พระไตรปฎก
ฉบับ สงั เขปวัณณนา
พระไตรปฎ ก เลม ที่ ๑๑
สถาบนั พระไตรปฎ กศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
พระไตรปฎ ก
ฉบบั สังเขปวณั ณนา
พรทะฆี สนุติกตาันยตปปาฎ ฏกกิ เวลรม รทคี่ ๓
สถาบนั พระไตรปฎกศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
พระไตรปฎก
ฉบับ สงั เขปวัณณนา
จดั ทําโดย : ทมี สารสนเทศ สถาบนั พระไตรปฎ กศึกษา
เผยแพร : เมษายน ๒๕๖๕
ลขิ สิทธ์ิ : สถาบันพระไตรปฎ กศกึ ษา
พระไตรปฎกภาษาไทย
ฉบบั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
ISPN : 974-575-369-6
ขอมลู เฉพาะ
พระสุตตันตปฎก เลม ๑ : ทีฆนกิ าย ปาฏิกวรรค
จาํ นวนหนา : ๔๓๘ หนา
ปท พ่ี ิมพ : พ.ศ. ๒๕๓๙
พมิ พท ี่ : โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
ทฆี นิกาย ปาฏิกวรรค
ตอนวาดวยปาฏกิ สูตรเปน ตน มี ๑๑ สตู ร ไดแ ก
(๑) ปาฏกิ สตู ร (๒) อุทุมพริกสตู ร (๓) จักกวัตติสูตร
(๔) อคั คัญญสตู ร (๕) สมั ปสาทนียสตู ร (๖) ปาสาทิกสตู ร
(๗) ลกั ขณสูตร (๘) สงิ คาลกสูตร (๙) อาฏานาฏยิ สูตร
(๑๐) สงั คีติสูตร (๑๑) ทสุตตรสตู ร
อรรถกถา
สุมงั คลวลิ าสินี ปาฏิกวัคคอฏั ฐกถา
ฎีกา
ลีนัตถปั ปกาสนิ ี ปาฏกิ วคั คฎีกา
1
พทระฆี สนุติกตาันยตปปาฎฏกิกวเลรรมค๓
คําวา ปาฏิกวรรค แปลวา หมวดวาดวยปาฏิกสูตร ช่ือ
หมวดต้ังตามช่อื พระสตู รที่ ๑ ของวรรคนี้
ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค มพี ระสูตร ๑๑ สตู ร ไดแก
๑. ปาฏิกสูตร พระสูตรวาดวยนักบวชเปลือยช่ือปาฏิก
บุตร เปนนักบวชเปลอื ยคนท่ี ๓ ในจํานวนนักบวชเปลือย ๓
คนทป่ี รากฏในพระสูตรนี้ พระสูตรนวี้ า ดว ยเรอ่ื งทท่ี รงเลา การ
สนทนาถาม-ตอบ ระหวางพระผูมีพระภาคกับเจาสุนักขัตตะ
ลิจฉวีบุตร เรื่องอิทธิปาฏิหาริย และเรื่องทฤษฎีวาดวยตน
กาํ เนดิ ของโลก
๒. อุทุมพริกสูตร พระสูตรวาดวยการบันลือสีหนาทที่
อุทมุ พริการาม พระผูมีพระภาคทรงประกาศพระสัพพัญตุ
ญาณ เพอื่ จะทรงปราบมจิ ฉาทฏิ ฐขิ องนโิ ครธปรพิ าชก แบง เปน
ภาคอทุ เทสและภาคนิทเทส
๓. จักกวัตติสูตร พระสูตรวาดวยพระเจาจักรพรรดิ
หมายถึงกษัตราธิราชผูไดรับมูรธาภิเษกแลว ทรงประพฤติ
2
ธรรมที่เรียกวา จักรวรรดิวัตร อันเปน เหตุใหแกว ๗ ประการ
มจี กั รแกว เปน ตน เกดิ ขน้ึ และทรงใชจ กั รนแี้ ผพ ระราชอาณาจกั ร
ปราบปรปก ษจ นมีเมืองขนึ้ ทั้ง ๔ ทศิ โดยทรงประสงคใ หผฟู ง
พึ่งตนพึ่งธรรม ไมพึ่งส่ิงอื่น เพราะการพึ่งตนพึ่งธรรมทําให
เจริญดว ยอายุ วรรณะ สขุ ะ โภคะ และพละ ทาํ ใหมารขัดขวาง
ความเจริญไมไ ด
๔. อัคคัญญสตู ร พระสูตรวา ดวยตน กําเนดิ ของโลก พระ
ผูมีพระภาคทรงแสดงแกสามเณรช่ือวาเสฏฐะและสามเณร
