The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2204-2111 อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by smilep2538, 2021-05-11 08:42:13

e-book

2204-2111 อินเทอร์เน็ตเพื่องานธุรกิจ

Keywords: หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ สามารถคลกิ เพื่อเลอื กหน่วยการเรยี นได้ รหัสวชิ า 2204-2111

หน่วยท่ี 1 หน่วยท่ี 7 T. WANPEN JINDARAT
หน่วยที่ 2 อาจารย์ผ้สู อนประจารายวชิ า
หนว่ ยที่ 3 หน่วยท่ี 8
หน่วยท่ี 4
หนว่ ยที่ 5 หนว่ ยที่ 9
หน่วยที่ 6

หนว่ ยที่ 1

1. บอกความหมาย และประเภทของสังคมออนไลนไ์ ด้
2. อธบิ ายวตั ถุประสงค์ของสงั คมออนไลน์
และประโยชนข์ องสงั คมออนไลน์ได้
3. อธิบายโทษของสังคมออนไลน์และขอ้ ควรระวัง
เกย่ี วกบั สังคมออนไลน์
4. อธิบายระบบ Social Network และอปุ กรณ์
เครือขา่ ยได้

หนว่ ยท่ี 1

ความหมายของสังคมออนไลน์
สงั คมออนไลน์ ซง่ึ นยิ มกันเรียก คอื Social media มคี วามหมายดงั น้ี
คาว่า Social หมายถงึ สังคมน้จี ะหมายถึงสงั คมออนไลน์ ซ่งึ มีขนาดใหญ่มากในปจั จบุ ัน
ส่วนคาว่า media หมายถงึ สื่อ กค็ อื เน้ือหา เรอ่ื งราว บทความ วิดีโอ รปู ภาพ เพลง เปน็ ต้น
ดังนั้น คาวา่ social media จึงหมายถงึ สอ่ื สังคมออนไลนท์ ่ีมีการตอบสนองทางสงั คมได้
หลายทศิ ทางโดยผ่านอินเทอรเ์ นต็ ในรปู แบบ บทความ วดิ ีโอ เพลง รูปภาพ

ประเภทของสังคมออนไลน์
1. Weblogs หรือเรียกสน้ั ๆ วา่ Blogs คือ ส่ือส่วนบุคคล
บนอนิ เทอรเ์ นต็ ทใ่ี ชเ้ ผยแพรข่ อ้ มูล ข่าวสารความรู้
ข้อคิดเหน็ บันทึกสว่ นตวั

ประเภทของสังคมออนไลน์
2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสงั คมในอินเทอรเ์ น็ต
ซ่ึงเปน็ เครอื ขา่ ยทางสงั คมทีใ่ ช้สาหรับเชอ่ื มต่อระหว่างบคุ คล กลมุ่ บุคคล
เพือ่ ให้เกิดเป็นกลุ่มสงั คม
3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรยี กกันว่า “บลอ็ กจิว๋ ”
4. Online Video เปน็ เว็บไซต์ทใ่ี ห้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย
ซึง่ ปัจจบุ นั ได้รบั ความนยิ มอย่างแพรห่ ลายและขยายตวั อย่างรวดเร็ว
5. Photo Sharing เป็นเวบ็ ไซต์ท่เี น้นใหบ้ ริการฝากรูปภาพ โดยผใู้ ชบ้ ริการสามารถ
อพั โหลด (Upload) และดาวน์โหลด (Download) รูปภาพ เพ่ือนามาใช้งานได้

ประเภทของสงั คมออนไลน์
6. Wikis เปน็ เวบ็ ไซตท์ ่มี ลี ักษณะเป็นแหลง่ ข้อมูลหรอื ความรู้ (Data/Knowledge)
7. Virtual Worlds คอื การสร้างโลกจนิ ตนาการโดยจาลองส่วนหนึง่ ของชีวติ
ลงไป จัดเป็นสอ่ื สงั คมออนไลน์ทบี่ รรดาผู้ทอ่ งโลกไซเบอร์ (World Cyber)
ใช้เพ่อื สื่อสารระหว่างกนั บอนิ เทอรเ์ น็ตในลักษณะโลกเสมอื นจริง (Virtual Reality)
8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคาสองคาคือ Crowd และ Outsourcing
เปน็ หลกั การขอความรว่ มมือจากบุคคลในเครอื ข่ายสังคมออนไลน
9. Podcasting มาจากการรวมตวั ของสองค่า คอื “Pod” กับ
“Broadcasting” ซง่ึ “POD” หรอื Personal On - Demand คอื ความต้องการสว่ น
บคุ คลสว่ น “Broadcasting” เปน็ การนาสอื่ ตา่ ง ๆ มารวมกนั ในรูปของภาพและเสียง
10. Discuss / Review/ Opinion เปน็ เว็บบอร์ดท่ผี ู้ใช้อินเทอร์เนต็ สามารถ
แสดงความคิดเห็น สินค้าหรอื บรกิ าร ประเดน็ สาธารณะทาง การเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม

วัตถปุ ระสงค์ของสงั คมออนไลน์
สงั คมออนไลน์ (Social Network) ทีเ่ ผยเเพรใ่ นโลกอนิ เทอร์เนต็ มวี ตั ถุประสงค์ในการใช้งาน ดงั น้ี
1. เผยเพรต่ ัวตน (Identity network)
2. ผลเเพร่ผลงาน (Creative network)
3. ความสนใจตรงกัน (Interested network)
4. โลกเสมอื น (Virtual life/Game online)

ประโยชนข์ องสงั คมออนไลน์
1.ใช้แลกเปลย่ี นข้อมลู ความรใู้ นสิง่ สนใจรว่ มกันได้ เพราะสามารถแสอนแนะและแสดงความ
คดิ เหน็ แลกเปลีย่ นความรู้ หรอื ตง้ั คาถามในเร่อื งตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหบ้ คุ คลอนื่ ที่สนใจหรอื มีคาตอบสามารถ
เขา้ มาตอบคาถามได้
2.เปน็ คลงั ความร้ขู นาดใหญท่ ีส่ ามารถเข้าไปคนหาข้อมลู ได้
3.ประหยดั ค่าใช้จ่ายในการติดตอ่ สอื่ สารกบั บุคคลอืน่ ทาให้มีความสะดวกรวดเร็ว
4.เปน็ ส่อื ในการนาเสนอผลงานของตนเอง เช่น บทความ ผลงานการวิจัย งานเขยี น รปู ภาพ
วิดโี อต่างๆ เพือ่ ใหผ้ ู้อน่ื ได้เข้ามารบั ชมและแสดงความคิดเหน็
5.ใช้เปน็ สื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบรกิ ารลูกค้าสาหรบั บริษัทและองคก์ รต่าง ๆ
ชว่ ยสร้างความเช่อื มน่ั ใหล้ กู ค้า
6.ชว่ ยสร้างรายไดใ้ หแ้ กผ่ ู้ใชง้ าน เกดิ การจา้ งงานแบบใหมๆ่ ข้นึ
7.ชว่ ยใหม้ กี ารผอ่ นคลายจากการทางาน เพราะผ้ใู ชส้ ามารถหาเพอ่ื นคยุ ได้
8.สรา้ งความสมั พันธ์ทดี่ จี ากเพอื่ นส่เู พ่อื นได้

