แผนการจัดการเรียนรู้
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวิชาวทิ ยาการคานวณ ๒ (ว๒๒๑๐๔)
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ แนวคดิ เชิงคานวณ
ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
นายกฤษณะ จนั ทรร์ อด
ครผู ้สู อน
คำชี้แจงการทำแผนการจัดการเรียนรู้
ในการทำกำหนดการจดั การเรยี นรู้ ครผู ู้สอนควรดำเนินการ ดังน้ี
1. ศกึ ษาวสิ ัยทศั น์ของโรงเรียนและวิสัยทัศน์ของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
2. ศกึ ษาสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั ของกลุ่มสาระการเรียนรู้
3. ศกึ ษาสาระแกนกลางและสาระท้องถนิ่ / กำหนดผลการเรียนรู้
4. จดั ทำคำอธบิ ายรายวชิ า
5. จัดทำโครงสร้างรายวิชา
6. จัดทำหน่วยการเรียนรู้
7. จัดทำกำหนดการจดั การเรยี นรู้
8. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้
บนั ทกึ การตรวจแผนการจดั การเรียนรู้
ความเหน็ .............................................................................................................................................................
.................................................................................................. ..............................................................
ลงชอ่ื ตวั แทนกล่มุ สาระการเรยี นรู้ / ผู้ตรวจ
(………………………………………)
.........../............../...............
ความเหน็ .............................................................................................................................................................
..................................................................................................... ...........................................................
ลงชอื่ หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
(………………………………………)
.........../............../...............
ความเห็น .............................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื รองผู้อำนวยการกล่มุ บริหารวิชาการ
(………………………………………)
.........../............../...............
ความเหน็ .............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................... .....................
ลงช่ือ ผู้อำนวยการโรงเรียน
(………………………………………)
.........../............../...............
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม
ตัวช้ีวัด
1. ออกแบบอลั กอริทึมที่ใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ัญหา หรือการทำงานทีพ่ บในชีวติ จริง
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ใี ช้ตรรกะและฟงั กช์ นั ในการแก้ปัญหา
3. อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี การสื่อสารเพ่ือ
ประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบือ้ งต้น
4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สร้างและแสดงสิทธิในการเผยแพร่
ผลงาน
ตวั ช้วี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางวทิ ยาศาสตร์
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ รูเ้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม
ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
ม.2 1. ออกแบบอัลกอริทมึ ท่ีใช้แนวคดิ เชงิ แนวคิดเชิงคำนวณ
คำนวณในการแกป้ ญั หา หรือการทำงานท่ี การแกป้ ัญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณ
พบในชวี ติ จรงิ
ตวั อยา่ งปัญหา เชน่ การเข้าแถวตามลำดบั ความ
สงู ให้เรว็ ท่สี ดุ จดั เรียงเสื้อผา้ ใหห้ างา่ ยทสี่ ุด
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่ใี ช้ตรรกะ ตวั ดำเนนิ การบลู นี
และฟงั กช์ ันในการแก้ปัญหา ฟงั ก์ชนั
การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มกี ารใชต้ รรกะ
และฟงั กช์ นั
การออกแบบอัลกอรทิ ึม เพ่ือแกป้ ัญหาอาจใช้
แนวคิดเชงิ คำนวณในการออกแบบเพื่อให้การ
แก้ปญั หามปี ระสิทธิภาพ
การแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นข้ันตอนจะชว่ ยใหแ้ กป้ ญั หา
ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
ซอฟต์แวรท์ ่ีใช้ในการเขยี นโปรแกรม เชน่
Scratch,python, java, c
ตัวอยา่ งโปรแกรม เชน่ โปรแกรมตัดเกรด
หาคำตอบทง้ั หมดของอสมการหลายตัวแปร
3. อภิปรายองคป์ ระกอบและหลกั การ องคป์ ระกอบและหลักการทำงานของระบบ
ทำงานของระบบคอมพิวเตอร์และ คอมพิวเตอร์
เทคโนโลยี การสอื่ สาร เพ่ือประยุกต์ใช้ เทคโนโลยีการสือ่ สาร
งานหรอื แก้ปญั หาเบ้ืองตน้
การประยกุ ต์ใช้งานและการแก้ปญั หาเบ้ืองตน้
4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย โดยเลือก
มคี วามรับผดิ ชอบ สร้างและแสดงสิทธิใน แนวทางปฏิบัติเมือ่ พบเนอื้ หาทีไ่ ม่เหมาะสม เช่น
การเผยแพรผ่ ลงาน แจง้ รายงานผ้เู กย่ี วข้อง ป้องกนั การเข้ามาของ
ข้อมลู ทไี่ ม่ เหมาะสม ไม่ตอบโต้ ไมเ่ ผยแพร่
การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความ
รบั ผดิ ชอบ เช่น ตระหนกั ถึงผลกระทบในการ
เผยแพร่ ขอ้ มลู
การสรา้ งและแสดงสิทธ์ิความเปน็ เจ้าของผลงาน
การกำหนดสทิ ธิการใชข้ อ้ มูล
รายวิชาวิทยาการคำนวณ ๒ คำอธบิ ายรายวิชา
รหสั วชิ า ว22104
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าพนื้ ฐาน
ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
จำนวน ๑ คาบ/สปั ดาห์ จำนวน 20 คาบ/ภาคเรยี น
ศึกษาการออกแบบอัลกอรทิ ึมท่ีใช้แนวคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หา หรอื การทำงานท่ีพบในชวี ิตจริง
การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใช้ตรรกะและฟังก์ชันในการแก้ปัญหา การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์
Scratch, python, java และ c อภิปรายองค์ประกอบและหลักการทำางานของระบบคอมพิวเตอร์และ
เทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อประยุกต์ใช้งานหรือแก้ปัญหาเบื้องต้น ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย มีความรบั ผิดชอบ สรา้ งและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพร่ผลงาน
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem-based Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนมี
ทักษะการคิดวิเคราะห์ มีทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถ ในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ
พัฒนาทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงคำนวณมาประยุกต์ใช้ในชีวติ
ประจรงิ ได้
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ การนำข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน
นำเสนอข้อมูลและ สารสนเทศไดต้ ามวัตถุประสงค์ ใช้ทกั ษะการคดิ เชิงคำนวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชีวิตจริง
และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อช่วย ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารอย่างรู้เท่าทัน
และรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำความรู้ความเข้าใจใน วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ตอ่ สงั คมและการดำรงชวี ิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการ มคี วามสามารถในการ
แก้ปัญหาและมีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม
จริยธรรม และคา่ นิยมในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
ตัวชีว้ ัด
ว 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
รวม 4 ตัวชีว้ ดั
รายวชิ าวิทยาการคำนวณ ๒ โครงสร้างรายวิชา
รหัสวิชา ว22104
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาพ้นื ฐาน
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔
จำนวน ๑ คาบ/สัปดาห์ จำนวน 20 คาบ/ภาคเรยี น
หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
คะแนน
ท่ี ตวั ชีว้ ดั (ชั่วโมง)
20
1 แนวคดิ เชิงคำนวณ ว 4.2 - แนวคิดเชิงคำนวณ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ 4
30
ม.2/1 ปัญหา เพื่อให้ได้แนวทางหาคำตอบอย่างเป็น 30
ขั้นตอนที่สามารถนำไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือ 20
100
คอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง แนวคิดเชิงคำนวณมี
องค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน ได้แก่ การแบ่งปัญหา