ชอ่ื ภารทวาชะ ทรงช้แี จงใหเ ขา ใจวาพวกพราหมณไ มร เู รอ่ื งเกา
หรือความเปนมาของวรรณะ ๔ ตามความเปนจริง แบงเปน
ภาคอทุ เทสและภาคนิทเทส
๕. สมั ปสาทนยี สตู ร พระสตู รวา ดวยความเล่อื มใสยงิ่ ใน
พระผูมีพระภาค หมายถึงความเลอ่ื มใสของทา นพระสารีบตุ ร
ทบ่ี นั ลอื สหี นาท ประกาศพระพทุ ธคณุ ดว ยอาสภวิ าจา ณ เบอ้ื ง
พระพักตรข องพระผมู ีพระภาค เพือ่ กราบทูลความรูสึกสาํ นึก
ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ทพ่ี ระผมู พี ระภาคประทานแกท า นและ
ความเลือ่ มใสอันยิง่ ใหญทีท่ านมตี อพระองค
๖. ปาสาทิกสูตร พระสูตรวาดวยเหตุใหเกิดความ
เลื่อมใส พระผูพระภาคทรงแสดงธรรมบรรยายอยู ทานพระ
3
อุปวาณะซ่ึงยืนถวายงานพัดอยู ณ เบ้ืองพระปฤษฎางคของ
พระองค เกิดความเล่ือมใสอยางยิ่ง จนทนไมได จึงกราบทูล
แสดงความรสู กึ ของทาน ออกมา และทลู ถามวา ธรรมบรรยาย
นี้ ชอ่ื อะไร ตรสั ตอบวา ชือ่ ปาสาทกิ ะ แบง เปน ภาคอทุ เทสและ
ภาคนิทเทส
๗. ลักขณสูตร พระสูตรวาดวยลักษณะมหาบุรุษ ๓๒
ประการ พระผูมีพระภาคทรงแสดงเพือ่ ใหภ กิ ษุเหลา น้ันทราบ
ความเปน มาของลกั ษณะมหาบุรุษของพระองคเอง แบงเปน
ภาคอทุ เทสและภาคนทิ เทส
๘. สิงคาลกสตู ร พระสตู รวา ดวยสิงคาลกมาณพ พระผู
มพี ระภาคทรงแสดงแกมาณพชอ่ื สิงคาลกะ เพอื่ ทรงแนะนําให
ไหวท ศิ ตามแบบของอรยิ วนิ ยั (แบบพทุ ธ) แบง เปน ภาคอทุ เทส
และภาคนิทเทส
๙. อาฏานาฏยิ สตู ร พระสูตรวาดว ยมนตเ ครอ่ื งรกั ษาชอ่ื
อาฏานาฏิยะ คําวา อาฏานาฏิยะ เปนชือ่ ปรติ รหรือบทสวด
มนตบทหนึง่ อาฏานาฏยิ สูตร มี ๒ แบบ คอื ตอนตนของแตละ
ภาณวาร เปนคําบรรยายแบบเลาเร่ืองดวยคาํ รอยแกว ตอนท่ี
๒ ตวั มนตอาฏานาฏิยปรติ รเปน คาํ รอ ยกรองผสมกับคํารอย
แกว
4
๑๐. สังคตี สิ ตู ร พระสตู รวา ดว ยการสังคายนา พระสารี
บุตรแสดงแกภ ิกษุจํานวน ๕๐๐ รูป ปรารภวา เพราะศาสดา
สอนไวไมดี จึงทําใหสาวกตีความคําสอนแตกตางกัน สวน
พระธรรมวินัยของพระศาสนาน้ี พระผูมีพระภาคตรัสสอนไว
ดีแลว และเสนอใหเ พอ่ื นพรหมจารขี องทานรวมกันสังคายนา
พระธรรมวนิ ยั น้ี เพอื่ ใหด าํ รงอยไู ดน าน ไมค วรทะเลาะววิ าทกนั
ในเรื่องพระธรรมวินยั
๑๑. ทสตุ ตรสตู ร พระสตู รวา ดว ยธรรม ๑ ถงึ ๑๐ ประการ
คําวา ทสตุ ตระ มาจากคํา ๒ คํา คือ ทส แปลวา ๑๐ + อุตตฺ ร
แปลวา ยงิ่ , เหนือ, เบอื้ งบน เปนตน รวมกนั แปลวา ยง่ิ กวา ๑๐
เกิน ๑๐ หรือสูงสุดแค ๑๐ ก็ได พระสารีบุตรแสดงแกภิกษุ
จํานวน ๕๐๐ รูป โครงสรา งของพระสูตรนปี้ ระกอบดวยสวน ๒
สวน คอื (๑) มาติกา (๒) หมวด ธรรม มาตกิ ามี ๑๐ บท และ
หมวดธรรมกม็ ี ๑๐ หมวด
5
พระสุตตนั ตปฎก เลม ท่ี ๓
ทฆี นิกาย สลี ขันธวรรค
จบ