โทษของสงั คมออนไลน์
1. เวบ็ ไซต์ใหบ้ รกิ ารบางแหง่ อาจจะเปดิ เผยข้อมลู ส่วนตวั มากเกนิ ไป
2. สงั คมออนไลนเ์ ปน็ สังคมที่กวา้ ง หากผู้ใช้รูเ้ ทา่ ไมถ่ ึงการณห์ รือขาดวิจารณญาณ
อาจถูกหลอกหลวงผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื การนัดพบกันเพือ่ จดุ ประสงค์ร้ายได้
3. เป็นชอ่ งทางในการถกู ละเมิดลขิ สิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถกู แอบอ้าง
4. ข้อมลู ตอ้ งกรอกเพอ่ื สมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบสังคมออนไลน์ ยากแก่
การตรวจสอบวา่ จรงิ หรอื ไม่
5. ผู้ทเี่ ข้าใช้สงั คมออนไลน์และอยู่กับหนา้ จอคอมพวิ เตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้
6. ถ้าผูใ้ ช้หมกม่นุ อยู่กับหน้าจอมากเกนิ ไป อาจทาให้เสียการเรยี นหรอื ผลการเรยี นตกตา่ ลงได้

ขอ้ ควรระวงั เกย่ี วกบั สังคมออนไลน์
1. พงึ ตะหนกั ว่า ข้อความหรอื ความเห็นทเี่ ผยแพรบ่ นสงั คมออนไลน์
เปน็ ข้อความทส่ี ามารถเข้าถงึ ได้โดยสาธารณะ
2. ใชค้ วามระมดั ระวังอย่างยิง่ ในการเผยแพร่ความคิดเหน็ ที่อาจกระตนุ้ หรอื นาไปสู่การ
โตแ้ ยง้ ทร่ี ุนแรงอาจถูกหลอกหลวงผา่ นอินเทอร์เน็ต หรอื การนัดพบกันเพื่อจดุ ประสงค์รา้ ยได้
3. ตอ้ งไมล่ ะเมดิ ทรัพยส์ นิ ทางปัญญาของผูอ้ ่ืน
4. พึงตะหนักว่าการใชส้ ังคมออนไลน์นั้น การแบง่ แยกระหวา่ งเรื่องสว่ นตัวและเรอ่ื งหน้าท่ี
การงานเป็นสงิ่ ทท่ี าไดย้ าก
5. หากตอ้ งการสร้าง page หรือ Account ท่เี ปน็ ช่องทางในการเผยแพร่ขอ้ มลู อย่างเป็น
ทางการแล้วแต่กรณี ต้องแจ้งรายชอื่ ของผูด้ ูแล Page (Admin) หรือเจา้ ของ Account นั้นทราบดว้ ย

ระบบ Social Network สมาร์ททีวี (Smart TV) เป็นการพฒั นาจากโทรทศั นแ์ บบ LCD มาเป็น Smart TV ซง่ึ
นอกจากจะดูโทรทัศน์ปกติแลว้ ยงั ใชใ้ นรปู แบบของสงั คมออนไลน์ (Social Network)
ฮารด์ แวรป์ ระกอบดว้ ย คือ สามารถท่จี ะเชื่อมตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ ได้

คอมพวิ เตอร์ คอื เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ่ีใชง้ านทั่วไปไมว่ ่าจะเป็น
คอมพิวเตอรส์ ่วนบุคคล (PC)
หรอื คอมพวิ เตอร์โน้ตบคุ๊ (Notebook)

สมารท์ โฟน (Smartphone) คือ โทรศพั ทม์ ือถือที่นอกเหนอื จาก แท็บเล็ต (Tablet) คอื อปุ กรณ์คอมพวิ เตอรท์ ่ีมหี น้าจอระบบสัมผสั ขนาดใหญ่ มขี นาด
ใช้โทรออก-รับสายแล้วยังสามารถรองรบั การใชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ น 3G, หน้าจอตงั้ แต่ 7 นิว้ ขนึ้ ไป พกพาไดส้ ะดวก สามารถใชง้ านหน้าจอผา่ นการสมั ผัสผ่านปลายนิ้วได้
Wi-Fi และสามารถใช้งานโซเชียลเนต็ เวิรค์ และแอพพลิเคชั่นสนทนาชัน้ นา โดยตรง มีแอพพลเิ คช่ันมากมายใหเ้ ลือกใช้ ไมว่ ่าจะรับ-ส่งอเี มล์, เล่นอนิ เทอร์เน็ต, ดูหนงั ,
ฟงั เพลง,เล่นเกม หรือแม้กระทั่งใช้ทางาน เอกสารออฟฟติ

หนว่ ยที่ 2

1. บอกความหมายเกย่ี วกับธุรกิจได้
2. อธิบายความสาคญั ของการนาอนิ เทอร์เน็ตมาใช้ใน
งานธุรกิจดา้ นต่าง ๆ ได้
3. อธบิ ายลักษณะและประโยชนข์ องพาณชิ ย์
อิเลก็ ทรอนกิ สไ์ ด้
4. อธิบายวตั ถุประสงคข์ องการนาอนิ เทอรเ์ น็ตมาใชใ้ น
งานธุรกิจได้

หนว่ ยท่ี 2

ความหมายของสังคมออนไลน์
ธรุ กิจ (Business) หมายถงึ กิจกรรมต่างๆ ที่ทาให้การผลติ สนิ ค้าและบรกิ าร มกี ารซื้อขาย
แลกเปลย่ี นมีการจาหนา่ ย มกี ารกระจายสินคา้ และมปี ระโยชน์ คอื ไดก้ าไรจากกจิ การนัน้
การดาเนินธุรกิจ หมายถึง การทากจิ กรรมใดๆ ทท่ี าให้เกดิ สินค้าหรอื บรกิ าร แลว้ มีการ
เปลีย่ นแปลง ซ้อื ขายกนั และมวี ตั ถุประสงค์ทจี่ ะไดป้ ระโยชน์จากกจิ กรรมน้นั ๆ โดยผ่านชอ่ ง
ทางการ จาหน่าย ในรูปแบบ ของรา้ นค้า ฝากขาย และดาเนินธุรกิจผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ต

ความหมายของ E-Learning
E-Learning เป็นลักษณะการเรยี นแบบออนไลน์
นอกจากนี้ E-Learning มคี ุณสมบตั สิ าคัญ คอื การเรยี น
ทางไกล (Distance Learning) ซงึ่ ผูเ้ รียนและ ผู้สอนไมต่ ้อง
พบกัน แต่สามารถเรยี นหนังสือได้

