The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระอภิธรรมปิฎกเล่ม ๕-๖

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mcutipitaka, 2022-05-11 21:40:30

พระอภิธรรมปิฎกเล่ม ๕-๖

พระอภิธรรมปิฎกเล่ม ๕-๖

พระไตรปฎก

ฉบับ สังเขปวณั ณนา

พระไตรปฎก เลมที่ ๓๘-๓๙

สถาบันพระไตรปฎกศึกษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั

พระไตรปฎก

ฉบบั สังเขปวณั ณนา

พระอภิธรรมยปมฎกก เลมท่ี ๕-๖

สถาบนั พระไตรปฎ กศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั

พระไตรปฎ ก

ฉบับ สงั เขปวัณณนา

จัดทําโดย : ทมี สารสนเทศ สถาบันพระไตรปฎ กศึกษา
เผยแพร : เมษายน ๒๕๖๕
ลิขสิทธ์ิ : สถาบันพระไตรปฎกศกึ ษา
พระไตรปฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ISPN : 974-575-369-6

ขอมลู เฉพาะ

พระอภธิ รรมปฎ ก เลม ๕-๖ : ยมก
จาํ นวนหนา : ๑,๕๐๓ หนา
ปท พ่ี ิมพ : พ.ศ. ๒๕๓๙
พิมพท ่ี : โรงพิมพม หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ยมก

พระพุทธเจา ทรงยกสภาวธรรม ๑๐ หมวด ไดแ ก
(๑) มลู ธรรม (๒) ขนั ธ (๓) อายตนะ (๔) ธาตุ

(๕) สจั จะ (๖) สงั ขาร (๗) อนุสัย (๘) จิต
(๙) กุสลตกิ ธรรม (๑๐) อินทรีย

พทุ ธองคทรงใชว ธิ ีการแสดงแบบอนโุ ลมและแบบปฏโิ ลม
สลับกนั เปน คๆู แตละคปู ระกอบดว ย
(๑) อนโุ ลมปจุ ฉาและวิสชั นา
(๒) ปฏโิ ลมปจุ ฉาและวสิ ชั นา

อรรถกถา

ปญ จปกรณอัฏฐกถา

ฎีกา

ปญจปกรณมลู ฎีกา, ปญจปกรณอนฎุ ีกา

1

พระอภิธรรมยปมฎกก เลม ท่ี ๕-๖

คําวา ยมก แปลวา คู หมายถึง สภาวธรรมทพ่ี ระพทุ ธเจา
ทรงยกขึ้นแสดงดวยวิธีการแหงยมก คือทรงแสดงเปนคูๆ
สภาวธรรม ๑๐ หมวดที่ทรงยกขน้ึ แสดงเปน คๆู ไดแ ก (๑) มูล
ธรรม (๒) ขันธ (๓) อายตนะ (๔) ธาตุ (๕) สัจจะ (๖) สังขาร
(๗) อนุสัย (๘) จติ (๙) กุสลตกิ ธรรม (๑๐) อินทรยี 

วิธีการแหงยมก หมายถึง พระพุทธเจาทรงแสดงแบบ
อนุโลม(ตามลาํ ดบั ) และแบบปฏโิ ลม(ทวนลําดับ) สลบั กันเปน
คูๆ แตละคูประกอบดวย (๑) อนุโลมปุจฉาและวิสัชนา (๒)
ปฏโิ ลมปจุ ฉาและวิสัชนา

การจัดแบงเนอ้ื หาในคมั ภรี ย มก
ในคัมภีรย มกน้ี มโี ครงสรา งเน้ือหาประกอบดว ย
๑. มูลยมก หมายถึง ยมกท่ีวาดวยหมวดสภาวธรรมท่ี
เปนมูล มอี งคธ รรม ๔ หมวด ไดแก (๑) กศุ ลบทคอื กุศลมลู ๓
(๒) อกศุ ลบทคอื อกศุ ลมลู ๓ (๓) อพั ยากตบทคืออพั ยากตมลู

