พระไตรปฎก
ฉบับ สงั เขปวัณณนา
พระไตรปฎก เลม ที่ ๓๔
สถาบนั พระไตรปฎ กศกึ ษา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั
พระไตรปฎ ก
ฉบบั สังเขปวัณณนา
พระอภิธธัมรรมมสปังฎคกณเี ลม ท่ี ๑
สถาบนั พระไตรปฎกศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั
พระไตรปฎ ก
ฉบับ สงั เขปวณั ณนา
จดั ทาํ โดย : ทมี สารสนเทศ สถาบนั พระไตรปฎกศึกษา
เผยแพร : เมษายน ๒๕๖๕
ลขิ สิทธิ์ : สถาบนั พระไตรปฎกศึกษา
พระไตรปฎกภาษาไทย
ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย
ISPN : 974-575-369-6
ขอ มลู เฉพาะ
พระอภิธรรมปฎก เลม ๑ : ธัมมสังคณี
จํานวนหนา : ๓๘๘ หนา
ปท่พี ิมพ : พ.ศ. ๒๕๓๙
พิมพท ี่ : โรงพิมพมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
ธมั มสังคณี
คัมภรี ทป่ี ระมวลสภาวธรรมหรอื ปรมตั ถธรรมลว น ๆ
เนอื้ หาแบงเปน ๒ สว น ไดแก
๑. มาติกา : ติกมาตกิ า ทกุ มาตกิ า และสุตตนั ติกทุกมาติกา
๒. กัณฑ : จิตตปุ ปาทกณั ฑ รปู กัณฑ นกิ เขปกัณฑ
อัฏฐกถากัณฑ
อรรถกถา
อัฏฐสาสินิีอฏั ฐกถา
ฎกี า
ธมั มสงั คณมี ูลฎีกา
ธมั มสงั คณอี นุฎกี า
1
พระอภธิธัมรรมมสปังฎคกณเี ลมท่ี ๑
พระพทุ ธพจนใ นสว นทเ่ี ปน พระอภธิ รรม เมอื่ มกี ารบนั ทกึ
เปนอักษรแลว ไดรบั การจัดระบบเปนพระอภิธรรม ๗ คัมภีร
ดังนี้
๑. ธัมมสงั คณี เปนคัมภีรรวบรวมปรมัตถธรรมไวเปน
หมวดหมตู นเลม แสดงมาติกาอันไดแ กบทท่ีเปน หัวขอ ธรรม
ทั้งหลายทจ่ี ดั เปน ชุดๆ เรยี กวา ติกะ มีตกิ ะ ละ ๓ บท เชน จดั
ทุกสิ่งทกุ อยางประดามีเปนกุศลธรรม อกุศลธรรม อัพยากต
ธรรม ชดุ หนง่ึ เปนอดตี ธรรม อนาคตธรรม ปจจุบันธรรม ชดุ
หน่ึง และชดุ ทเ่ี รียกวา ทุกะ มที กุ ะ ละ ๒ บท เชน จดั ทกุ สิง่ ทกุ
อยา งเปน สงั ขตธรรม อสงั ขตธรรม ชดุ หนงึ่ รปู ธ รรม อรปู ธ รรม
ชดุ หนงึ่ โลกยิ ธรรม โลกตุ ตรธรรม ชดุ หนึ่ง รวมทัง้ หมด มี ๑๖๔
ชุด หรือ ๑๖๔ มาตกิ า
จากนัน้ ขยายความมาตกิ าท่ี ๑ เปน ตวั อยา ง แสดงใหเ หน็
กศุ ลธรรม อกุศลธรรม และอัพยากตธรรม ท่ีกระจายออกไป
โดย จิต เจตสิก รูป และนิพพาน แลวสงเคราะหเขาในขันธ
อายตนะ ธาตุเปนตน เพื่อแสดงความเปนนิสสัตต นิชชวี ธรรม
2
เทานั้น ทายเลมอีก ๒ บท แสดงคําอธิบายยอหรือคําจํากัด