ประเภทของสงั คมออนไลน์
2. การนาอนิ เทอร์เน็ตมาใชใ้ นงานดา้ นธรุ กจิ การเงินและการธนาคาร (Finance)
3. การนาอนิ เทอรเ์ น็ตมาใชใ้ นงานทางด้านธรุ กจิ โรงแรม (Hotel)
4. การนาอินเทอร์เน็ตมาใช้ในงานดา้ นธุรกจิ สายการบิน (Airway)
5. การนาอนิ เทอรเ์ น็ตมาใช้ในงานดา้ นธุรกจิ การแพทย์ (Medical Profession)
6.การนาอนิ เทอรเ์ นต็ มาใช้ในงานดา้ นธรุ กิจบันเทิง
7.การนาอนิ เทอรเ์ น็ตมาใช้ในงานด้านธุรกิจการสอื่ สาร (Communication)
8.การนาอินเทอรเ์ นต็ มาใช้ในงานด้านธรุ กจิ ตลาดหลักทรพั ย์ (Stock Exchange)
9.การนาอนิ เทอร์เน็ตมาใช้ในงานดา้ นธรุ กิจส่ือส่ิงพิมพ์ (Printing Media)

ลกั ษณะของธรุ กิจพาณิชย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (E-commerce)
1. เพ่ือเพิม่ ชอ่ งทางในการท าการตลาดและขยายชอ่ งทางในการจัดจาหน่ายสินค้า
2. เปน็ การประชาสมั พนั ธ์สินคา้ หรือบรกิ าร ให้เป็นท่ีรู้จักแพรห่ ลายมากข้ึน
3. เพื่ออานวยความสะดวกให้กบั ผูบ้ ริโภคโดยไมต่ ้องเสียเวลา

ข้อดี
1. สามารถดาเนนิ การได้ 24 ชวั่ โมง
2. ดาเนินการคา้ อยา่ งกวา้ งขวางและรวดเรว็
3. สามารถประชาสมั พนั ธ์สินค้าหรือบรกิ ารไดท้ ่วั โลกโดยใชง้ บประมาณลงทนุ น้อย
4. ลดปญั หาในการเดนิ ทาง

ข้อเสีย
1. ผซู้ ือ้ และผู้ขายจะตอ้ งเปน็ ผู้ท่ีมคี วามร้แู ละมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีอินเทอร์เนต็
2. ประเทศของผู้ซอื้ และผู้ขายจะต้องมกี ฎหมายรองรับอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ตอ้ งมีระบบรักษาความปลอดภยั ที่น่าเช่ือถือและไวว้ างใจได้
4. สนิ ค้าทีแ่ สดงบนอินเทอรเ์ นต็ อาจจะไม่ตรงตามความเปน็ จริง

ประโยชน์ของพาณิชยอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์
ประโยชน์ต่อผบู้ ริโภค
1. ได้รบั ความสะดวกรวดเร็วในการซ้ือสนิ ค้า
2. มีช่องทางในเลือกซ้อื สนิ ค้าและบรกิ ารมากขึ้น
3. มีสนิ ค้าและบรกิ ารใหเ้ ลอื กซื้อมากขึ้น
4. ทาให้ราคาสนิ ค้าและบรกิ ารถกู ลง เพราะไม่ตอ้ งผ่านคนกลาง
5. สามารถใชข้ ้อมลู เพ่อื เปรยี บเทียบราคาและคุณภาพก่อนการตัดสินใจซื้อ
ประโยชน์ตอ่ ผูผ้ ลิต
1. สามารถเพมิ่ ชอ่ งทางในการจัดจาหนา่ ยไดม้ ากขึ้น
2. สามารถขยายตลาดใหมไ่ ดม้ ากขึ้น
3. สรา้ งความสัมพนั ธ์กับผู้บริโภคไดม้ ากขน้ึ
4. ลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดเกบ็ เอกสาร
5. เพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการผลติ เพราะรขู้ อ้ มลู ความตอ้ งการของผูบ้ รโิ ภค

วตั ถปุ ระสงค์ของกาไรนาอนิ เทอร์เน็ตมาใช้ในงานธรุ กจิ
1. เพื่อใหธ้ รุ กิจของตนเองพรอ้ มใหบ้ ริการแกล่ ูกคา้ บนอนิ เทอร์เนต็
2. เพอ่ื เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการสรา้ งเครอื ขา่ ยของธุรกิจ
3. เพ่ือให้ขอ้ มลู ของธุรกจิ พร้อมใหล้ กู คา้ เข้ามาค้นหาได้
4. เพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการใหบ้ รกิ ารลกู ค้า
5. เพอ่ื ขยายผลและขอบเขตการโฆษณาและประชาสัมพนั ธใ์ ห้มากขึน้
6. เพ่ือขจดั ปัญหาด้านเวลาดาเนนิ การของธรุ กิจ
7. เพือ่ ขายสนิ ค้าหรอื บรกิ าร
8. เพื่อนาเสนอขอ้ มูลของธรุ กิจแบบมัลติมเี ดีย
9. เพอื่ เข้าส่ตู ลาดที่ลกู คา้ มคี วามตอ้ งการบรโิ ภคสนิ ค้าสูง

หนว่ ยท่ี 3

1. อธิบายความหมายและประโยชน์ของ Search Engine ได้
2. อธบิ ายลกั ษณะการทางานของ Search Engine ได้
3. อธบิ ายวิธกี ารค้นหาข้อมลู อนิ เทอรเ์ นต็ ในรปู แบบต่าง ๆ ได้
4. ปฏบิ ัติการคน้ หาข้อมลู อนิ เทอร์เนต็ ในรปู แบบต่าง ๆ ได้
5. ปฏบิ ัตกิ ารเปดิ และบันทึกขอ้ มูลในรปู แบบของไฟล์ตา่ ง ๆ ได้

หน่วยท่ี 3

ความหมายของ Search Engine
Search Engine หมายถงึ เคร่อื งมือท่ชี ่วยในการค้นหาขอ้ มูลตา่ ง ๆ ผ่านระบบเว็บไซต์
และเครอื ขา่ ย อนิ เทอรเ์ น็ต เพอื่ เขา้ ถงึ เว็บไซต์ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการค้นหา เรียกอย่างเป็นทางการวา่
“ โปรแกรมช่วยในการสืบค้นขอ้ มลู ”

ลักษณะการทาางานของ Search Engine
Search Engine แต่ละประเภทจะมกี ารทางานทค่ี ลา้ ยๆ กันคอื การส่ง Web Crawler หรือ Spider