2

๓ (๔) นามบทคือนามมลู ๙
มูลยมกมี ๔ นยั คอื (๑) มูลนยั นยั ทวี่ าดว ยสภาวธรรมที่

เปน มลู (๒) มูลมูลนยั นยั ทวี่ า ดวยสภาวธรรมทีม่ ีมลู ท่เี ปน มลู
(๓) มูลกนัย นัยท่วี า ดว ยสภาวธรรมทม่ี ีมลู (๔) มลู มลู กนยั นัย
ทว่ี า ดว ยสภาวธรรมท่มี มี ลู เปน มลู ในแตล ะนยั ยงั แบง ยอ ยออก
เปน นัยละ ๓ อยาง เชน มลู นัย แบง ยอ ยเปน มลู นัย เอกมูลนยั
และอัญญมญั ญมลู นัย

ในมูลยมกมีวารใหญ ๒ วารคือ (๑) อุทเทสวาร วารท่ยี ก
ประเดน็ ปญ หาขนึ้ ถาม (๒) นทิ เทสวาร วารทน่ี าํ ประเดน็ ปญ หา
มาตอบ และในแตวารยังแบงยอยออกไปอีกอยางละ ๑๐ คือ
(๑) มูลวาร (๒) เหตุวาร (๓) นิทานวาร (๔) สมั ภววาร (๕)
ปภววาร (๖) สมุฏฐานวาร (๗) อาหารวาร (๘) อารัมมณวาร
(๙) ปจจยวาร (๑๐) สมทุ ยวาร

๒. ขันธยมก หมายถึง ยมกท่ีวาดวยหมวดขันธ องค
ธรรมคือขันธ ๕ มี ๒ นยั คือ (๑) อนโุ ลมนัย ไดแก นยั ทว่ี า ดว ย
ขนั ธ ๕ ตามลําดบั ไมม ีการปฏิเสธ (๒) ปจจนีกนยั ไดแ ก นัยท่ี
วาดวยขนั ธ ๕ เชิงปฏิเสธ

ในขันธยมกนี้ มี ๒ วารใหญประกอบดวยอุทเทสวาร
และนิทเทสวารเชนเดียวกนั และใน ๒ วารใหญน้ี ยังแบงยอ ย

3

ออกเปน (๑) ปณ ณัตติวาร ถามปญ หาระดับญาตปรญิ ญา (๒)
ปวตั ตวิ าร ถามปญ หาระดบั ตรี ณปรญิ ญา (๓) ปรญิ ญาวาร ถาม
ปญ หาระดับปหานปรญิ ญา

๓. อายตนยมก หมายถึง ยมกทวี่ าดวยหมวดอายตนะ
องคธรรมคืออายตนะ ๑๒ มี ๒ นัย คือ (๑) อนุโลมนัย (๒)
ปจจนีกนัย มีรายละเอียดเหมือนกับขันธยมกทุกประการ
เปลีย่ นแตจ ากเนอ้ื หาวา ดวยขันธเ ปนอายตนะ

ในอายตนยมกน้ี มี ๒ วารใหญ คือ อุทเทสวารและนิท
เทสวาร และใน ๒ วารใหญยังแบง ยอ ยออกเปน (๑) ปณณตั ติ
วาร (๒) ปวตั ตวิ าร (๓) ปริญญาวาร

๔. ธาตยุ มก หมายถงึ ยมกทว่ี า ดว ยหมวดธาตุ องคธ รรม
คือธาตุ ๑๘ มี ๒ นัย คือ (๑) อนุโลมนัย (๒) ปจ จนีกนัย ราย
ละเอียดเหมือนกับขันธยมกและอายตนยมกทุกประการ
เปลยี่ นแตจ ากเน้ือหา

