บางคนตายแลวไปเกิดใน
สุคติโลกสวรรคก็มี สมณพราหมณบางพวกเปนบัณฑิตมี
ทรรศนะบางอยา งตรงกับพระองคก็มี บางพวกมีทรรศนะบาง
อยางขดั แยง กับพระองคก ม็ ี แตใหว ญิ ชู นนําสวนท่ตี รงกันมา
เปรยี บเทียบกนั

๙. โปฏฐปาทสตู ร พระสตู รทวี่ า ดวยโปฏฐปาทปรพิ าชก
พระสูตรน้ีเปนขอสนทนาระหวางพระผูมีพระภาคกับโปฏฐ
ปาทปรพิ าชก วา ดว ยเร่ืองอภิสัญญานโิ รธ การดบั สญั ญาท่ียิง่
ใหญ

๑๐. สภุ สตู ร พระสตู รที่วาดว ยสุภมาณพ พระสตู รน้เี ปน
ขอสนทนาระหวางทานพระอานนทกับสุภมาณพ บุตรของ
โตเทยยพราหมณ เกี่ยวกับเร่ืองท่ีวาพระผูมีพระภาคทรง
สรรเสริญขันธ ๓ และทรงชักชวนใหประชาชนตั้งม่ันอยู
ในขนั ธ ๓

7

๑๑. เกวฏั ฏสตู ร พระสูตรท่วี า ดวยเกวฏั ฏคหบดี เปนขอ
สนทนาระหวา งพระผูมพี ระภาคกับเกวัฏฏคหบดี วา ดว ยเร่ือง
ปาฏหิ าริย ๓ อยา งคอื (๑) อิทธปิ าฏหิ าริย การแสดงฤทธต์ิ าง
ๆ ไดอ ยางนาอัศจรรย (๒) อาเทสนาปาฏหิ าริย การดักทายใจ
ผอู ่นื ไดอ ยา งนา อศั จรรย (๓) อนสุ าสนีปาฏหิ ารยิ  การพรา่ํ สอน
ทมี่ ผี ลอยา งนา อศั จรรย

๑๒. โลหจิ จสตู ร พระสตู รทว่ี า ดว ยโลหจิ จพราหมณ พระ
สูตรนี้เปนขอสนทนาระหวางพระผูมีพระภาคกับโลหิจจ
พราหมณว า ดว ยเร่อื งมิจฉาทิฏฐแิ ละศาสดาทีค่ วรติไมควรติ

๑๓. เตวชิ ชสตู ร พระสูตรทวี่ า ดวยไตรเพท วา ดว ยคมั ภรี 
สําคญั ของศาสนาพราหมณ คอื ฤคเวท ยชรุ เวท และสามเวท
วาดวย “พราหมณผูรูไตรวิทยาเคยเห็นพระพรหมหรือไม ”
และวา ดวยวธิ ีเขา อยรู ว มกบั พระพรหม.

8

พระสุตตันตปฎก เลมท่ี ๑
ทีฆนกิ าย สีลขนั ธวรรค

จบ


Click to View FlipBook Version