ไปเกบ็ ข้อมลู เวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ เข้ามาเก็บไวใ้ นระบบ เพ่ือจดั ทาเป็นดัชนี (Index) การคน้ หา และ
เม่ือผ้ใู ชง้ าน ค้นหาข้อมูลผ่าน Search Engine ตวั โปรแกรม Search Engine ก็จะทาการประมวลผล
ดว้ ยอลั กอรทิ ึมการจดั อันดับ (Ranking) และน าผลลัพธจ์ ากข้อมูลท่ีมอี ยอู่ อกมาแสดงผลให้ผู้ใช้งานไดเ้ หน็

การคน้ หาขอ้ มูลดว้ ย Google
1. เข้าเว็บไซต์ www.google.co.th
2. พิมพ์ขอ้ ความทตี่ ้องการคน้ หา (Keyword) ในทนี่ ี้ คือ ลพบุรี
3. เสร็จแลว้ กดแป้น Enter จะปรากฎรายละเอียดเว็บไซต์ท่เี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ให้คลกิ เขา้ ไปดูรายละเอยี ด

นอกจากการคน้ หาขอ้ มลู ทใ่ี ห้แสดงเว็บไซตท์ เ่ี กี่ยวข้องแลว้ ยงั มีการค้นหาอีกหลายรปู แบบ คอื
1. ค้นหาแผนที่ (Map)
2. คน้ หารูป (mage)
3. คน้ หาวีดีโอ (Video)

หนว่ ยที่ 4

1. อธิบายความหมายของการรับ-สง่ ข้อมลู บนเครอื ข่าย
อินเทอรเ์ น็ตได้
2. อธิบายประโยชนแ์ ละคาศพั ท์ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับจดหมาย
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้
3. อธิบายเว็บไซตท์ ่ีให้บรกิ ารฟรีอีเมล์ได้
4. ปฏบิ ตั ิการใชฟ้ รีอีเมลข์ อง Gmail.com ได้

หนว่ ยท่ี 4

ความหมายของการรบั -สง่ ข้อมูลบนเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต
นยิ มเรยี กกันว่า อีเมล (E-Mail) หมายถงึ การส่อื สารหรือการส่งข้อความจากคอมพวิ เตอร์

เครอื่ งหนึ่งผ่านไปเข้า เครื่องคอมพิวเตอรอ์ กี เคร่ืองหนงึ่ โดยส่งผ่านทางระบบเครอื ขา่ ย (Network)
ผู้สง่ จะตอ้ งมเี ลขท่อี ยู่ (E-mail Address) ของผรู้ ับ และผ้รู บั สามารถเปดิ คอมพิวเตอรเ์ รยี กขา่ วสารน้นั
ออกมาดูเมือ่ ใดก็ได้

ประโยชน์ของการรับ-ส่งขอ้ มลู ทางจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์
1. ทาให้การตดิ ตอ่ สือ่ สารทวั่ โลกเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว
2. สามารถสง่ จดหมายถึงผู้รบั ท่ตี อ้ งการได้ทกุ เวลา
3. สามารถส่งจดหมายถงึ ผู้รบั หลายๆคนได้ในเวลาเดยี วกนั
4. ช่วยประหยดั เวลาในการเดนิ ทางไปส่งจดหมายท่ตี ู้ไปรษณีย์
5. ผู้รบั จดหมายสามารถเรียกอ่านจดหมายได้ทุกเวลาตามสะดวก
6. สามารถถา่ ยโอนแฟม้ ข้อมูล (Transferring Flies)

เวบ็ ไซต์ท่ีให้บรกิ ารฟรอี ีเมล
1. www.hotmail.com
2. www.yahoo.com
3. www.gmail.com

หน่วยที่ 5

1. อธิบายลกั ษณะของบรกิ ารแบบต่าง ๆ บนอนิ เทอร์เน็ต
2. ปฏิบตั ิการใช้บริการแบบต่าง ๆ บนอินเทอรเ์ น็ต

หนว่ ยท่ี 5

1. บริการเวิลด์ไวด์เว็บ (WWW)
เวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ (World Wide Web) หรอื เครอื ข่ายใยแมงมมุ เหตุทเ่ี รยี กชอ่ื นเ้ี พราะเปน็
ลักษณะของ การเช่ือมโยงข้อมลู จากท่หี นงึ่ ไปยงั อีกทห่ี นง่ึ เรื่อย ๆ เวลิ ดไ์ วนเ์ วบ็ เปน็ บริการท่ไี ดร้ บั
ความนยิ มมากทส่ี ดุ ในการเรยี กดเู ว็บไซตต์ อ้ งอาศยั โปรแกรมเว็บบราวเ์ ซอร์ (Web Browser)

2.บรกิ ารจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Mail)
1. Corporate E-mail คอื อเี มลท์ ห่ี นว่ ยงานตา่ ง ๆ
สร้างขึน้ มาใหก้ บั พนักงานหรือบุคคลากร
ในองคก์ ร นั้น เชน่ siwat01assw.co.th
2. Free E-Mail คอื อเี มล์ท่านสามารถสมคั รไดฟ้ รีตาม Web Mail ตา่ ง ๆ
เชน่ Hotmail,Yahoo, Gmail, Mail

3.บริการโอนย้ายไฟล์ (File Transfer Protocol)
1. การดาวนโ์ หลดไฟล์ (Download File) การดาวน์โหลดไฟล์ คือ การรบั ข้อมูลเข้ามายงั
เครือ่ ง คอมพวิ เตอรข์ องผใู้ ช้ ในปจั จุบนั มีหลายเวบ็ ไซต์ทจ่ี ดั ใหม้ ีการดาวนโ์ หลดโปรแกรมได้ฟรี
www.downlond.com, www.thaiware.com

2. การอัพโหลดไฟล์ (Upload File) การอพั โหลดไฟล์ คือ การนาไฟลข์ อ้ มูลจากเครอ่ื งของ
ผู้ใชไ้ ปเกบ็ ไวใ้ นเครือ่ งทใ่ี หบ้ รกิ าร (Server) ผา่ นระบบอินเตอรเ์ นต็

4. บรกิ ารรบั ฝากไฟลแ์ ละขอ้ มูล
บรกิ ารรับฝากไฟลแ์ ละขอ้ มลู เปน็ บรกิ ารทใี่ หผ้ ู้ใช้บรกิ ารสามารถแบ่งปันไฟล์และขอ้ มูลให้ผอู้ ืน่ ได้
โดยผู้ฝากไฟลแ์ ละขอ้ มูลจะต้องท าการลงทะเบยี นการใชบ้ ริการจากเวบ็ ไซต์ผ้ใู ห้บริการ เชน่
www.skydrive.live.com , www.4share.com , www.youtube.com

5. บรกิ ารสนทนาแบบอนิ เตอร์เน็ต
การสนทนาบนอนิ เตอร์เน็ต คือ การส่งขอ้ ความถงึ กนั โดยทันทีทนั ใด นอกจากน้ี ยงั สามารถ