ใหญ่เป็นปัญหาย่อย ( Decomposition) การ
พิจารณารูปแบบ (Pattern Recognition) การคิด
เ ช ิ ง น า ม ธ ร ร ม ( Abstraction) ก า ร อ อ ก แ บ บ
อัลกอริทมึ (Algorithm)
2 การออกแบบและการ ว ๔.2 - การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้ตรรกะ 6
เขียนโปรแกรม ม.2/2 และฟังก์ชัน การออกแบบอลั กอริทึม เพื่อแก้ปัญหา
โดยใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการออกแบบ จะชว่ ยให้
แก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการเขียน
โปรแกรม เช่น Scratch, python, java, c
3 ระบบคอมพิวเตอร์ ว ๔.2 - ระบบคอมพิวเตอร์ เป็นระบบที่ใช้ในการ 6
และเทคโนโลยีการ ม.2/3 ป ร ะ ม ว ล ผ ล ใ ห้ ไ ด ้ ผ ล ล ั พ ธ ์ ต า ม ท ี ่ ต ้ อง การ
สอ่ื สาร ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ซึ่ง
องค์ประกอบแต่ละส่วนจะต้องทำงานร่วมกันอย่าง
เป็นขั้นตอน ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้งานและ
แก้ปัญหาเบื้องต้นได้ และในการสื่อสารก็ต้อง
เ ล ื อ ก ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ย ี ก า ร ส ื ่ อ ท ี ่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ มี
ประสทิ ธิภาพ
4 ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี ว ๔.2 - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศต้องใช้อยา่ งปลอดภยั 4
สารสนเทศ ม.2/4 โดยเลือกแนวทางปฏิบัติเมื่อพบเนื้อหาที่ไม่
เหมาะสม ใช้อย่างมีความรับผิดชอบ ตระหนักถึง
ผลกระทบในการเผยแพร่ข้อมูล มีการสร้างและ
แสดงสทิ ธิ์ความเป็นเจ้าของผลงาน และการกำหนด
สิทธิการใชข้ ้อมูล
รวมตลอดภาคเรยี น 20
ตารางคะแนนหนว่ ยการเรยี นรู้
รหัสวชิ า ว22104 วิชาวิทยาการคำนวณ ๒
หนว่ ย ช่อื หนว่ ย ตวั ช้ีวดั / เวลา คะแนนหน่วย คะแนน คะแนน รวม
การเรียนรู้ที่ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง) การเรยี น กลางภาค ปลายภาค คะแนน
ท้งั หมด
๑ แนวคิดเชิงคำนวณ ว 4.2 4 10 10 -
ม.2/1 6 20 10 - 20
๒ การออกแบบและการ ว ๔.2
เขียนโปรแกรม ม.2/2 30
๓ ระบบคอมพิวเตอร์ ว ๔.2 4 20 - 5 25
และเทคโนโลยีการ ม.2/3
สือ่ สาร
๔ ก า ร ใ ช ้ เ ท ค โ น โ ล ยี ว ๔.2
สารสนเทศ ม.2/4 6 10 - 15 25
รวม ๒๐ ๖๐ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑
กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง แนวคดิ เชงิ คำนวณ
ชื่อวิชาวทิ ยาการคำนวณ 2 รหัส ว22104 วชิ าวิทยาการคำนวณ 2
ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ จำนวน 4 คาบ จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ
ผู้สอน นายกฤษณะ จันทรร์ อด
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คำนวณในการแกป้ ญั หาทพี่ บในชวี ิตจรงิ อย่าง เป็นข้นั ตอน
และเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรยี นรู้ การทำงาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่าง
มปี ระสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมีจรยิ ธรรม
ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอลั กอรทิ ึมท่ใี ช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแกป้ ัญหา หรอื การทำงานทีพ่ บใน
ชีวติ จรงิ
2. สาระสำคญั
แนวคิดเชิงคำนวณ เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพ่ือให้ได้แนวทางหาคำตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่
สามารถนำไปปฏิบัติไดโ้ ดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้อง แนวคิดเชิงคำนวณมีองค์ประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน
ได้แก่ การแบ่งปัญหาใหญ่เป็นปัญหาย่อย (Decomposition) การพิจารณารูปแบบ (Pattern Recognition)
การคดิ เชงิ นามธรรม (Abstraction) การออกแบบอลั กอริทึม (Algorithm)
3. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๑. แนวคิดเชิงคำนวณ
๒. การแกป้ ญั หาโดยใช้แนวคดิ เชงิ คำนวณ
๓. ตวั อยา่ งปัญหา เชน่ การเข้าแถวตามลำดบั ความสูงใหเ้ รว็ ทสี่ ดุ จัดเรียงเส้อื ผ้าให้หางา่ ยที่สดุ
๓.๒ สาระการเรียนรู้ท้องถิน่
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)
4. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
- ทกั ษะการส่อื สาร
- ทักษะการแลกเปลย่ี นข้อมูล
๒) ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
- ทักษะการคิดเชงิ คำนวณ
๓) ความสามารถในการแก้ปญั หา
- ทกั ษะการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
๔) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรว่ มกัน
๕) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการสบื ค้นขอ้ มลู
๕. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1) รักชาติ ศาสนา กษัตรยิ ์ ๕) อยอู่ ยา่ งพอเพียง
๒) ซือ่ สัตย์ สจุ ริต ๖) ม่งุ มัน่ ในการทำงาน
๓) มีวินัย ๗) รักความเปน็ ไทย
๔) ใฝเ่ รียนรู้ ๘) มีจิตสาธารณะ
6. จุดเนน้ สู่การพัฒนาผ้เู รียน ความสามารถและทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
R1 - (R)eading (อา่ นออก) R2 –W(R)iting (เขียนได้) R3 - A(R)ithmetics (คิดเลขเปน็ )
C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการ แกป้ ัญหา)
C2 - Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเขา้ ใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม
และภาวะผนู้ ้า)
C5 - Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และการรเู้ ทา่ ทันสอ่ื )
C6 - Computering and ICT
(ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทักษะการเรยี นรู้)
C8 - Compassion (ความเมตตากรุณา มีวินัย คุณธรรม จริยธรรม)
7. การบรู ณาการตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ
บูรณาการกบั ศาสตรพ์ ระราชา
การมที ัศนคตทิ ี่ถกู ต้องตอ่ บา้ นเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์)
การมพี นื้ ฐานชวี ติ ท่ีม่นั คง
การมงี าน มอี าชีพ
การเปน็ พลเมืองดี มีนา้ ใจ เอ้อื อาทร มีจติ สาธารณะ
บรู ณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หลกั ความพอประมาณ
หลักความมีเหตุผล
หลกั การมภี ูมคิ ้มุ กนั
เงื่อนไขความรู้
เงือ่ นไขคณุ ธรรม
บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้
(ระบ)ุ …………………………………………………………………….........................................................
๘. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน (รวบยอด)
ผังมโนทศั นห์ น่วยท่ี 1 เรอื่ ง การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคดิ เชิงคำนวณ
๙. การวัดและประเมิณผล
รายการประเมิน วิธีวดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมนิ
๙.๑ การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน - ตรวจชิน้ งาน/ภาระ งาน (รวบยอด) - แบบประเมินช้นิ งาน ระดบั คณุ ภาพ ๒
(รวบยอด) ผงั มโนทัศน์หน่วยท่ี ๑ /ภาระงาน(รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์
เร่ือง การแกป้ ัญหาโดยใชแ้ นวคิด
เชงิ คำนวณ
๙.๒ การประเมนิ ก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ประเมนิ ตามสภาพจริง
- แบบทดสอบก่อนเรยี น
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
เรือ่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ
๙.๓ การประเมินระหว่างการจดั - ตรวจใบงานท่ี 1.1 - ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรม
1. แนวคดิ เชงิ คำนวณ
2. องคป์ ระกอบแนวคดิ เชิงคำนวณ - ตรวจใบงานที่ 1.2 - ใบงานที่ 1.2 รอ้ ยละ 70 ผ่านเกณฑ์
3. แนวคดิ เชิงนามธรรม - ตรวจใบงานที่ 1.3 - ใบงานท่ี 1.3 รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
4. การแกป้ ญั หาตามแนวคดิ เชงิ - ตรวจใบงานที่ 1.4 - ใบงานท่ี 1.4 รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
คำนวณ
5. การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน - แบบประเมนิ การนำเสนอ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
ผลงาน เกณฑ์
6. พฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล - สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสังเกตพฤติกรรมการ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ น
รายบุคคล
ทำงานรายบคุ คล เกณฑ์
7. พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่าน
ทำงานกลุ่ม เกณฑ์
8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - สังเกตความมวี ินยั ความรับผิดชอบ - แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ น
ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ ม่นั ในการทำงาน พึงประสงค์ เกณฑ์
๙.๔ การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น - แบบทดสอบหลงั เรยี น ร้อยละ 70 ผ่านเกณฑ์
1.แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๑
เรอ่ื ง แนวคิดเชิงคำนวณ
๑๐. กจิ กรรมการเรียนรู้
นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 เรื่อง แนวคิดเชงิ คำนวณ
แผนที่ ๑ : แนวคิดเชงิ คำนวณ
วิธีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (๕Es Instructional Model) เวลา ๑ ชัว่ โมง
ข้นั นำ
ข้นั ท่ี ๑ สรา้ งความสนใจ (Engagement)
๑. ทกั ทายและสนทนา เพ่ือสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ีดกี ับนักเรียน โดยใช้คำถาม เชน่
๑) ครูและนกั เรยี นกล่าวทกั ทายกัน
๒) ครชู อ่ื อะไรคะ มีใครรู้จกั บ้าง จากนน้ั ครกู ็แนะนำตัวเอง
๓) นกั เรยี นมวี ิธนี ำเสนอตัวเองอยา่ งไรใหค้ รูไดร้ จู้ กั นักเรียนคะ
๔) นักเรียนคดิ วา่ วิชาวทิ ยาการคำนวณจะเรียนเก่ียวกับอะไร
๒. ครแู นะนำการสอน และกฎระเบียบในการอยู่ร่วมกนั ในห้องเรยี น
๓. นักเรียนเขา้ รว่ มหอ้ งเรยี นออนไลน์รายวชิ า วิทยาการคำนวณ 2 โดยพิมพ์รหสั ห้องเรียน
๔. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยที่ ๑ เรอื่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ จำนวน 10 ขอ้
ผ่าน Google Form
ขน้ั สอน
ข้นั ที่ ๒ สำรวจและค้นหา (Exploration)
๕. นักเรยี นร่วมกนั ตอบคำถาม “นกั เรยี นคิดว่ามนษุ ย์นำแนวคิดเชิงคำนวณมาประยกุ ต์ใช้
ในชีวิตประจำวันได้อยา่ งไร”
๖. นกั เรียนรว่ มกันสนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเห็นเก่ียวกับแนวคิดเชงิ คำนวณ
๗. นักเรยี นศกึ ษาคน้ คว้าและรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับแนวคดิ เชงิ คำนวณ จากแหล่งการเรียนรู้
ต่าง ๆ ทีห่ ลากหลาย เชน่ หนงั สอื เรยี น อนิ เทอร์เนต็ ใบความรู้
ขั้นท่ี ๓ อธิบายความรู้ (Explanation)
๘. นกั เรียนร่วมกนั วิเคราะหเ์ กย่ี วกับกจิ กรรมหรือสถานการณใ์ นชีวิตประจำวนั ของนักเรียนว่า
มกี ารนำแนวคดิ เชงิ คำนวณมาใชใ้ นการแก้ปัญหาอย่างไร
ขั้นท่ี ๔ ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละเท่า ๆ กัน จากนั้นแต่ละกลุ่มร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมใบงานที่
๑.๑ องค์ประกอบแนวคดิ เชิงคำนวณ
๑0. นกั เรยี นร่วมกันสรปุ สงิ่ ทเ่ี ขา้ ใจเป็นความรู้รว่ มกนั ดังน้ี
แนวคิดเชิงคำนวณ คอื แนวคิดในการแก้ปญั หา ต่าง ๆ เพราะเป็นกระบวนการที่มีลำดับ
ขั้นตอนที่ชัดเจน ไม่ว่าจะเป็นการเข้าแถวตามลำดบั ของนักเรียน หรือปัญหาการจัดเรียง
เสื้อผ้า อกี ทั้งเป็นกระบวนการทม่ี นุษย์และคอมพวิ เตอร์สามารถเข้าใจรว่ มกันได้ ดงั นั้นจึง
ควรนำแนวคดิ เชิงคำนวณเข้ามาใช้ในการแก้ปัญหาเพ่ือให้เกิดผลลัพธ์ในการแก้ปัญหาท่ีมี
ประสิทธิภาพ
ขน้ั สรปุ
ขั้นท่ี ๕ ตรวจสอบผล (Evaluation)
๑1. นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำเสนอการวเิ คราะห์กจิ กรรมหรือสถานการณ์ชีวติ ประจำวนั
ของนักเรียนว่ามกี ารนำแนวคดิ เชงิ คำนวณมาใช้ในการแกป้ ญั หาอยา่ งไร ของกลุ่มตนเอง
หน้าชั้นเรียนเพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนรกู้ ัน
๑2. ครปู ระเมนิ ผล โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การร่วมกนั ทำผลงาน และจากการนำ
เสนอผลงาน
๑3. ครวู ดั และประเมินจากการทำใบงานที่ ๑.๑ เรือ่ ง แนวคดิ เชงิ คำนวณ
แผนท่ี 2 : องค์ประกอบแนวคิดเชิงคำนวณ เวลา ๑ ช่วั โมง
วธิ ีสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (๕Es Instructional Model)
ขน้ั นำ
ขนั้ ที่ ๑ สร้างความสนใจ (Engagement)
๑. ครถู ามคำถามประจำหวั ขอ้ วา่ “นกั เรียนคิดว่ามนษุ ยน์ ำแนวคิดเชิงคำนวณมาประยกุ ต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ย่างไร”
๒. นักเรียนรว่ มกนั สนทนาแลกเปลย่ี นความคิดเห็นเก่ยี วกับแนวคดิ เชงิ คำนวณแลว้ ตอบ
คำถามดังน้ี แนวคิดเชิงคำนวณมอี งคป์ ระกอบอะไรบ้าง (แนวคดิ แบบแยกย่อย,แนวคิดการ
หารูปแบบ,แนวคิดเชงิ นามธรรม,การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี)
ขน้ั สอน
ขั้นที่ ๒ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
3. นักเรียนศึกษาความหมายและองค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณจากหนังสือเรียน
ศึกษาเพิ่มเติมจากสือ่ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน CAI หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1
ขน้ั ท่ี ๓ อธบิ ายความรู้ (Explanation)
4. ครสู ่มุ นักเรียน 3-4 คน ออกมาอธบิ ายความหมายและองค์ประกอบทัง้ 4 ข้อของแนวคิด
เชงิ คำนวณตามท่ีนกั เรยี นได้ศึกษา และนำบตั รภาพ เรอ่ื ง องคป์ ระกอบแนวคิดเชงิ คำนวณ
ใหน้ ักเรยี นดูเพ่อื ใหน้ ักเรียนเขา้ ใจมากย่งิ ขึ้น
ขั้นที่ ๔ ขยายความเข้าใจ (Elaboration)
5. ครูซักถามนักเรียนเพือ่ ตรวจสอบความเขา้ ใจว่า“องค์ประกอบของแนวคดิ เชงิ คำนวณแบง่
ออกเป็นกอี่ งคป์ ระกอบอะไรบ้าง”
4. นักเรียนทำใบงานที่ 1.2 เรื่อง องค์ประกอบของแนวคิดเชิงคำนวณ โดยเขียนภาพ
การทำงานขององคป์ ระกอบแนวคิดเชิงคำนวณจากสถานการณ์ที่กำหนดให้
ขน้ั สรุป
ขนั้ ที่ ๕ ตรวจสรุปบผล (Evaluation)
6. ครูประเมินผลงานนักเรียนจากการสังเกตการตอบคำถาม ความสนใจในการเรียน
และตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบงานที่ 1.2 องค์ประกอบของแนว
คิดเชงิ คำนวณ
7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับแนวคิดเชิงคำนวณว่า“แนวคิดเชิงคำนวณไม่ได้เป็น
กระบวนการทางความคิดเฉพาะนักวิทยาศาสตร์หรือนักพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
แต่สามารถนำมาประยุกต์ใชใ้ นการแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ในชวี ติ ได้
แผนที่ 3 : แนวคดิ เชิงนามธรรม เวลา ๑ ชั่วโมง
วธิ ีสอนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem - based Learning)
ขนั้ นำ
ครถู ามคำถามประจำหัวข้อเพื่อกระตนุ้ ความสนใจของนักเรียนว่า“แนวคดิ เชิงนามธรรมมคี วามสำคัญ
อย่างไร”
ขนั้ สอน
ขัน้ ที่ 1 กำหนดปัญหา
1. ครูเกริ่นนำให้นักเรียนทำความเข้าใจในเนื้อหาเกี่ยวกับแนวคิดเชิงนามธรรม โดยศึกษาภาพ
จากสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จากนั้นถามนักเรียนว่า
เหตุใดมนษุ ย์และโลมา จงึ ถูกจำแนกเปน็ กลุ่มหน่ึงของสิง่ มชี ีวติ ด้วยแนวคิดเชิงนามธรรม
2. ครใู หน้ ักเรียนช่วยกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น (ทิง้ ช่วงให้นกั เรยี นไดค้ ิด)
3. ครูอธิบายถึงความหมายของแนวคิดเชิงนามธรรมว่า เป็นกระบวนการคิดแยกคุณลักษณะ
ทสี่ ำคัญออกจากรายละเอียด หรอื สิง่ ท่นี กั เรียนกำลงั พิจารณา เพอื่ ให้ได้ขอ้ มูลที่จำเป็น
4. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า เหตุท่ีมนุษย์และโลมา จึงถูกจำแนกเป็นกลุ่มหนึ่งของสิ่งมีชีวิตด้วย
แนวคิดเชิงนามธรรม เพราะทั้งมนุษย์และโลมาเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งเป็นการ
แยกแยะสว่ นทเี่ ปน็ สาระสำคัญออกส่วนที่ไม่ใชส่ าระสำคัญ
ขั้นท่ี 2 ทำความเข้าใจกับปัญหา
5. ครใู ห้นักเรียนทำใบงานท่ี 1.3 เร่ือง แนวคิดเชิงนามธรรม
6. ครูใหน้ กั เรียนช่วยกนั ระดมสมองว่าจะหาคำตอบได้อย่างไร และโดยวธิ กี ารใด
7.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน เพื่อช่วยกันวิเคราะห์ปัญหาและช่วย
กันหาคำตอบ
ขั้นที่ 3 ดำเนินการศกึ ษาคน้ คว้า
8. ครูให้นักเรียนศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดเชิงนามธรรมจากสื่อบทเรียน CAI
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แนวคิดเชิงคำนวณ
9. นักเรียนดำเนินการศึกษาค้นคว้าตามประเด็น เช่น การใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือ
แกป้ ญั หาวิธีการตา่ ง ๆ รวมถึงประเด็นอนื่ ๆ ท่นี กั เรียนตอ้ งการศึกษา
ขน้ั ที่ 4 สงั เคราะหค์ วามรู้
10. นักเรียนแต่ละคนแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม เพื่อสรุปเกี่ยวกับการใช้แนวคิดเชิง
นามธรรมเพ่ือแก้ปญั หา
11. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั พิจารณาต่อไปว่า การใชแ้ นวคิดเชิงนามธรรมในการแก้ปัญหา
ทางคณิตศาสตร์และทางวิทยาศาสตร์ จากตัวอย่างการนำแนวคิดเชิงนามธรรม
มาประยุกตใ์ ชก้ ับรูปทรงเรขาคณติ ซ่ึงจะพิจารณาเฉพาะสาระสำคัญ
ข้ันที่ 5 สรปุ และประเมนิ คา่
12. นักเรียนทุกกลุ่มร่วมกันนำเสนอโปรแกรมแก้ปัญหาที่ได้จากการสังเคราะห์
