พระไตรปฎก
ฉบบั สงั เขปวณั ณนา
พระไตรปฎ ก เลมที่ ๘
สถาบันพระไตรปฎ กศึกษา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั
พระไตรปฎก
ฉบบั สงั เขปวัณณนา
พระวนิ ยั ปปรฎวิ ากรเลม ที่ ๘
สถาบันพระไตรปฎ กศึกษา
มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
พระไตรปฎก
ฉบับ สงั เขปวัณณนา
จดั ทําโดย : ทีมสารสนเทศ สถาบนั พระไตรปฎกศกึ ษา
เผยแพร : เมษายน ๒๕๖๕
ลิขสิทธิ์ : สถาบนั พระไตรปฎกศึกษา
พระไตรปฎ กภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
ISPN : 974-575-369-6
ขอมลู เฉพาะ
พระวนิ ยั ปฎ ก เลม ๘ : ปริวาร
จํานวนหนา : ๗๒๑ หนา
ปท ่พี ิมพ : พ.ศ. ๒๕๓๙
พิมพท ่ี : โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
ปริวาร
วาดวยหมวดพระบาลที ่ีจัดเปนหมวดหมูไว
เพื่อใหก ลุ บตุ รเกดิ ความฉลาดในสว นตางๆ มีอาบัตเิ ปนตน
ทไี่ ดก ลาวมาแลวทงั้ ในมาติกาและในวภิ งั ค
คัมภีรปริวารเปนคูม ือบรรจคุ าํ ถามคําตอบ
สําหรบั ซอมความรูพ ระวนิ ัยตัง้ แตเลมท่ี ๑-๗
เปน คัมภรี ทป่ี ระมวลเนอ้ื หาทีส่ ําคญั ตา ง ๆ
จัดเปน หัวขอ ๒๑ ขอ
อรรถกถา
สมนั ตปาสาทกิ า, วนิ ยสงั คหอฏั ฐกถา
ฎีกา
สารัตถทปี นี
1
พระวนิ ปยั รปิวฎากร เลม ๘
คําวา “ปริวาร” หมายถึง หมวดพระบาลีท่ีพระธรรม-
สงั คาหกาจารยย กขนึ้ สงั คายนาตอ จากพระบาลขี นั ธกะ จดั เปน
หมวดหมูไวเพ่ือใหกุลบุตรเกิดความฉลาดในสวนตางๆ มี
อาบัติเปน ตน ทไ่ี ดก ลาวมาแลว ท้ังในมาติกาและในวิภังค
การเรียกช่ือวา “ปริวาร” เพราะเปรียบเหมือนกับเปน
ภาคผนวกของพระบาลีวิภังค และพระบาลีขันธกะ ดุจพระ
อรหันตขีณาสพเปน บรวิ ารติดตามพระพทุ ธองค
พระพทุ ธเจา ทรงมีธรรมขนั ธเ ปน พระสรรี ะ มีพระอรหนั ต
ขีณาสพเปน บรวิ าร สว นพระวนิ ัยมีมาติกา (พระวินัยปฎกเลม
ท่ี ๑ เลม ท่ี ๒ เลมที่ ๓) และขนั ธกะ (พระวนิ ยั ปฎ กเลม ท่ี ๔ เลม
ท่ี ๕ เลม ที่ ๖ เลมท่ี ๗) เปนสรีระ มีคัมภรี ปริวารเปนบริวาร
เนื้อหาโดยยอแหงคัมภีรป ริวาร
คัมภีรปริวารน้ี เปนคัมภีรประกอบหรือคูมือท่ีรวบรวม
คําถามคําตอบสําหรับซอมความรูพระวนิ ยั ตัง้ แตเลม ท่ี ๑ ถึง
2
เลม ท่ี ๗ เปน คมั ภรี ทป่ี ระมวลเนื้อหาทส่ี ําคัญตางๆ มากลาวไว
จดั เปน หวั ขอ ๒๑ ขอดวยกนั คือ
๑. ภิกขุวภิ ังคโสฬสมหาวาร วาดวยวาระใหญ ๑๖ วาระ
ในภกิ ขวุ ิภังค
๒. ภกิ ขุนวี ภิ งั คโ สฬสมหาวาร วา ดว ยวาระใหญ ๑๖ วาระ