ส่ง สญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ เชน่ รปู ภาพ ไฟลข์ ้อมลู ได้ด้วย การสนทนาบนอนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ โปรแกรมทีไ่ ดร้ บั
ความนยิ มใน ปัจจบุ นั โปรแกรมประเภทนี้ เช่น โปรแกรม MSN Messenger , Skype , Line เป็นตน้

6. บรกิ ารคน้ หาข้อมลู บนอินเทอรเ์ น็ต
1. Web Directory คือ การค้นหาโดยการเลอื ก Directory ทจ่ี ดั เตรยี มและแยกหมวดหมไู่ ว้

ให้ เรยี บร้อยแล้ว Website ที่ใหบ้ ริการ Web Directory
2. Search Engine คอื การค้นหาข้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรม Search Engine แต่จะท าการส่งค า

ท่ี ตอ้ งการค้นหาไปเปรียบกบั เวบ็ ไซต์ต่าง ๆ วา่ มีเวบ็ ไซต์ใดบ้างทีม่ ีค าท่เี ราต้องการค้นหา Website ที่
ให้บรกิ าร Search Engine

3. Meta Search คอื การค้นหาขอ้ มลู แบบ Search Engine แตจ่ ะการสง่ ค าทต่ี ้องการไป
คน้ หาใน เว็บไซต์ท่ใี ห้บริการสบื คน้ ขอ้ มูลอื่น ๆ หากข้อมูลท่ีไดม้ ํีซ้ากนั ก็จะแสดงเพียงรายการเดยี ว
หรือหน้าเดยี ว เว็บไซต์ทใี่ ห้บริการ Meta Search

7. บริการกระดานข่าวหรอื เว็บบอร์ด (Web Board)
Web Board เป็นศูนยก์ ลางในการแสดงความคดิ เห็น มีการต้งั กระทู้ ถาม-ตอบ ในหัวขอ้ ที่

สนใจ เวบ็ บอรด์ เป็นที่นยิ มและมคี นเขา้ ไปแสดงความคดิ เหน็ กนั มากมาย

8. บรกิ ารหอ้ งสนทนา (Chat Room)
ห้องสนทนา คือ การสนทนาออนไลน์อีกประเภทหน่ึง ทม่ี กี ารสง่ ขอ้ ความสัน้ ๆถงึ กนั การเขา้

ไปสนทนาต้อง เข้าไปในเวบ็ ไซต์ที่ให้บรกิ ารหอ้ งสนทนา

9. บรกิ ารอีคอมเมริ ช์ (Electronic Commerce :E-Commerce)
อีคอมเมิรช์ หรือการพาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นบรกิ ารในการท าธุรกรรมซือ้ ขายหรอื

แลกเปล่ียน สนิ ค้าและบริการผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ต โดยใชเ้ ว็บไซตเ์ ปน็ ส่อื ในการน าเสนอและเปน็
ช่องทางใหล้ กู คา้ สั่งซือ้ สินค้าและบรกิ าร

10. บรกิ ารวิทยแุ ละโทรทศั น์ออนไลน์
บรกิ ารวิทยแุ ละโทรทัศนอ์ อนไลน์ เป็นบริการที่ให้ผ้ใู ชส้ ามารถฟังวทิ ยุและรายการโทรทศั น์

ผ่านทาง อินเทอรเ์ น็ต โดยทผ่ี ใู้ ชส้ ามารถเลือกใชบ้ รกิ ารได้แบบเรยี ลไทม์ (Real time) และแบบดู
ย้อนหลงั ได้

หน่วยท่ี 6

1. อธิบายความหมายและคณุ ลกั ษณะพเิ ศษของเครือข่ายการ
เรียนรูไ้ ด้
2. อธิบายแนวทางและกระบวนการสรา้ งและพฒั นาเครอื ข่าย
การเรยี นรู้ได้
3. อธบิ ายความหมายของ E-Learning และ E-Learning ใน
ประเทศได้

หน่วยท่ี 6

ความหมายของเครอื ขา่ ยการเรียนรู้
ความหมายของเครอื ขา่ ยการเรียนรู้ (Web Based Instruction) หมายถึง การเรียนรู้ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ใช้ประกอบกิจกรรมทางการศกึ ษาทกุ ระดับ โดยมีองค์ประกอบสาคัญ คอื
อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ โปรแกรมที่ใชค้ วบคมุ ระบบการทางานและเครอื ข่ายการสอ่ื สาร

คุณลักษณะพิเศษของเครือขา่ ยการเรยี นรู้
1. สามารถเข้าถงึ ได้กว้างขวาง งา่ ย สะดวก เรยี กขอ้ มลู มาใช้ได้ง่าย
เชอ่ื มโยงเข้าหานกั เรียนคนอนื่ ไดง้ ่าย รวดเรว็ และสามารถเรียกใช้ขอ้ มูล
ไดท้ กุ เวลา ทกุ สถานที่มีเครอื ข่าย
2. เป็นการเรียนแบบรว่ มกนั และทางานรว่ มกนั เปน็ กลมุ่ คุณลักษณะ
พ้นื ฐานของเครอื ข่ายการเรียนรู้คอื การเรียนแบบร่วมมือกนั

คณุ ลกั ษณะพิเศษของเครือขา่ ยการเรยี นรู้
3. สรา้ งกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยเน้นใหผ้ เู้ รยี นเป็นผกู้ ระทามากกว่าเป็นผูถ้ ูกกระทา
4. ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลางการเรยี นการสอน และเนน้ บทบาททีเ่ ปลยี่ นแปลงไป
5. จัดให้เครอื ขายการเรยี นรเู้ ป็นเสมือนชมุ ชนของการเรียนรแู้ บบออนไลน์

แนวทางการบรหิ ารจัดการและพฒั นาเครือข่ายการเรียนรู้
1. ข้ันการก่อรปู เครอื ขา่ ยการเรยี นรู้
1.1 การสร้างความตระหนกั ในปญั หา
1.2 การสรา้ งสานกึ ในการรวมตวั
1.3 การสรา้ งจดุ รวมของผลประโยชน์ในเครือขา่ ยการแสวงหาแกนนาท่ีดขี องเครือขา่ ย
1.4 การสรา้ งแนวร่วมของสมาชกิ เครือขา่ ย

แนวทางการบรหิ ารจดั การและพัฒนาเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้
2 . ขัน้ การจดั ระบบบรหิ ารเครือข่ายการเรยี นรู้ (Learning Network Organizing)
(1) การจัดตั้งกลมุ่ เครือข่าย
(2) การจัดบทบาทหนา้ ทีข่ องสมาชกิ ในเครือขา่ ย
(3) การจัดระบบการ ติดตอ่ ส่ือสาร
(4) การจดั ระบบการเรียนรรู้ ว่ มกัน
(5) การจดั ระบบสารสนเทศ
3. ขน้ั การใชเ้ ครือขา่ ยการเรยี นรู้ (Learning Network Utilizing)
(1) การใชเ้ ครือข่ายเพ่อื ให้เปน็ เวทีกลาง
(2) การใชเ้ ครอื ขา่ ยเพือ่ เปน็ เวทีแลกเปล่ยี น
(3) การใชเ้ ครือข่ายเพือ่ ใหเ้ ปน็ เวทแี ลกเปลยี่ นระดม
(4) การใช้เครือข่ายเพื่อให้เป็นเวทรี ่วมสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความรู้ใหม่ๆ
(5) การใชเ้ ครือขา่ ยเพือ่ ใหเ้ ป็นเวทีสรา้ งกระแส

แนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาเครอื ข่ายการเรยี นรู้
4. ข้ันการธารงรกั ษาเครอื ข่ายการเรียนรู้ (Learning Network Maintaining)
(1) การจดั ดาเนนิ การกิจกรรม ตา่ ง ๆ ร่วมกนั อย่างต่อเน่ือง
(2) การรกั ษาสัมพนั ธภาพทด่ี ตี อ่ กันระหว่างสมาชกิ เครอื ข่าย
(3) การกาหนดกลไก
(4) การสรา้ งระบบแรงจงู ใจใหแ้ กส่ มาชกิ ของเครอื ขา่ ย
(5) การให้ความช่วยเหลอื และแก้ไขปญั หาอย่างจรงิ จัง
(6) การสรา้ งผู้นารนุ่ ใหมอ่ ย่างตอ่ เน่ือง

กระบวนการและวธิ กี ารสรา้ งเครอื ข่ายการเรยี นรู้
1.การตระหนักถึงความจาเปน็ ในการสร้างเครือขา่ ย
2.การติดต่อกบั องคก์ รที่จะรว่ มเปน็ เครือขา่ ย
3.การสรา้ งพนั ธกรณรี ่วมกัน
4.การพัฒนาความสัมพนั ธร์ ว่ มกัน
5.การทากิจกรรมรว่ มกัน
6.การรวมตวั กันจดั ตง้ั องคก์ รใหมร่ ว่ มกัน

ความหมายของ E-Learning
การเรยี นการสอนในลกั ษณะใดกไ็ ด้ ทใ่ี ช้การถ่ายทอดเนื้อหาผา่ นทาง

อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์โดยผ่านทางเครือข่ายอนิ เทอรเ์ น็ต หรอื ระบบอื่นๆ ท่ีคลา้ ยคลึงกนั ซ่งึ เนอื้ หา
หรอื สารสนเทศสาหรับการสอนหรือการอบรม ใชก้ ารนาเสนอดว้ ยตัวอกั ษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกบั
การใช้ ภาพเคลือ่ นไหววดี ที ศั นแ์ ละเสยี ง

1. เวบ็ ไซต์ที่เกีย่ วข้องกับการศกึ ษา
2. เว็บไซตท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั เนอ้ื หารายวชิ าใดวิชาหน่งึ เป็นอย่างนอ้ ย หรือการศกึ ษาตามอธญั ยาศรยั
3. ผู้เรยี นสามารถเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง จากทกุ ทที่ ุกเวลาโดยอสิ ระ
4. ผู้เรยี นมีอสิ ระในการเรียน การบรรลุจดุ ประสงค์การเรียนรู้แตล่ ะเน้ือหา ไม่จ าเป็นตอ้ ง
เหมือนกนั หรอื พร้อมกับผ้เู รยี นรายอ่ืน
5. มรี ะบบปฏิสัมพันธก์ บั ผู้เรียน และสามารถเรียนร้รู ่วมกันได้
6. มเี ครือ่ งมือท่ีวัดผลการเรียนได้

ขอ้ ดแี ละข้อเสียของการเรยี นรู้ผา่ นเครือข่ายอินเทอร์เนต็
ข้อดี
1. เออ้ื อานวยใหก้ ับการติดตอ่ ส่อื สารทร่ี วดเรว็ ไม่จากดั เวลาสถานที่ รวมท้ังบุคคล
2. ผูเ้ รียนและผู้สอนไมต่ อ้ งการเรียนและสอนในเวลาเดียวกัน
3. ผู้เรยี นและผู้สอนไม่ตอ้ งมาพบกนั ในหอ้ งเรยี น
4. ตอบสนองความต้องการของผู้เรียนและผู้สอนทไ่ี ม่พรอ้ มดา้ นเวลา ระยะทางในการเรียนได้เปน็ อย่างดี
5. ผู้เรยี นทไ่ี ม่มคี วามมั่นใจ กลัวการตอบคาถาม ต้ังคาถาม ต้ังประเด็นการเรียนรู้ในหอ้ งเรยี น
มคี วามกลา้ มากกว่าเดมิ เนื่องจากไมต่ ้องแสดงตนตอ่ หน้าผู้สอนและเพื่อนรว่ มชนั้

ขอ้ เสีย
1. ไม่สามารถรับรู้ความรสู้ กึ ปฏิกริ ิยาทแี่ ทจ้ รงิ ของผู้เรยี นและผู้สอน
2. ไม่สามารถส่อื ความร้สู กึ อารมณใ์ นการเรียนรไู้ ด้อยา่ งแท้จรงิ
3. ผู้เรยี นและผ้สู อนจะต้องมีความพรอ้ มในการใชค้ อมพิวเตอร์และอินเทอรเ์ น็ต

หน่วยที่ 7

1. อธิบายความหมายและประเภทของไวรสั ได้
2. อธบิ ายลกั ษณะและการปอ้ งกันสปายแวรแ์ ละซอฟต์แวร์
ทไี่ มพ่ ึงประสงคไ์ ด้
3. ปฏิบัติการป้องกันไวรสั คอมพิวเตอร์ได้
4. ปฏบิ ตั ิการใชโ้ ปรแกรมป้องกันไวรสั คอมพิวเตอร์ต่าง ๆได้

หนว่ ยที่ 7

ความหมายของไวรัส (Virus)
ไวรสั คอมพิวเตอร์ (Computer Virus) คอื โปรแกรมชนิดหน่ึงทม่ี คี วามสามารถในการสาเนา

ตวั เอง เข้าไปตดิ อยูใ่ นเครื่องคอมพวิ เตอร์ และถา้ มีโอกาสกส็ ามารถแทรกเข้าไปตดิ อยใู่ นระบบ
คอมพิวเตอรอ์ ืน่ ๆ ซึ่ง อาจเกดิ จากการน าเอาแผน่ ดิสกห์ รือแฟลชไดรท์ ต่ี ิดไวรัสจากเครอ่ื งหน่ึงไปใช้
กบั อกี เครื่องหนงึ่ หรืออาจผ่าน ระบบเครอื ขา่ ยหรอื ระบบสอ่ื สารขอ้ มูลไวรัสกอ็ าจแพรร่ ะบาดได้
เช่นกัน เมื่อไวรัสเขา้ มาอยู่ในคอมพวิ เตอร์แล้ว อาจจะท าความเสียหายแก่ขอ้ มูลท่ีอย่ใู นคอมพวิ เตอร์
หรอื รบกวนการท างานของระบบปฏบิ ตั กิ าร