และร่วมกันอภิปรายว่าข้อมูลของแต่ละกลุ่มที่ได้ศึกษาค้นคว้ามาครบถ้วน ถูกต้อง
สมบูรณห์ รอื ไม่โดยครผู สู้ อนช่วยตรวจสอบความถกู ตอ้ งและเสนอแนะเพม่ิ เติม
13. จากน้ันครใู หน้ กั เรยี นทำใบงานท่ี 1.3 เรอื่ งแนวคดิ เชิงนามธรรมเพื่อเปน็ การทบทวน
ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจในเน้อื หายิ่งขึ้น
14. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเร่ือง แนวคิดเชิงนามธรรม ว่ามีส่วนไหนท่ี
ยังไมเ่ ข้าใจและใหค้ วามรู้เพิม่ เตมิ ในสว่ นนนั้
ขนั้ สรุป
ขน้ั ท่ี 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
15. ครใู หน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนกลุ่มออกมานำเสนอผลการดำเนนิ การศกึ ษคน้ ควา้
หนา้ ชน้ั เรยี น
16. นกั เรยี นร่วมกันประเมนิ ทัง้ งานของกลุ่มตนเองและของเพื่อน
17. ครปู ระเมนิ ผลงาน โดยการสงั เกตการตอบคำถาม การรว่ มกันทำผลงาน และจากการ
นำเสนอผลงาน
18. ครูวัดและประเมนิ จากการทำใบงานท่ี 1.3 เร่ือง แนวคดิ เชงิ นามธรรม
แผนที่ 4 : การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี เวลา ๑ ชวั่ โมง
วิธกี ารสอนโดยเน้นการจดั การเรียนร้แู บบใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (problem- based learning)
ขน้ั นำ
นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนความรู้เดิมที่ไดเ้ รียนในชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับองค์ประกอบของแนว
คิดเชงิ คำนวณจากสือ่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI หน่วยการเรียนรูท่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ
ขนั้ สอน
ขัน้ ที่ 1 กำหนดปัญหา
๑. ครูถามคำถามประจำหัวข้อเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า การออกแบบขั้นตอน
วิธีมีความหมายและความสำคัญอย่างไร (แนวคำตอบ การออกแบบขั้นตอนวิธีเป็นการ
ถ่ายถอดความคดิ ทใี่ ชใ้ นการแก้ปัญหา เพ่ือทำให้เราสามารถนำแนวคิดทีอ่ อกแบบไวไ้ ป
ปฏิบัติตามขั้นตอนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและรวดเรว็ )
๒. ครตู ้งั ประเด็นคำถามกับนักเรียนว่า“นักเรยี นทราบหรือไม่ ว่าการออกแบบขั้นตอนวิธีมีกี่
รูปแบบและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ มี 3
รูปแบบ 1.แบบบรรยาย เป็นการอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิตประจำวันด้วยคำพูดที่เข้าใจง่าย 2.แบบรหัสลำลอง เป็นการอธิบายขั้นตอนการ
ทำงานของโปรแกรม 3. แบบผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีโดยการใช้สัญลักษณ์ที่มี
ความหมายแตกตา่ งกันเพอ่ื ใช้แก้ปญั หาในชีวติ ประจำวันใหถ้ ูกต้องและรวดเรว็
ข้ันที่ 2 ทำความเข้าใจปัญหา
3. ครอู ธิบายรปู แบบของแนวคิดการออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี และใหน้ ักเรยี นศึกษาประกอบกับ
บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน CAI หนว่ ยการเรยี นรทู ี่ 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ
4. ครูถามคำถามเพอื่ ทบทวนความรูพ้ ้ืนฐานของนักเรยี นว่า “นกั เรียนทราบหรอื ไมป่ ัจจุบัน
นิยมใช้รูปแบบของแนวคิดการออกแบบขั้นตอนวิธีในการออกแบบการเขียนโปรแกรม
แบบใดมากที่สดุ ” (แนวคำตอบ รปู แบบผงั งาน)
5. ครูสุ่มนักเรียน 3-4 คน เพื่อออกมาเล่นเกมส์ ลูกเต๋าผังงาน (เป็นเกมส์ที่ใช้ทบทวน
ความรู้ของนกั เรียนเกีย่ วกับความหมายและการทำงานของสญั ลักษณ์ต่าง ๆ) จากน้ันให้
นักเรียนอธิบายความหมายและการทำงานของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ทอยได้โดยครู
จะคอยเสรมิ สิ่งที่นกั เรียนอธบิ ายไมส่ มบูรณ์ให้สมบรู ณ์ย่งิ ขนึ้
6. ครูอธบิ ายถึงโครงสร้างการออกแบบขน้ั ตอนด้วยผังงาน (โครงสร้างการออกแบบขนั้ ตอน
ดว้ ยผังงานมี 3 วิธี 1. โครงสรา้ งแบบลำดับ 2. โครงสรา้ งแบบทางเลือก 3. โครงสรา้ ง
แบบวนซ้ำ)
ขั้นที่ 3 ดำเนนิ การศกึ ษาคน้ คว้า
7. ครูแบ่งกลุม่ นกั เรียนออกเป็น 3 กลุ่มแล้วให้นักเรียนศึกษาเรื่อง โครงสร้างการออกแบบ
ขั้นตอนด้วยผังงานจากสอื่ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน CAI หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1
8. ครูแจกบอร์ดจิ๊กซอว์ให้นักเรียน 1 ชุด แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคดิ
ต่อจิ๊กซอวใ์ หเ้ ป็นขั้นตอนผงั งานทส่ี มบรู ณ์
ขัน้ ที่ 4 สงั เคราะหค์ วามรู้
10. นักเรียนแต่ละคนแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่มเพื่อสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างออกแบบ
ขั้นตอนด้วยผังงาน แต่ละรูปแบบมีการทำงานอย่างไร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
การออกแบบขั้นตอนการเขียนโปรแกรมได้อย่างไร
ขัน้ ที่ 5 สรปุ และประเมินค่าของคำตอบ
11. นักเรียนทำใบงานที่ 1.4 เรื่อง การออกแบบขั้นตอนด้วยผงั งาน
12. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนสาระสำคัญประจำหน่วย
การเรียนรู้ที่ 1 เร่อื ง แนวคิดเชิงคำนวณ
ขนั้ สรุป
ขัน้ ที่ 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
13. ครูประเมินผลนักเรียนจากการสังเกตการตอบคำถาม สำรวจพฤติกรรมการทำงานและ
สมดุ ประจำตัวของนักเรยี น
14. นักเรยี นทำแบบฝึกหัดประจำหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 โดยใหน้ ักเรียนตอบคำถามให้ถูกต้อง
และบันทึกลงในสมุดประจำตัว พร้อมทำชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรอ่ื ง การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนและ
นำมาส่งในชัว่ โมงถดั ไป
15. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง แนวคดิ เชิงคำนวณ
๑๑. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
- หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพวิ เตอร์
- บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 แนวคิดเชิงคำนวณ
- หนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2
ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)
- ใบงานท่ี 1.1 เรอื่ ง แนวคิดเชิงคำนวณ
- ใบงานที่ 1.2 เร่ือง องค์ประกอบแนวคดิ เชงิ คำนวณ
- ใบงานที่ 1.3 เร่อื ง แนวคิดเชงิ นามธรรม
- ใบงานท่ี 1.4 เร่ือง การออกแบบขั้นตอนวธิ ี
- บัตรคำองค์ประกอบแนวคิดเชงิ คำนวณ
- เกมส์ Kahoot
- ลกู เตา๋ ผงั งาน
- บอรด์ จ๊กิ ซอว์
การประเมนิ ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เกณฑ์การประเมินแผนผงั มโนทัศน์หน่วยท่ี 1 เรื่อง การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชงิ คำนวณ(ชิน้ งานท่ี 1 )
ประเด็นการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
ดเี ยยี่ ม (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง(1)
1. ผ ล ง า น ต ร ง กั บ ผ ล ง า น ส อ ด ค ล ้ อ ง กั บ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
จุดประสงค์ที่กำหนด จดุ ประสงคท์ กุ ประเดน็ จุดประสงค์เป็นส่วน จ ุ ด ป ร ะ ส ง ค ์ บ า ง จดุ ประสงค์
ใหญ่ ประเด็น
2. ข้นั ตอนการทำงาน มกี ารกำหนดขนั้ ตอนการ มีการกำหนดขั้นตอน มีการกำหนดขั้นตอน มีการกำหนดขั้นตอน
ทำงานที่ชัดเจนทุกขั้นตอน การทำงานค่ อนข้าง การทำงานแต่ยังมี การทำงานไม่ชัดเจน
ต้งั แต่เรมิ่ ทำงานจนกระทงั่ ชัดเจนตั้งแต่เริ่มการ ความสำเร็จของงาน ท ำ ใ ห ้ ผ ล ง า น ไ ม่
เหน็ ผลงานสมบูรณ์ ทำงานจนกระทั่งเห็น ไม่คอ่ ยสมบูรณ์ สมบูรณ์
ผลงานสมบรู ณ์
๓. รูปแบบขอแผนงผัง รูปแบบของแผนผังมโน ร ู ป แ บ บ ข อง แ ผ น ผั ง รูปแบบของแผนผัง รปู แบบของแผนผังมโน
มโนทัศน์ได้เหมาะสม ทั ศ น์ ถู กต ้ องส วย งา ม มโนทัศน์ถูกตอ้ งสวยงาม มโนทศั นถ์ กู ต้อง ทัศน์ไม่ถกู ตอ้ ง
กับเนื้อหาสวยงามและ มีความคิดสร้างสรรค์
มคี วามคิดสร้างสรรค์
๔. ระบุมโนทัศน์หลัก ระบุมโนทัศน์หลักและรอง ระบุมโนทัศน์หลักและ ระบุมโนทัศน์รองได้ ระบุมโนทัศน์หลักและ
และรองได้ถกู ตอ้ ง ไดถ้ กู ต้อง ครบถ้วน รองได้ถูกต้อง แต่ไม่ ถูกต้อง ครบถ้วน รองไมไ่ ดห้ รือไมถ่ ูกต้อง
ครบถ้วน
๕. การนำเสนอและ นำเสนอและอธบิ ายแผนผงั นำเสนอและอธิบาย นำเสนอและอธิบาย นำเสนอและอธิบาย
อ ธ ิ บ า ย แ ผ น ผั ง มโนทัศน์ได้ถูกต้องมีความ แผนผังมโนทัศน์ได้ แผนผังมโนทัศน์ได้ แผนผังมโนทัศน์ได้
มโนทัศน์ เขา้ ใจมาก ถูกต้องมีความเข้าใจ ถูกต้องมีความเข้าใจ ถูกต้องแต่ไม่มีความ
ปานกลาง น้อย เข้าใจ
**เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
ตำ่ กว่า 5 ควรปรบั ปรุง
พอใช้
5-10 ดี
1๑-15 ดมี าก
๑๖-๒๐