ความ ตลอดจนถึงสภาวธรรมทั้งหลาย ในมาติกาท่ีกลาวถึง
ขางตนจนครบ ๑๖๔ มาติกา
๒. วิภังค เปนคมั ภีรแ จกหรอื กระจายปรมตั ถธรรมออก
เปนสวนๆ คอื ยกหลักธรรมสําคัญๆ ขน้ึ มาแจกแจงแยกแยะ
อธิบายกระจายออกใหเหน็ ทุกแงจ นชดั เจนจบเปนเร่ืองๆ ไป
เร่ืองท่ียกมาอธิบายมี ๑๘ เร่ือง ไดแก ขันธ ๕ อายตนะ ๑๒
ธาตุ ๑๘ สัจจะ ๔ อนิ ทรีย ๒๒ ปฏิจจสมุปบาท สติปฏฐาน ๔
สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ โพชฌงค ๗ มรรค ๘ ฌาน
อัปปมญั ญา ศีล ๕ ปฏิสมั ภทิ า ๔ ญาณ ประเภทตา งๆ รวมทั้ง
เรื่องเบ็ดเตล็ดซึ่งเปนฝายอกุศลธรรมในขุททกวัตถุและธัมม
หทยวิภงั ค
๓. ธาตกุ ถา เปน คัมภรี ท ่ีแสดงปรมัตถธรรมดว ยมาตกิ า
๕ ประการ มีนยมาติกาเปน ตน มีพาหริ มาติกาเปน ปริโยสาน
โดยยึดนยมาติกาเปน แกนในการแสดง
๔. ปุคคลบัญญัติ เปนคัมภีรท่ีแสดงปรมัตถธรรม โดย
บัญญัติ ๖ ประการ ดวยการยกบคุ คลขึน้ แสดงมากกวาสงิ่ อ่ืน
๕. กถาวัตถุ เปนคัมภีรท่แี สดงพระอภิธรรมดวยวธิ ียก
วาทะขึ้นโตตอบ โดยทํานองปุจฉาวิสัชนา เปนเร่ืองตางๆ มี
3
๑,๐๐๐ เรอ่ื ง แบง เปน สกวาทะ ๕๐๐ ปรวาทะ ๕๐๐
๖. ยมก เปนคัมภีรท่ียกปรมัตถธรรมขึ้นแสดงเปนคูๆ
มีอนุโลมปุจฉาและปฏิโลมปุจฉาเปนตน ในหมวดธรรม ๑๐
ประการ มมี ูลยมก ขันธยมกเปนตน
๗. ปฏ ฐาน เปนคัมภรี ท ่แี สดงปจจัย ๒๔ โดยยกปรมตั ถ
ธรรมท่ีอยูภายในมาติกาบทที่เรียกวา ติกะ ทุกะ ข้ึนแสดง
อยา งพสิ ดาร แจกแจงหมนุ ไปตามธรรมนยั ๔ มหาวาระ ๗ และ
ปจ จยนัย ๔
คมั ภีรธ มั มสงั คณี
ธัมมสงั คณี หมายถึง คัมภีรที่ประมวลสภาวธรรมหรอื
ปรมัตถธรรมลวนๆ มาไวเปนหมวดหมู อีกนยั หนึง่ หมายถึง
คัมภีรท่ีแสดงการนับจํานวนสภาวธรรม ในธัมมสังคณีน้ีมี
ความหมายวาสภาวธรรมท่ีมีปรากฏตามความเปนจริง อัน
ไดแ ก ปรมตั ถธรรม นนั่ เอง สําหรบั ลกั ษณะการรวบรวมหมวด
ธรรมในธัมมสงั คณนี ี้ จะแสดงพอเปนตัวอยา ง ดังตอไปน้ี
๑. พระพทุ ธองคท รงยอ สภาวธรรมทง้ั หมดทม่ี อี ยใู หเ หลอื
เปน ๓ ชนดิ คอื
4
๑) หมวด “กุศล” เปน หมวดธรรมฝา ยกรรมดี
๒) หมวด “อกุศล” เปนหมวดธรรมฝายกรรมช่วั
๓) หมวด “อพั ยากฤต” เปน หมวดธรรมทเ่ี หลอื ท้งั หมด
๒. พระพุทธองคทรงยอสภาวธรรมทั้งหมดที่มีอยูให