หนว่ ยท่ี 8

1. อธิบายความหมายของคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการใช้อินเทอรเ์ นต็ ได้
2. อธิบายผลกระทบของอินเทอรเ์ น็ตที่มีต่อสังคมไทยได้
3. อธบิ ายความร้เู กี่ยวกฎหมายท่เี กีย่ วข้องกบั การใช้อินเทอรเ์ นต็ ได้
4. อธบิ ายความรู้เกย่ี วกบั พระราชบญั ญัตลิ ขิ สทิ ธไิ์ ด้
5. อธิบายคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม และคณุ ลกั ษณะ
ทพี่ งึ ประสงค์ของผู้สาเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิอาชวี ศกึ ษาได้
6. ปฏิบตั กิ ารใชค้ ุณธรรม จริยธรรม ทีด่ ีในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตได้

หน่วยที่ 8

จรยิ ธรรม หมายถงึ
จรยิ ธรรม หมายถึง หลกั การทม่ี นุษย์ในสังคมยดึ ถือปฏิบตั ิ เพอ่ื การอยู่รว่ มกันอย่างเปน็ สุขใน

สงั คม และเมื่อน าไปใช้กับการใช้อินเทอรเ์ น็ต ซ่งึ เปน็ กิจกรรมหนึง่ ท่ีนิยมใชม้ ากท่ีสดุ ของมนษุ ย์ใน
ขณะนี้ ย่อมหมายถงึ มนุษยจ์ ะต้องมจี ริยธรรมในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต เพราะในการใช้อนิ เทอร์เนต็
มนษุ ยย์ ่อมตอ้ งมสี ังคม ซ่งึ ประกอบด้วยคนหลายคนท่วั โลก ดงั นั้น จึงควรที่จะมีการวางกรอบใหม้ นุษย์
ประพฤตปิ ฏิบัติ เพื่อการใช้ อนิ เทอรเ์ น็ตรว่ มกนั อยา่ งมีความสขุ
ความเปน็ สว่ นตัว (Information Privacy)

1. การเข้าไปดขู อ้ ความในจดหมายอิเล็กทรอนกิ สห์ รืออเี มล์
2. การใช้สอ่ื อินเทอร์เน็ตในการติดตามความเคลือ่ นไหวหรอื พฤติกรรมบุคคล
3. การใชข้ อ้ มูลของลูกค้าระบบอินเทอรเ์ นต็ เพ่อื ผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด
4. การเขา้ ถึงขอ้ มูลเกี่ยวกบั บุคคล เช่น หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต และขอ้ มลู
ส่วนตัวอน่ื ๆ

2. ความถูกต้อง (Information Accuracy)
ในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ตเพ่ือการรวบรวม จดั เกบ็ และเรยี กใชข้ ้อมลู นัน้ คุณลกั ษณะท่สี าคญั
ประการหนงึ่ คอื ความนา่ เชือ่ ถือของขอ้ มลู ความเปน็ ส่วนตวั

3. ความเปน็ เจ้าของ (Information Property)
ในสงั คมของโลกอนิ เทอร์เน็ต มกี จะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะทเี่ ป็นปญั หามาก
ท่สี ุด คือ ลขิ สทิ ธ์เิ พลง ภาพยนตร์ รูปภาพ วดิ โี อ และข้อมูลข่าวสาร ซ่ึงผู้ท่ีเปน็ เจ้าของย่อมมีสทิ ธ์ิ
ในการปกป้องความ เปน็ เจ้าของ

4. การเขา้ ถึงข้อมลู (Data Accessibility)
เป็นการปอ้ งกนั การเข้าไปดาเนนิ การกับข้อมูลของผู้ใชท้ ีไ่ ม่มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง และเปน็ การรักษา
ความลบั ของข้อมูล ตัวอยา่ งสิทธใิ นการเขา้ ใชร้ ะบบ

คณุ ธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ต
1. จรรยาบรรณสาหรบั ผใู้ ชไ้ ปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์
2. จรรยาบรรณสาหรบั ผสู้ นทนา
3. จรรยาบรรณสาหรบั ผู้ใช้กระดานข่าว เวบ็ บอรด์ หรือสื่อทางข่าวสาร
4. บัญญตั ิ 10 ประการ
1. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์ทาร้ายหรือละเมิดผู้อน่ื
2. ต้องไมร่ บกวนการท างานของผู้อน่ื
3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรอื แก้ไขเปิดดูในแฟม้ ของผอู้ ่ืน
4. ตอ้ งไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์เพ่ือการโจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใชค้ อมพวิ เตอร์สร้างหลกั ฐานท่ีเปน็ เท็จ
6. ต้องไม่คดั ลอกโปรแกรมผู้อ่ืนท่มี ลี ขิ สทิ ธ์ิ
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพวิ เตอร์โดยท่ตี นเองไม่มสี ิทธ์ิ
8. ตอ้ งไม่นาเอาผลงานของผูอ้ นื่ มาเป็นของตน
9. ตอ้ งคานึงถึงสิง่ ทจี่ ะเกิดขนึ้ กับสงั คมอนั ติดตามมาจากการกระท า
10. ตอ้ งใช้คอมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท

อนิ เทอรเ์ น็ตกบั ผลกระทบตอ่ สงั คมไทย
อินเทอร์เน็ตเขา้ มาเปน็ ส่วนหน่งึ ของสงั คมไทย เห็นได้จากหนงั สือพิมพ์ วารสาร รายการ

โทรทศั น์ วทิ ยตุ ่าง ๆ ไดน้ าเรอื่ งของอินเทอรเ์ นต็ เป็นสว่ นหนง่ึ ของเนอ้ื หาทีน่ าเสนอต่อสาธารณะใน
แงม่ ุมต่าง ๆ

ผลกระทบทางบวก
1.ทาให้มคี วามสะดวกในการตดิ ตอ่ ส่อื สารในเครอื ขา่ ยขนาดใหญ่ กลา่ วคือ ทาให้คนในสังคม
ติดตอ่ สอื่ สารไดท้ ุกสถานที่ ทกุ เวลา
2.ชว่ ยพฒั นาประสิทธภิ าพการทางาน เชน่ การตดิ ต่อส่อื สารผ่านอีเมล การประชุมทางไกล
ผ่าน เครือข่าย
3.ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ทาให้เกิดการศึกษารปู แบบใหมท่ กี่ ระต้นุ ความสนใจของ
ผเู้ รียนใน เกดิ ความสนุกในการเรยี นรู้