แบบทดสอบก่อนเรยี น
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ
คำชี้แจง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใดหมายถงึ แนวคิดเชิงคำนวณ 6. แนวคิดการแยกย่อยเป็นองค์ประกอบของแนวคิดใด
ก. Computer Thinking ก. แนวคดิ เชิงคำนวณ
ข. Calculator Thinking ข. แนวคิดเชงิ ตรรกะ
ค. Complete Thinking ค. แนวคิดเชิงรวบยอด
ง. Computational Thinking ง. แนวคิดเชิงนามธรรม
2. ขอ้ ใด ไมใ่ ช่ องคป์ ระกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณ 7. ขอ้ ใดกลา่ วถงึ แนวคิดเชิงคำนวณได้ถกู ต้อง
ก. แนวคดิ การหารูปแบบ ก. เป็นการแกป้ ัญหาจากใหญไ่ ปย่อย
ข. แนวคิดการแยกย่อย ข. เป็นทกั ษะการแกป้ ญั หาท่ซี บั ซ้อน
ค. แนวคิดเชิงนามธรรม ค. เปน็ ทกั ษะที่ใชใ้ นการประดิษฐ์หนุ่ ยนต์
ง. แนวคดิ เชงิ รปู ธรรม ง. เป็นทักษะสำคญั ทนี่ กั พัฒนาซอฟตแ์ วรค์ วรมี
3. แนวคิดเชิงคำนวณทีแ่ ตกปญั หาใหญอ่ อกเป็นปญั หา 8. เมือ่ พบกองเส้ือผ้าทปี่ ะปนกันอยเู่ ป็นจำนวนมาก
ย่อยหมายถึงคอื ขอ้ ใด จะเลือกแนวทางในการแก้ปญั หาอยา่ งไรจึงจะถูกต้อง
ก. แนวคิดการแยกย่อย ก. จัดเรยี งเสื้อผา้ ตามกลมุ่ / แบง่ กลมุ่ เสอ้ื ผ่า / จดั เข้าตู้
ข. แนวคดิ การหารปู แบบ เสื้อผา้
ค. แนวคิดเชิงนามธรรม ข. แบ่งกลุ่มเส้อื ผา้ / จัดเรยี งเสอ้ื ผา้ ตามกลุ่ม / จัดเข้าตู้
ง. แนวคิดเชิงรปู ธรรม เส้อื ผ้า
4. เมือ่ ครสู ง่ั ให้เข้าแถวตามลำดบั ความสงู ของนักเรยี น ค. แบง่ กล่มุ เสอ้ื ผา้ / แยกสีเสือ้ ผ้า / แยกประเภทเส้อื ผา้
ให้เร็วที่สดุ สิ่งแรกท่ีควรทำคอื ขอ้ ใด /จัดเขา้ ตู้เส้อื ผ้า
ก. เรยี งลำดับตามความสูงจากนอ้ ยไปหามาก ง. หาวตั ถุประสงคห์ ลักในการคน้ หาเส้อื ผ้า / แบ่งกลุ่ม
ข. เรียงลำดับตามความสูงจากมากไปหาน้อย เสอื้ ผ้าตามวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั / จดั เรยี งเสอ้ื ผ้าตามกลุ่ม
ค. กำหนดนักเรียนคนแรกให้เป็นนกั เรียนตำแหนง่ 9. เมอ่ื ต้องการแก้ปญั หาตามแนวคดิ เชิงคำนวณ
หลัก ควรทำองคป์ ระกอบใดเป็นขนั้ ตอนแรก
ง. แบ่งกลุม่ ออกเปน็ 2 กลุ่มโดยกำหนดเงอ่ื นไข ก.ทำปัญหานน้ั ใหม้ ขี นาดเลก็ ลง เพ่อื ให้สามารถจดั การ
ใหล้ ะเอียด ปญั หาแต่ละสว่ นได้งา่ ยขน้ึ
5. ข้อใดคือประโยชน์ของการแก้ปญั หาโดยใช้แนวคดิ ข. เปล่ียนรูปแบบปัญหาใหแ้ ก้ไขปญั หาได้งา่ ยขึ้น
เชิงคำนวณ ค. ออกแบบข้นั ตอนวิธีในการแกป้ ญั หา
ก. สามารถแกป้ ญั หาได้อยา่ งรวดเรว็ ง. กำหนดหลกั การในการแก้ปญั หา
ข. สามารถแกป้ ญั หาได้อยา่ งเปน็ ระบบ 10. แนวคดิ ในข้อใดใช้สัญลักษณ์ Flowchart แสดงลำดบั
ค. สามารถบันทกึ แนวทางการแก้ปัญหาได้ ขนั้ ตอนในการแก้ปัญหา
ง. สามารถแก้ปญั หาโดยใช้การคำนวณจาก ก. แนวคดิ เชิงนามธรรม
คอมพิวเตอร์ ข. แนวคดิ การแยกยอ่ ย
ค. แนวคิดการหารปู แบบ
ง. แนวคิดการออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี
เฉลย
1. ข 2. ง 3. ก 4. ค 5. ค 6. ก 7. ง 8. ง 9. ก 10. ค
แบบทดสอบหลังเรยี น
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคิดเชิงคำนวณ
คำชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. ข้อใด ไมใ่ ช่ องคป์ ระกอบของแนวคิดเชงิ คำนวณ 6. ข้อใดกลา่ วถึงแนวคดิ เชงิ คำนวณไดถ้ กู ต้อง
ก. แนวคดิ การหารูปแบบ ก. เป็นการแก้ปญั หาจากใหญไ่ ปยอ่ ย
ข. แนวคิดการแยกยอ่ ย ข. เป็นทกั ษะการแกป้ ญั หาท่ีซับซ้อน
ค. แนวคดิ เชิงนามธรรม ค. เปน็ ทกั ษะทีใ่ ชใ้ นการประดิษฐ์หุน่ ยนต์
ง. แนวคิดเชิงรูปธรรม ง. เป็นทกั ษะสำคัญทน่ี กั พัฒนาซอฟตแ์ วร์ควรมี
2. ขอ้ ใดหมายถึงแนวคดิ เชิงคำนวณ 7. แนวคิดการแยกย่อยเป็นองค์ประกอบของแนวคิดใด
ก. Computer Thinking ก. แนวคิดเชงิ คำนวณ
ข. Calculator Thinking ข. แนวคิดเชิงตรรกะ
ค. Complete Thinking ค. แนวคดิ เชงิ รวบยอด
ง. Computational Thinking ง. แนวคิดเชิงนามธรรม
3. เมอ่ื ครสู ่ังให้เข้าแถวตามลำดบั ความสงู ของนกั เรยี น 8. เมือ่ พบกองเสื้อผา้ ทีป่ ะปนกันอยเู่ ปน็ จำนวนมาก
ใหเ้ รว็ ท่ีสดุ สิ่งแรกท่คี วรทำคอื ข้อใด จะเลอื กแนวทางในการแก้ปญั หาอยา่ งไรจึงจะถูกตอ้ ง
ก. เรยี งลำดบั ตามความสงู จากน้อยไปหามาก ก. จัดเรยี งเส้ือผา้ ตามกล่มุ / แบง่ กลมุ่ เสอื้ ผ่า / จดั เข้าตู้
ข. เรียงลำดับตามความสูงจากมากไปหานอ้ ย เสอ้ื ผา้
ค. กำหนดนกั เรยี นคนแรกให้เปน็ นักเรยี นตำแหนง่ ข. แบง่ กลุ่มเสอ้ื ผ้า / จดั เรยี งเสอ้ื ผา้ ตามกลุ่ม / จัดเขา้ ตู้
หลัก เสอ้ื ผา้
ง. แบ่งกลมุ่ ออกเป็น 2 กลุ่มโดยกำหนดเงื่อนไข ค. แบง่ กลุ่มเส้อื ผา้ / แยกสเี สอ้ื ผ้า / แยกประเภทเส้อื ผา้
ใหล้ ะเอยี ด /จัดเขา้ ตเู้ สือ้ ผ้า
4. แนวคดิ เชงิ คำนวณทแ่ี ตกปญั หาใหญอ่ อกเปน็ ง. หาวตั ถุประสงคห์ ลกั ในการคน้ หาเสอ้ื ผ้า / แบ่งกลุม่
ปัญหาย่อยหมายถึงคอื ข้อใด เส้อื ผา้ ตามวัตถปุ ระสงคห์ ลกั / จัดเรยี งเสื้อผา้ ตามกลุ่ม
ก. แนวคิดการแยกยอ่ ย 9. เมอ่ื ต้องการแกป้ ญั หาตามแนวคิดเชงิ คำนวณควรทำ
ข. แนวคดิ การหารูปแบบ องคป์ ระกอบใดเปน็ ขั้นตอนแรก
ค. แนวคิดเชิงนามธรรม ก.ทำปัญหานน้ั ใหม้ ขี นาดเล็กลง เพื่อให้สามารถจัดการ
ง. แนวคดิ เชงิ รปู ธรรม ปัญหาแตล่ ะส่วนไดง้ า่ ยขน้ึ
5. ข้อใดคือประโยชนข์ องการแก้ปญั หาโดยใชแ้ นวคิด ข. เปลยี่ นรปู แบบปญั หาใหแ้ กไ้ ขปัญหาได้งา่ ยขน้ึ
เชงิ คำนวณ ค. ออกแบบขนั้ ตอนวธิ ีในการแกป้ ญั หา
ก. สามารถแกป้ ญั หาได้อยา่ งรวดเร็ว ง. กำหนดหลกั การในการแกป้ ญั หา
ข. สามารถแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ 10. แนวคดิ ในข้อใดใชส้ ญั ลกั ษณ์ Flowchart แสดงลำดบั
ค. สามารถบนั ทกึ แนวทางการแก้ปัญหาได้ ข้ันตอนในการแก้ปญั หา
ง. สามารถแกป้ ญั หาโดยใช้การคำนวณจาก ก. แนวคิดเชงิ นามธรรม
คอมพิวเตอร์ ข. แนวคิดการแยกยอ่ ย
ค. แนวคิดการหารูปแบบ
ง. แนวคิดการออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี
เฉล
1. ง 2. ข 3. ค 4. ก 5. ค 6. ง 7. ก 8. ง 9. ก 10. ค
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 4
รายวิชาวิทยาการคำนวณ 2 รหัสวิชา ว22104 สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรือ่ ง แนวคิดเชิงคำนวณ เวลา ๔ ช่ัวโมง
เรอ่ื ง การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี เวลา ๑ ช่ัวโมง
ผูส้ อนนายกฤษณะ จนั ทรร์ อด
๑. มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน
และเป็นระบบใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่าง
มีประสทิ ธภิ าพ รูเ้ ท่าทนั และมีจรยิ ธรรม
ว 4.2 ม.2/1 ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา หรือการทำงานที่พบใน
ชีวติ จรงิ
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
- อธบิ ายความสำคญั ของแนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวิธีได้ (K)
- วิเคราะห์ขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาของสถานการณ์ในชีวิตประจำวันได้ (K)
- สามารถออกแบบอัลกอริทึมโดยการเขียนผงั งานได้ (P)
- เขา้ เรยี นตรงเวลาและทำงานส่งในเวลาท่กี ำหนด (A)
๓. สาระสำคัญ
การออกแบบชั้นตอนวิธี ( Algorlthm Design) เป็นการถ่ายทอดความคิดที่ใช้ในการแก้ปัญหาหรือ
การทำงานเพื่อทำให้สามารถนำแนวคิดที่ออกแบบไปปฏิบัติตามและสามารถศึกษาในภายหลังได้เครื่องมือ
ทนี่ ิยมใช้ในการออกแบบขั้นตอนวธิ ี ได้แก่
1. การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ีแบบบรรยาย (Narrative Description)
2. การออกแบบขั้นตอนวธิ ดี ้วยรหัสลำลอง (Pseudo Code)
3. การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ดี ้วยผังงาน (Flowchart)
3. สาระการเรียนรู้
๓.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
๑. การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี
๒. รูปแบบของการออกแบบขน้ั ตอนวิธี
๓.๒ สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ
(พจิ ารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา)
4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
๑) ความสามารถในการส่ือสาร
- ทักษะการแลกเปลย่ี นขอ้ มูล
๒) ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคดิ วิเคราะห์
๓) ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
- ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน
๕. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
๑) ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
๒) มวี นิ ัย
๓) ใฝเ่ รยี นรู้
6. จดุ เน้นสกู่ ารพฒั นาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21