ในภกิ ขนุ ีวิภงั ค
๓. สมุฏฐานสีสสงั เขป วาดวยการยอหวั ขอ สมุฏฐาน
๔. อันตรเปยยาล วาดว ยการละขอความในระหวา ง
๕. สมถเภท วา ดว ยประเภทแหงสมถะ
๖. ขันธกปจุ ฉาวาร วาดวยวาระคาํ ถามและคาํ ตอบถึง
ขนั ธกะ
๗. เอกตุ ตริกนัย วา ดว ยนัยเกินหน่ึง
๘. อุโปสถาทิปจุ ฉาวสิ ัชชนา วาดว ยคาํ ถามคาํ ตอบเรื่อง
อโุ บสถเปนตน
๙. อตั ถวสปกรณ วาดวยอํานาจประโยชน ๑๐ ประการ
๑๐. คาถาสงั คณิกะ วาดวยกลุมคาถา
๑๑. อธิกรณเภท วา ดวยประเภทแหง อธิกรณ
3
๑๒. อปรคาถาสงั คณิกะ วา ดวยกลมุ คาถาอีกกลุมหนึ่ง
๑๓. โจทนากัณฑ วาดว ยหมวดการโจท
๑๔. จูฬสงคราม วาดวยภกิ ษผุ ูเขา สจู ูฬสงคราม
๑๕. มหาสงคราม วาดว ยภกิ ษผุ ูเ ขาสมู หาสงคราม
๑๖. กฐินเภท วา ดว ยประเภทแหง กฐนิ
๑๗. อปุ าลิปญ จกะ วา ดว ยเรอ่ื งพระอุบาลี ๕ หมวด
๑๘. อัตถาปต ติสมฏุ ฐาน วา ดว ยสมฏุ ฐานอาบัตทิ ่ีมอี ยู
๑๙. ทตุ ยิ คาถาสังคณิกะ วา ดว ยกลุม คาถากลุมท่ี ๒
๒๐. เสทโมจนคาถา วาดวยคาถาที่ทาํ ใหเหงื่อแตก
๒๑. ปญจวรรค วา ดว ยหมวด ๕ หมวด
ทง้ั ๒๑ หวั ขอใหญน ี้ บางขอ กม็ ขี อยอ ยมาก บางขอกม็ ขี อ
ยอยนอย
การศกึ ษาคมั ภีรปรวิ ารแหง พระวนิ ยั ปฎ ก จะทําใหเปน ผู
ฉลาดรอบรูตามที่ทาน กลาวเปนคาถาสรปุ ไวดงั นี้
ก็พระวนิ ัยธร ผเู รอื งนาม มีปญญามาก ทรงสุตะ
มีวิจารณญาณ ถามแนวทางของทา นบรู พาจารยในที่นน้ั ๆ
4
คดิ แลว ใหเขียนขอ พิสดารและสงั เขปนไี้ วในสายกลาง
ตามแนวทางทว่ี างไวจ ะนาํ ความสะดวกมาใหแกเ หลาศษิ ย
คัมภีรน้เี รยี กวา “ปริวาร” มีทกุ เรือ่ งพรอ มทง้ั ลกั ษณะ
มีอรรถโดยอรรถในสทั ธรรม มธี รรมโดยธรรมในบัญญัติ
หอมลอมพระศาสนา ดุจสาครลอมรอบชมพทู วปี ฉะนั้น
พระวนิ ัยธรเมือ่ ไมร คู ัมภีรป รวิ าร ไฉนจะวินจิ ฉยั ธรรมได
ความเคลือบแคลงของพระวนิ ัยธรท่ีเกิดใวิบัติ วตั ถุ บัญญตั ิ
อนุบญั ญตั ิ บุคคล เอกโตบญั ญัติ อภุ โตบัญญตั ิ โลกวัชชะ
และปณ ณัตติวัชชะ ยอมขาดสนิ้ ไปดว ยคมั ภีรปริวาร
พระเจา จกั รพรรดิสงา งามในกองทพั ฉันใด
ไกรสรสงางามในทามกลางฝงู มฤค ฉันใด
พระอาทิตยแผส รานดวยรัศมเี จดิ จา ฉันใด
พระจันทรส องสวา งงดงามในหมดู าว ฉันใด
พระพรหมสงา งามในหมพู รหม ฉนั ใด
ทา นผูนาํ สงา งามในทา มกลางหมูชน ฉันใด
พระสัทธรรมและพระวินัยยอ มสงา งามดว ยคัมภีรป รวิ าร
ฉันนัน้ แล.
5
พระวินัยปฎ ก เลม ที่ ๘
ปรวิ าร
จบ