ผลกระทบทางลบ
1.กอ่ ให้เกดิ ความเครียดของคนในสังคม
2.เกิดการแลกเปลยี่ นวัฒนธรรมจากสังคมหนง่ึ ไปส่อู กี สงั คมหนึ่ง
3.เกดิ ชอ่ งว่างระหวา่ งคนในสังคม
4. เกดิ การละเมิดสิทธเิ สรภี าพสว่ นบคุ คล
5.อาจกอ่ ให้เกิดปัญหาอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์

กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกบั การใช้อินเทอรเ์ นต็
กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ ทส่ี าคัญ นอกจากพระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการ
กระทาความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอรแ์ ล้ว กค็ อื กฎหมายทีเ่ กี่ยวกบั ลขิ สิทธ์ิ จึงควรทจ่ี ะเรียนร้เู ก่ยี วกบั
ลิขสิทธด์ิ ้วย

ลิขสทิ ธ์ิ (Copyright) คอื อะไร
ลขิ สิทธ์ิ เป็นทรพั ย์สินทางปัญญาอยา่ งหนงึ่ ท่ีกฎหมายใหค้ วามค้มุ ครอง โดยใหเ้ จา้ ของ
ลิขสิทธถิ์ อื สทิ ธิ แต่เพยี งผเู้ ดียว ทจ่ี ะกระท าการใดๆ เกีย่ วกับงานสร้างสรรค์ทตี่ นได้กระทา

งานอันมลี ขิ สิทธิ์
งานสร้างสรรคท์ ีจ่ ะไดร้ ับความคุ้มครองตามพระราชบัญญัตลิ ิขสทิ ธติ์ อ้ งเปน็ งานในสาขา
วรรณกรรม นาฏกรรม ศลิ ปกรรม ดนตรกี รรม โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ ส่งิ บนั ทกึ เสยี ง งานแพรเ่ สียง
แพรภ่ าพ รวมถงึ งาน อนื่ ๆ ในแผนกวรรณคดี วิทยาศาสตร์ หรอื แผนกศิลปะ งานเหล่าน้ีถือเป็น
ผลงานที่เกดิ จากการใชส้ ติปัญญา ความร้คู วามสามารถ และความวริ ยิ ะอุตสาหะในการสรา้ งสรรคง์ าน
ให้เกดิ ข้นึ ซ่งึ ถือเปน็ ทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา ประเภทหนึ่งทีม่ ีคณุ ค่าทางเศรษฐกจิ

การได้มาซึ่งลิขสิทธิ์
สิทธใิ นลขิ สิทธิเ์ กดิ ข้นึ ทนั ที นับแต่ผ้สู รา้ งสรรค์ไดส้ ร้างสรรคผ์ ลงานออกมาโดยไมต่ อ้ งจด
ทะเบยี น หรอื ผ่านพธิ ีการใดๆ

การค้มุ ครองลขิ สทิ ธิ์
ผเู้ ปน็ เจ้าของลิขสิทธ์ิ มสี ทิ ธิแต่เพียงผเู้ ดยี วในการใชป้ ระโยชนจ์ ากผลงานสร้างสรรค์ของตน
ในการ ทาซ้า ดดั แปลง หรือเผยแพร่ต่อสาธารณชน

ประโยชน์ตอ่ ผู้บริโภค
การค้มุ ครองและพทิ ักษ์สิทธิในผลงานลขิ สิทธิ์ มผี ลให้เกดิ แรงจูงใจแก่ผสู้ รา้ งสรรค์ ท าการ
สร้างสรรค์ ผลงานที่มีประโยชน์ มีคณุ คา่ ทางวรรณกรรมและศิลปกรรมออกสตู่ ลาด ส่งผลใหผ้ บู้ ริโภค
ได้รบั ความรู้ ความ บันเทิง และได้ใชผ้ ลงานทม่ี ีคณุ ภาพ

หนว่ ยท่ี 9

1. อธบิ ายลักษณะของพระราชบัญญัตวิ ่าด้วยการกระทาความผดิ เก่ยี วกบั
คอมพิวเตอรไ์ ด้
2. ปฏบิ ัติการป้องกนั และหลีกเลยี่ งการกระทาความผิดตามพระราชบญั ญตั ิ
ว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

หนว่ ยที่ 9

พระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์
พระราชบญั ญตั ิว่าดว้ ยการกระทาความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มผี ลบังคบั ใช้ตงั้ แต่

วันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เปน็ พระราชบัญญตั ิท่สี าคญั อยา่ งมากในทกุ วงการ เพราะปจั จุบนั
คอมพวิ เตอรไ์ ดเ้ ข้ามามีบทบาทและเป็นสว่ นหน่ึงในชีวิตประจาวันมากที่สุดไม่วา่ จะเปน็ หน่วยงาน
องค์กรตา่ ง ๆ ภาครฐั เอกชน คนทางาน นสิ ิต นักศกึ ษา ลว้ นเกยี่ งข้องกับคอมพวิ เตอร์ท้ังสน้ิ
จงึ จาเปน็ อย่างยง่ิ ท่จี ะตอ้ งศกึ ษาข้อมูลและทาความเขา้ ใจเก่ียวกับ พ.ร.บ. ฉบับนี้ เพ่อื ป้องกันไมใ่ ห้เกิด
การกระทาผิดทางคอมพวิ เตอร์ และใหก้ ารใช้งานคอมพวิ เตอรใ์ นประเทศไทยไปในทางท่ีสร้างสรรค์

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ
ให้ประกาศวา่ “โดยท่เี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยการกระทาความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์
จึงทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราชบญั ญตั ขิ ้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ
สภานิตบิ ญั ญัติแห่งชาติ ดงั ต่อไป”

พระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทาความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินีเ้ รียกว่า “ พระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระทาความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์
พ.ศ. 2550 ”
มาตรา 2 พระราชบัญญตั นิ ใ้ี ห้ใชบ้ งั คับเมอื่ พ้นกาหนดสามสิบวัน นับต้ังแต่วนั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา 3 ในพระราชบญั ญตั ินี้

“ระบบคอมพวิ เตอร์” หมายความวา่ อุปกรณ์หรือชดุ อุปกรณ์ของคอมพิวเตอรท์ ่เี ช่อื มการ
ทางานเขา้ ดว้ ยกนั โดยไดม้ ีการกาหนดคาส่ัง ชดุ คาสั่ง หรือส่งิ อืน่ ใด

“ขอ้ มูลคอมพิวเตอร์” หมายความวา่ ขอ้ มลู ขอ้ ความ ค าส่ัง ชดุ ค าส่งั หรือสงิ่ อ่นื ใดบรรดาที่
อยใู่ นระบบคอมพวิ เตอร์ในสภาพท่รี ะบบคอมพวิ เตอรอ์ าจประมวลผลได้ และให้ความหมายความ
รวมถงึ ข้อมลู อิเล็กทรอนกิ สต์ ามกฎหมายว่าดว้ ยธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนกิ สด์ ้วย


Click to View FlipBook Version