R1 - (R)eading (อา่ นออก) R2 –W(R)iting (เขียนได้) R3 - A(R)ithmetics (คดิ เลขเป็น)
C1 - Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะ
ในการ แก้ปญั หา)
C2 - Creativity and Innovation (ทกั ษะด้านการสรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม)
C3 - Cross-cultural Understanding (ทกั ษะด้านความเข้าใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน)์
C4 - Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม
และภาวะผ้นู ้า)
C5 - Communications, Information and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ
และการรเู้ ท่าทันสอ่ื )
C6 - Computering and ICT (ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
C7 - Career and Learning Skills (ทกั ษะอาชพี และทกั ษะการเรยี นร)ู้
C8 - Compassion (ความเมตตากรุณา มีวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม)
๗. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน
- ใบงานท่ี 1.4 การออกแบบขน้ั ตอนวธิ ี
๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
รายการประเมนิ วิธีวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์การประเมิน
๑. ด้านความรู้ (K) - การตอบคำถามในขณะ - คำถาม - ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
- รอ้ ยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
- อธิบายความสำคัญของการออกแบบ ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ - เกมสบ์ อร์ดจ๊กิ ซอว์
ร้อยละ 70 ผา่ นเกณฑ์
ขัน้ ตอนวธิ ไี ด้
ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์
- วิเคราะห์ขั้นตอนการแก้ปัญหาของ
สถานการณ์ในชวี ิตประจำวันได้
2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (P) - ตรวจใบงานท่ี 1.4 ใบงานท่ี 1.4 การออกแบบ
- สามารถออกแบบอัลกอริทมึ โดยการ การออกแบบขั้นตอนวิธี ขน้ั ตอนวธิ ี
เขยี นผงั งานได้ (P)
3. ด้านเจตคติ/คณุ ลกั ษณะ(A) - สังเกต การเข้าเรียนของ - แบบสังเกตพฤตกิ รรมการ
สมรรถนะ (C) นักเรียน การทำงานเสร็จ ทำงานรายบุคคล
- เข้าเรียนตรงเวลาและทำงานสง่ ใน และสง่ ทันเวลา - แบบประเมินคณุ ลักษณะ
เวลาที่กำหนด - ความมุ่งมั่นตั้งใจ และ อนั พงึ ประสงค์
- มคี วามต้งั ใจ ม่งุ มน่ั ในการเรยี นและ การใช้เทคโนโลยี เพื่อ - แบบประเมินสมรรถนะ
สบื ค้นข้อมลู
ทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ
- มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
เพือ่ สืบคน้ ข้อมูล
๘. กจิ กรรมการเรียนรู้
แผนที่ 4 : การออกแบบขัน้ ตอนวธิ ี เวลา ๑ ชัว่ โมง
วิธีการสอนโดยเนน้ การจดั การเรยี นรูแ้ บบใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (problem- based learning)
ขนั้ นำ
นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนความรู้เดิมที่ได้เรียนในชั่วโมงที่แล้วเกี่ยวกับองค์ประกอบของ
แนวคิดเชิงคำนวณจากสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 แนวคิดเชิง
คำนวณ
ขนั้ สอน
ขนั้ ที่ 1 กำหนดปญั หา
๑. ครูถามคำถามประจำหัวข้อเพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียนว่า การออกแบบขั้นตอน
วิธีมีความหมายและความสำคัญอย่างไร (แนวคำตอบ การออกแบบขั้นตอนวิธี เป็นการ
ถ่ายถอดความคิดที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อทำให้เราสามารถนำแนวคิดที่ออกแบบไว้ไป
ปฏบิ ตั ิตามขนั้ ตอนไดอ้ ย่างถูกต้องและรวดเรว็ )
๒. ครตู ง้ั ประเด็นคำถามกับนักเรียนว่า“นักเรียนทราบหรือไม่ ว่าการออกแบบข้ันตอนวิธีมีก่ี
รูปแบบและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ มี 3
รูปแบบ 1.แบบบรรยาย เป็นการอธิบายขั้นตอนการทำกิจกรรมต่างๆ
ในชีวิตประจำวันด้วยคำพูดที่เข้าใจง่าย 2.แบบรหัสลำลอง เป็นการอธิบายขั้นตอนการ
ทำงานของโปรแกรม 3. แบบผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีโดยการใช้สัญลักษณ์ที่มี
ความหมายแตกตา่ งกนั เพอ่ื ใช้แกป้ ัญหาในชีวิตประจำวนั ใหถ้ กู ต้องและรวดเร็ว
ขนั้ ท่ี 2 ทำความเขา้ ใจปญั หา
3. ครูอธบิ ายรปู แบบของแนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวิธี และใหน้ กั เรียนศึกษาประกอบกับ
บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน CAI หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ
4. ครูถามคำถามเพื่อทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนว่า นักเรียนทราบหรือไม่ ปัจจุบัน
นิยมใช้รูปแบบของแนวคิดการออกแบบขั้นตอนวิธีในการออกแบบการเขียนโปรแกรม
แบบใดมากท่สี ุด (แนวคำตอบ รปู แบบผงั งาน)
5. ครใู ห้อาสาสมัครนกั เรยี น 3 คน มาเล่นเกมส์ลกู เต๋าผังงาน(เป็นเกมส์ท่ีใช้ทบทวนความรู้
ของนักเรียนเกี่ยวกับความหมายและการทำงานของสัญลักษณ์ต่าง ๆ) จากนั้นให้
นักเรียนอธิบายความหมายและการทำงานของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ท่ีทอยได้ โดยครู
จะคอยเสรมิ สงิ่ ทนี่ กั เรียนอธบิ ายไม่สมบรู ณ์ใหส้ มบรู ณย์ งิ่ ข้ึน
6. ครอู ธิบายถึงโครงสร้างการออกแบบขัน้ ตอนดว้ ยผงั งาน (โครงสร้างการออกแบบข้นั ตอน
ดว้ ยผงั งานมี 3 วิธี 1. โครงสรา้ งแบบลำดบั 2. โครงสรา้ งแบบทางเลือก 3. โครงสร้าง
แบบวนซำ้ )
ขนั้ ที่ 3 ดำเนินการศกึ ษาค้นคว้า
7. ครูแบง่ กลมุ่ นกั เรียนออกเป็น 3 กลมุ่ แล้วให้นักเรยี นศกึ ษาเรื่อง โครงสร้างการออกแบบ
ขัน้ ตอนดว้ ยผังงานจากสอ่ื บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1
8. ครูแจกบอร์ดจิ๊กซอว์ให้นักเรยี น 1 ชุด แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิด
ต่อจก๊ิ ซอว์ใหเ้ ปน็ ขนั้ ตอนผังงานทสี่ มบูรณ์
ข้นั ที่ 4 สังเคราะหค์ วามรู้
10. นักเรียนแต่ละคนแลกเปลี่ยนความรู้กันภายในกลุ่ม เพื่อสรุปเกี่ยวกับโครงสร้างการออก
แบบขั้นตอนด้วยผงั งาน แต่ละรูปแบบมีการทำงานอย่างไร และสามารถนำไปประยุกต์ใช้
ในการออกแบบข้ันตอนการเขียนโปรแกรมได้อย่างไร
ขั้นที่ 5 สรุปและประเมนิ ค่าของคำตอบ
11. นกั เรยี นทำใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง การออกแบบข้นั ตอนดว้ ยผังงาน
12. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาเพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนสาระสำคัญประจำหน่วย
การเรยี นรทู้ ่ี 1 เรือ่ ง แนวคิดเชงิ คำนวณ
ขน้ั สรุป
ขนั้ ที่ 6 นำเสนอและประเมินผลงาน
13. ครูประเมินผลนักเรียนจากการสังเกตการตอบคำถาม สำรวจพฤติกรรมการทำงานและ
สมดุ ประจำตัวของนกั เรยี น
14. นกั เรียนทำแบบฝึกหัดประจำหน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 โดยให้นกั เรยี นตอบคำถามให้ถูกต้อง
และบันทึกลงในสมุดประจำตัว พร้อมทำชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรื่อง
การแก้ปญั หาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณเพื่อตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นและนำมา
สง่ ในช่ัวโมงถัดไป
15. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เร่ือง แนวคดิ เชิงคำนวณ
๙. ส่อื /แหล่งการเรียนรู้
- หอ้ งปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์
- บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนวคิดเชงิ คำนวณ
- เกมสล์ ูกเต๋าผังงาน
- บอรด์ จ๊ิกซอว์
- หนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
10.บันทกึ ผลหลังแผนการจดั การเรยี นรู้
- ผลการจัดการเรยี นรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผา่ นจดุ ประสงค์การเรยี นรู้โดยรวม......................คน คิดเป็นร้อยละ..............................
- ไมผ่ า่ นจุดประสงคก์ ารเรยี นร้โู ดยรวม..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ..............................
ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............
- นกั เรยี นท่มี คี วามสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............
- นกั เรยี นทไ่ี มผ่ า่ นการประเมินจดุ ประสงค์ดา้ นความรู้ (K) จำนวน............................คน
ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............
- นักเรียนทไี่ มผ่ า่ นการประเมินจดุ ประสงค์ด้านทกั ษะ (P) จำนวน.............................คน
ได้แก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............
- นกั เรยี นท่ไี มผ่ ่านการประเมินจุดประสงคด์ า้ นคณุ ลักษณะ (A) จำนวน............................คน
ไดแ้ ก่ ……………………………………………………………………………..…………………………………….………............
- ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ด้านคุณลกั ษณะ (A)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
- ปญั หาและอปุ สรรค / แนวทางการแกไ้ ข / ข้อเสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชอื่ ............................................................. ผู้สอน
(นายกฤษณะ จันทรร์ อด)
.................../................/....................
ความคดิ เห็นของผูบ้ ริหาร / ผ้ทู ี่ไดร้ บั ผิดชอบ
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
.................................................................................................................. ............................................................
............................................................................................................................. .................................................
ลงชื่อ…………………………………………………….
(………..………………………………………….)
................/................/....................
ใบความร้ทู ี่ 1.4
เร่อื ง การออกแบบขัน้ ตอนวิธี
๑. ความสำคญั ของแนวคิดการออกแบบข้นั ตอนวธิ ี
ขั้นตอนวิธี (algorithm) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาอย่างเป็นลำดบั โดยประกอบด้วยชดุ คำสั่ง
การทำงานอยา่ งเปน็ ลำดับและชดั เจน
การออกแบบขั้นตอนวิธี (algorithm development) เป็นการออกแบบขั้นตอนในการ
แก้ปัญหา ซึ่งในปัญหาเดียวกันอาจมีการออกแบบคำสั่งที่ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับประสบการณ์ข องผู้
แก้ไข แต่หากได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องแล้ว ก็ถือว่าขั้นตอนวิธีสามารถแก้ไขปัญหาได้ การออกแบบขั้นตอน
วิธีมเี คร่อื งมือในการนำเสนอขั้นตอนวิธี ดงั น้ี
๑.1 รปู แบบการบรรยาย เป็นการเขียนบรรยายวิธกี ารแก้ปัญหาอย่างเปน็ ลำดับ แตอ่ าจยากต่อ
การนำไปใช้ เช่น วธิ ีการทอดไขเ่ จียว
1. เริม่ ตน้
2. เตรียมอุปกรท์ ต่ี ้องใช้
3. ติดเตาแกส๊ ต้ังกระทะ เทนำ้ มัน รอน้ำมนั ร้อน
4. พลกิ ไขไ่ ปมา
5. คอยสังเกต ว่าไขส่ ุกหรอื ไม่ ถา้ ไมใ่ หก้ ลับไปพลิกใหม่
6. เมื่อสกุ แลว้ ใหต้ ักใส่จาน
7. จบการทำงาน
๑.๒ รูปแบบรหัสลำลอง/รหัสเทียม เป็นการอธิบายขั้นตอนการทำงานของโปรแกรมโดยใช้
ถ้อยคำผสมระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาเขียนโปรแกรม
๑.๓ รูปแบบผงั งาน เปน็ การอธิบายขนั้ ตอนวิธีการโดยการใช้สัญลักษณ์ท่ีมีความหมาย
แตกต่างกนั เป็นลำดับข้นั เพ่ือใช้ในการแกป้ ัญหาซึ่งสญั ลักษณจ์ ะถูกเชอื่ มโยงดว้ ยลูกศรเพื่อแสดง
ลำดบั การทำงาน
ตารางแสดงสัญลักษณท์ ีใ่ ชใ้ นการเขียนผังงาน
สัญลักษณ์ ชอื่ ตวั อยา่ งการใช้
จุดเร่มิ ตน้ และจดุ สิ้นสดุ ของผงั งาน
เรม่ิ ต้นและจบ
(terminal)
การนำข้อมลู เข้า-ออก จดุ ทจ่ี ะนำข้อมลู เข้าจากภายนอก
(input/output) หรือออกส่ภู ายนอกโดยไม่ระบชุ นิด
ของอุปกรณ์
การปฏบิ ตั ิงาน จดุ ทีม่ กี ารปฏิบัตงิ าน
(Process) อยา่ งใดอย่างหนง่ึ
การตัดสินใจ จดุ ท่ตี อ้ งเลือกปฏิบัติงาน
(decision) อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง
ทิศทาง ทศิ ทางขั้นตอน
(Flow line) การดำเนนิ งานซึ่งจะปฏบิ ตั ิ
ตอ่ เน่อื งกันตาม
หัวลกู ศรช้ี
2. โครงสรา้ งการออกแบบข้ันตอนวธิ ีด้วยผงั งาน
การเขียนผังงานโดยพื้นฐานมี 3 รูปแบบตามการเขยี นโปรแกรมเชงิ โครงสรา้ ง ได้แก่
โครงสร้างแบบลำดับ โครงสร้างแบบมที างเลอื ก และโครงสรา้ งแบบวนซ้ำ
2.1 โครงสรา้ งแบบลำดบั
เป็นโครงสรา้ งโปรแกรมที่มลี กั ษณะการทำงานแบบเรียงตามลำดับตอ่ เนื่อง โดยแต่ละ
ขัน้ ตอนมีการดำเนินงานเพยี งครั้งเดยี วไม่มกี ารทำซำ้ ไม่มเี ง่ือนไข ไม่มกี ารตดั สินใจในการทำงาน
ลักษณะของผงั งานโครงสร้างแบบลาดบั
ตัวอย่างผงั งานทีม่ โี ครงสร้างแบบลาดับ
๒.๒ โครงสรา้ งแบบมที างเลือก
เป็นโครงสร้างทใ่ี ชส้ ำหรับการเลอื กคำส่ังใดคำสัง่ หน่ึงโดยในการเลอื กทำคำส่ังใด ๆ จะต้อง
เปน็ ไปตามเงือ่ นไขทว่ี างไว้ เม่ือตรวจสอบเง่ือนไขจะได้ค่าจาก การตรวจสอบสองคา่ คือ ค่าทีเ่ ป็น
จริง กับคา่ ท่เี ปน็ เท็จ
ลกั ษณะของผังงานโครงสรา้ งแบบมีทางเลอื ก
ตัวอย่างผังงานทมี่ ีโครงสร้างแบบมีการเลือก
๒.๓ โครงสรา้ งแบบวนซำ้
เปน็ โครงสร้างท่ีข้นั ตอนการทำงานบางขนั้ ตอนไดร้ บั การประมวลผลมากกว่า 1 คร้ังท้งั น้ี
ขน้ึ อยู่กับเง่ือนไขบางประการ โครงสรา้ งแบบวนซำ้ นีต้ อ้ งมีการตัดสินใจในการทำงาน
ลกั ษณะของผังงานโครงสร้างแบบวนซำ้
ตัวอย่างผงั งานทม่ี ีโครงสรา้ งแบบวนซำ้
อา้ งอิง
ลัทธพล ดา่ นสกุล, หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 แนวคดิ เชิงคำนวณ, พิมพ์คร้งั ที่ 1, สำนักพิมพ์ บริษัท
พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.)จำกดั , 2562,หนา้ ๔๑-๔๕
ใบงานท่ี ๑.๔
เร่อื ง การออกแบบขนั้ ตอนวธิ ี
จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถออกแบบอลั กอรทิ ึมโดยการเขยี นผังงานได้ (P)
คำชแี้ จง ให้นักเรยี นออกแบบอัลกอรทิ มึ โดยการเขียนผงั งาน (flowchart) ดงั ตอ่ ไปน้ี
1. โปรแกรมตดั เกรด โดยใหผ้ ใู้ ช้กรอกขอ้ มูลคะแนนรวมท่ีได้ แลว้ ให้ระบบตรวจสอบว่า ถา้ คะแนน
มากกวา่ 80 ได้เกรด 4 เป็นต้น
เฉลยใบงานที่ ๑.๔
เรื่อง การออกแบบขน้ั ตอนวิธี
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สามารถออกแบบอัลกอริทึมโดยการเขยี นผงั งานได้ (P)
คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนออกแบบอัลกอรทิ มึ โดยการเขยี นผังงาน (flowchart) ดังต่อไปน้ี
1. โปรแกรมตัดเกรด โดยให้ผูใ้ ช้กรอกข้อมลู คะแนนรวมที่ได้ แลว้ ให้ระบบตรวจสอบว่า ถ้าคะแนน
มากกว่า 80 ได้เกรด 4 เปน็ ต้น
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
คำชแี้ จง : ใหผ้ ้สู อนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วกรอกคะแนนลงใน
ช่องวา่ ง
ลำดบั ชื่อ-สกลุ ความ ตรงตอ่ เวลา ความ การยอมรับ การแสดง รวม
ท่ี รับผิดชอบ สามารถใน ฟังความ ความคิดเหน็
และเพยี ร การทำงานรว่ ม คิดเหน็ ของ
พยายาม กับผู้อ่ืน
ผู้อืน่
ลงชื่อ.....................................................ผูป้ ระเมิน
………/………./………
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
พฤตกิ รรมทป่ี ฏบิ ตั ชิ ัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
๕๑-๖๐ ดีมาก
พฤติกรรมที่ปฏบิ ตั ิชดั เจนและบ่อยครงั้ ให้ ๒ คะแนน ๔๑-๕๐ ดี
๓๐-๔๐ พอใช้
พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบัติบางครัง้ ให้ ๑ คะแนน ตำ่ กวา่ ๓๐ ปรบั ปรงุ
แบบประเมินใบงาน
ใบงานที่ ๑.๔ เรือ่ ง การออกแบบข้ันตอนวิธี
คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมินผลงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขดี ✓ลงในชอ่ งทต่ี รงกับระดับ
คะแนน
ลำดบั ชื่อ-สกุล ความถกู ตอ้ ง การลำดบั ความสะอาด / ความคิด ความเหมาะสม รวม
ท่ี เน้อื หา เรยี บร้อย/ วิเคราะห์ กบั เวลา ๒๐คะแนน
สวยงาม
๔๓๒๑๔๓ ๒ ๑๔๓๒ ๑ ๔๓๒ ๑ ๔๓๒ ๑
ลงชื่อ.....................................................ผู้ประเมนิ
………/………./………
เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ระดบั คณุ ภาพ
๔ คะแนน = ดมี าก
๓ คะแนน = ดี ต่ำกว่า 5 ควรปรับปรุง