เหลือเปน ๒ ชนดิ เชน ธรรมทีเ่ ปน เหตุและธรรมท่ีมิใชเ หตุ
การจดั แบง เนอ้ื หาในคมั ภรี ธัมมสงั คณี
ในธมั มสังคณีปกรณน้ี เน้ือหาแบงเปน ๒ สว น มีลําดับ
เนอ้ื หาดงั นี้
สวนท่ี ๑ มาตกิ า ประกอบดว ย
๑. ตกิ มาติกา หมายถงึ หัวขอธรรมที่ทรงแสดงปรมัตถ
ธรรมโดยแบงเปนหมวด หมวดละ ๓ หัวขอ เรียกวาติกะ มี
ทงั้ หมด ๒๒ ติกะ มกี สุ ลตกิ ะเปน ตน
๒. ทุกมาติกา หมายถึง หวั ขอธรรมทท่ี รงแสดงปรมัตถ
ธรรมโดยแบง เปน หมวด หมวดละ ๒ หวั ขอ มที ง้ั หมด ๑๓ หวั ขอ
ใหญ มีเหตุโคจฉกะเปนตน แตละหัวขอใหญ มีหัวขอยอยอยู
จํานวนมาก เชน เหตโุ คจฉกะ ประกอบดว ย (๑) เหตุทุกะ (๒)
สเหตุกทุกะ (๓) เหตุสัมปยุตตทกุ ะ (๔) เหตุสเหตุกทุกะ (๕)
5
เหตุเหตสุ มั ปยตุ ตทกุ ะ (๖) นเหตสุ เหตุกทกุ ะ
๓. สุตตนั ติกทุกมาติกา หมายถึง วิธกี ารทพี่ ระพทุ ธเจา
ทรงแสดงทุกมาติกาโดยนัยพระสูตร รวมท้ังหมด ๔๒ ทุกะ
เรม่ิ ตน ดวยวิชชาภาคีทุกะเปน ตน
สวนที่ ๒ กณั ฑ ประกอบดวย
๑. จติ ตุปปาทกัณฑ มีโครงสรา งเน้ือหา ๓ สวนหลกั คอื
(๑) กศุ ลบท ประกอบดว ย กามาวจรกุศลจติ รูปาวจรกุศลจิต
อรปู าวจรกศุ ลจิต และโลกตุ ตรกศุ ลจิต (๒) อกุศลบท ประกอบ
ดว ยอกศุ ลจติ ๑๒ (๓) อพั ยากตบท ประกอบดว ยเนอ้ื หาสาํ คญั
เชน กามาวจรวิปากจิต โลกุตตรวิปากจิต รูปาวจรกิริยาจิต
อรูปาวจรกริ ิยาจิต
๒. รูปกัณฑ มีโครงสรางเน้ือหา ๒ สวนหลัก คือ (๑)
อุทเทส ประกอบดวย เอกกมาติกา ทุกมาติกา ติกมาติกา
จตุกกมาติกา ปญจกมาติกา ฉักกมาติกา สัตตกมาติกา
อฏั ฐกมาติกา นวกมาติกา ทสกมาตกิ า เอกาทสกมาตกิ า (๒)
นิทเทส ประกอบดวย เอกกนิทเทส ทุกนิทเทส ติกนิทเทส
จตกุ กนิทเทส จนถึงเอกาทสกนทิ เทส
๓. นิกเขปกัณฑ มีโครงสรางเน้ือหา ๓ สวนหลัก คือ
(๑) ติกนิกเขปะ มที ง้ั หมด ๒๒ หัวขอ มีกุสลติกะเปน ตน (๒)
6
ทุกนิกเขปะ มีท้ังหมด ๑๓ หัวขอใหญ มีเหตุโคจฉกะเปนตน
มีปฏฐทิ กุ ะเปนที่สดุ (๓) สุตตนั ตกิ ทกุ นกิ เขปะ มีทัง้ หมด ๔๒
หัวขอ มวี ชิ ชาภาคที กุ ะเปนตน
๔. อัฏฐกถากัณฑ มีโครงสรา งเนื้อหา ๒ สวนหลัก คือ
(๑) ติกอัตถุทธาระ มีท้ังหมด ๒๒ หัวขอ มีกุสลติกะเปนตน
(๒) ทุกอัตถุทธาระ มีท้ังหมด ๑๓ หัวขอใหญ มีเหตุโคจฉกะ
เปนตน มีปฏ ฐิทุกะเปน ท่ีสดุ
7
พระอภธิ รรมปฎ ก เลม ที่ ๑
ธมั มสังคณี
จบ