ในอายตนยมกน้ี มี ๒ วารใหญ คืออุทเทสวารและนทิ เท
สวาร และใน ๒ วารใหญ ยงั แบงยอยออกเปน (๑) ปณ ณัตติ
วาร (๒) ปวตั ติวาร (๓) ปรญิ ญาวาร

๕. สัจจยมก หมายถึง ยมกท่ีวาดวยหมวดสัจจะ องค
ธรรมคอื อรยิ สัจ ๔ มนี ัยและวารเหมอื นกับยมกท่ผี านมา

4

๖. สงั ขารยมก หมายถึง ยมกทว่ี า ดว ยหมวดสงั ขาร องค
ธรรมคือกายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร มีนัยและวาร
เหมอื นกบั ขนั ธยมก

๗. อนสุ ยยมก หมายถงึ ยมกทว่ี า ดวยหมวดอนุสัย องค
ธรรมคืออนุสัย ๗ มีกามราคานุสัยเปนตน มีอวิชชานุสยั เปน
ท่ีสุด

๘. จติ ตยมก หมายถึง ยมกท่วี า ดวยหมวดจิต องคธรรม
คอื จิต ๘๙ (โดยพสิ ดาร ๑๒๑) ประกอบดว ย อกุศล ๑๒ กศุ ล-
จติ ๒๑ (โดยพิสดาร ๓๗) วิปากจิต ๓๖ (โดยพสิ ดาร ๕๒) และ
กริ ยิ าจิต ๒๐

จิตตยมกมีวาร ๒ คือ อุทเทสวารและนิทเทสวาร และ
แบง ยอ ยออกไปเปน อยา งละ ๓ วาร ประกอบดว ย (๑) สทุ ธจติ ต
สามัญญะ (๒) สตุ ตันตจติ ตมสิ สกวเิ สส (๓) อภธิ มั มจิตตมสิ สก
วิเสส

๙. ธัมมยมก หมายถึง ยมกทว่ี าดวยหมวดสภาวธรรม
ในกุสลติกะ องคธรรมคือกศุ ลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากต
ธรรม มี ๒ วารใหญ คอื อุทเทสวารและนิทเทสวาร แบงยอ ย
ออกไปอยางละ ๓ วารประกอบดวย (๑) ปณณัตติวาร (๒)
ปวตั ติวาร (๓) ภาวนาวาร

5

๑๐. อินทรยิ ยมก หมายถงึ ยมกท่วี า ดว ยหมวดอินทรีย
องคธรรมคืออนิ ทรีย ๒๒ มจี ักขุนทรยี เปนตน มีอัญญาตา-
วนิ ทรยี เปน ท่สี ุด อนิ ทรียแบงเปน ๓ ประเภท ไดแ ก

(๑) รูปธรรม คือ จักขุนทรีย โสตินทรีย ฆานินทรีย
ชิวหินทรีย กายินทรีย อิตถินทรีย (อิตถีภาวรูป) ปุริสินทรีย
(ปุริสภาวรูป)

(๒) นามธรรม คอื มนนิ ทรยี  สขุ นิ ทรยี  ทกุ ขนิ ทรยี  โสมนสั
สินทรีย โทมนัสสินทรีย อุเปกขินทรยี  สัทธนิ ทรีย วิริยินทรีย
สตินทรีย สมาธินทรีย ปญญินทรีย อนัญญาตัญญัสสามี-
ตนิ ทรีย อญั ญินทรยี  อญั ญาตาวินทรยี 

(๓) รปู ธรรมและนามธรรม คือ ชวี ติ ินทรีย โดยแบงเปน
รูปชีวติ นิ ทรยี แ ละอรูปชีวิตนิ ทรีย โดยหลกั การ มวี ารใหญแ ละ
ยอยเหมือนกับขันธยมก แตโดยรายละเอียดมีสวนท่ีตางกัน
บางตอน

6

พระอภธิ รรมปฎ ก เลมท่ี ๕-๖
ยมก
จบ


Click to View FlipBook Version