๒ คะแนน = ปานกลาง พอใช้
๑ คะแนน = ปรบั ปรุง 5-10 ดี
1๑-15 ดมี าก
๑๖-๒๐
แบบบนั ทกึ ผลประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
คำชี้แจง ใหผ้ ปู้ ระเมินสังเกตพฤติกรรมของนักเรยี น แล้วเขยี นคะแนนลงในช่องระดบั คะแนนท่ีตรงกับความ
เปน็ จริง
เลขท่ี ชื่อ- สกุล ใ ่ฝรู้ใ ่ฝเรียน
ีม ิวนัย
ุ่มง ่ัมนในการ
ทำงาน
รวมคะแนน
24
ปฏิบตั ิ
ต้งั ใจเรยี น แสวงหา ตาม ตรงต่อ ต้งั ใจ เพยี ร
ความรู้ ข้อตกลง เวลา ทำงาน พยายาม
กฎเกณฑ์
432143214321432143214321
ลงชื่อ.....................................................ผปู้ ระเมิน
………/………./………
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนนการประเมิน
ตวั ชวี้ ัด 4 เกณฑ์การประเมนิ 1
ไม่ตั้งใจเรียน
1. ใฝ่เรียนรู้ เข้าเรียนตรงเวลา 32
1.1 ต้งั ใจ เพยี ร ต้ังใจเรยี น เอาใจใส่ ไม่ศกึ ษาค้นควา้ หา
พยายาม ในการ และมคี วามเพียร เข้าเรยี นตรงเวลา เข้าเรยี นตรงเวลา ความรู้
เรียนและเข้าร่วม พยายามในการ ต้ังใจเรยี น เอาใจใส่ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่
กิจกรรม เรยี นรู้ มสี ่วนร่วมใน และมีความเพียร ในการเรยี นรู้ และ
การเรยี นรแู้ ละเข้า พยายามในการ เข้ารว่ มกิจกรรมการ
1.2 แสวงหาความรู้ รว่ มกิจกรรมการ เรียนรู้ มีสว่ นรว่ มใน เรยี นรูบ้ างครัง้
จากแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง เรยี นรตู้ ่าง ๆ ทงั้ การเรยี นรูแ้ ละเข้า
ๆ ทง้ั ภายในและ ภายในและภายนอก ร่วมกจิ กรรมการ
ภายนอกโรงเรยี น โรงเรียนเปน็ ประจำ เรียนรตู้ า่ ง ๆ
ดว้ ยการเลือกใชส้ ือ่ บอ่ ยครัง้
อย่างเหมาะสม ศกึ ษาคน้ ควา้ หา
สรุปเปน็ องค์ความรู้ ความรจู้ ากหนังสือ ศึกษาคน้ ควา้ หา ศึกษาค้นควา้ หา
สามารถนำไปใช้ใน เอกสาร สิง่ พมิ พ์ สอ่ื ความรูจ้ ากหนงั สือ ความรู้จากหนังสือ
ชวี ิตประจำวันได้ เทคโนโลยีและ เอกสาร สงิ่ พมิ พ์ ส่ือ เอกสาร ส่งิ พมิ พ์ สอ่ื
สารสนเทศ แหลง่ เทคโนโลยีและ เทคโนโลยีและ
เรียนรู้ทง้ั ภายในและ สารสนเทศ แหล่ง สารสนเทศ แหลง่
ภายนอกโรงเรียน เรยี นรูท้ ง้ั ภายในและ เรียนร้ทู ั้งภายในและ
เลือกใชส้ อื่ ไดอ้ ยา่ ง ภายนอกโรงเรยี น ภายนอกโรงเรียน
เหมาะสมมีการ เลือกใชส้ ่อื ไดอ้ ยา่ ง เลือกใชส้ ่ือได้อยา่ ง
บันทึกความรู้ เหมาะสมมีการ เหมาะสมมีการ
วิเคราะห์ขอ้ มลู บนั ทึกความรู้ บันทึกความรู้
สรุปเป็นองค์ความรู้ วิเคราะหข์ อ้ มลู
และแลกเปลย่ี น สรปุ เป็นองคค์ วามรู้
เรยี นรดู้ ว้ ยวิธกี ารที่ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้
หลากหลายและ กบั ผอู้ นื่
นำไปใชใ้ น
ชีวิตประจำวันได้
ตวั ชี้วดั เกณฑ์การประเมนิ
๒ มีวินัย 4321
ปฏบิ ัตติ ามข้อตกลง
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ เข้าเรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา เขา้ เรยี นตรงเวลา ไมต่ ้งั ใจเรียน
ข้อบังคับของ
ครอบครวั โรงเรียน ตั้งใจเรยี น เอาใจใส่ ตงั้ ใจเรยี น เอาใจใส่ ต้งั ใจเรยี น เอาใจใส่
และสังคม
และมีความเพยี ร และมีความเพยี ร ในการเรียนรู้ และ
3.มงุ่ ม่นั ในการ
ทำงาน พยายามในการ พยายามในการ เข้ารว่ มกิจกรรมการ
3.1 ต้งั ใจและ
รบั ผิดชอบในการ เรียนรู้ มีสว่ นรว่ มใน เรยี นรู้ มสี ่วนร่วมใน เรียนรบู้ างคร้ัง
ปฏิบัตหิ นา้ ท่กี าร
งาน การเรยี นร้แู ละเข้า การเรยี นรู้และเขา้
3.2 ทำงานด้วย รว่ มกจิ กรรมการ รว่ มกิจกรรมการ
ความเพยี รพยายาม
และอดทนเพื่อให้ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทั้ง เรียนรตู้ า่ ง ๆ
งานสำเร็จตาม
เป้าหมาย ภายในและภายนอก บ่อยครั้ง
โรงเรยี นเป็นประจำ
ตั้งใจและรบั ผิดชอบ ต้ังใจและรบั ผดิ ชอบ ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบ ไม่ตั้งใจการปฏิบัติ
ในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ ในการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี หน้าท่ีการงาน
ท่ีไดร้ ับมอบหมายให้ ที่ได้รบั มอบหมายให้ ทไ่ี ด้รบั มอบหมายให้
สำเรจ็ มีการ สำเรจ็ มกี าร สำเรจ็ มกี าร
ปรบั ปรุงและ ปรับปรุงและ ปรับปรงุ การทำงาน
พัฒนาการทำงานให้ พฒั นาการทำงานให้ ให้ดีข้นึ
ดขี น้ึ ด้วยตนเอง ดีข้ึน
ทำงานดว้ ยความ ทำงานด้วยความ ทำงานด้วยความ ไมข่ ยัน อดทนใน
ขยันอดทน และ ขยันอดทน และ ขยนั อดทน และ การทำงาน
พยายามให้งาน พยายามใหง้ าน พยายามใหง้ าน
สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย สำเรจ็ ตามเปา้ หมาย สำเรจ็ ตามเป้าหมาย
ภายในเวลาที่ ไมย่ อ่ ทอ้ ต่อปัญหา และช่นื ชมผลงาน
กำหนดไมย่ ่อท้อตอ่ ในการทำงานและ ดว้ ยความภาคภมู ิใจ
ปัญหา แกป้ ญั หา ชื่นชมผลงานดว้ ย
อุปสรรคในการ ความภาคภูมใิ จ
ทำงานและชื่นชม
ผลงานด้วยความ
ภาคภูมใิ จ
เกณฑ์การตดั สนิ ระดบั คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ 4 หมายถึง ดมี าก
17 – 20 คะแนน ระดับคณุ ภาพ 3 หมายถึง ดี
14 – 16 คะแนน ระดับคณุ ภาพ 2 หมายถึง พอใช้
11 – 13 คะแนน ระดบั คุณภาพ 1 หมายถึง ปรบั ปรุง
0 – 10 คะแนน
แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ดา้ น
ชือ่ ..............................................................นามสกุล.....................................................ช้นั ........ เลขท่.ี ....
คำช้แี จง : ใหส้ งั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขดี ✓ ลงในช่องทต่ี รง
กบั ระดบั คะแนน
สมรรถนะท่ีประเมนิ ระดับคะแนน สรปุ
1. ความสามารถในการสื่อสาร 3 2 1 0 ผล
1.1 มคี วามสามารถในการรบั – สง่ สาร
1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคดิ
ความเขา้ ใจของตนเอง โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใชว้ ธิ กี ารสอ่ื สารทีเ่ หมาะสม
1.4 วเิ คราะห์แสดงความคดิ เห็นอย่างมีเหตผุ ล
1.5 เขยี นบันทกึ เหตุการณ์ประจำวันแลว้ เลา่ ให้เพอ่ื นฟงั ได้
สรปุ ผลการประเมิน
2. ความสามารถในการคิด
2.1 มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอยา่ งสรา้ งสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการคดิ อยา่ งมรี ะบบ
2.5 ตดั สนิ ใจแก้ปญั หาเกย่ี วกับตนเองได้
สรปุ ผลการประเมนิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.1 สามารถแกป้ ญั หาและอุปสรรคต่าง ๆ ท่เี ผชิญได้
3.2 ใชเ้ หตผุ ลในการแก้ปญั หา
3.3 เขา้ ใจความสมั พันธ์และการเปล่ยี นแปลงในสังคม
3.4 แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความรู้มาใชใ้ น
การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หา
3.5 สามารถตัดสินใจไดเ้ หมาะสมตามวัย
สรุปผลการประเมนิ
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
4.1 เรยี นรดู้ ว้ ยตนเองไดเ้ หมาะสมตามวยั
4.2 สามารถทำงานกลมุ่ ร่วมกับผอู้ ื่นได้
4.3 นำความรู้ทีไ่ ด้ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวัน
4.4 จดั การปญั หาและความขดั แย้งได้เหมาะสม
4.5 หลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมไม่พึงประสงคท์ ีส่ ่งผลกระทบ
ต่อตนเอง
สรปุ ผลการประเมิน
สมรรถนะทป่ี ระเมนิ ระดับคะแนน สรุป
3210 ผล
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีไดเ้ หมาะสมตามวยั ไมผ่ า่ น
5.2 มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
5.3 สามารถนำเทคโนโลยไี ปใช้พฒั นาตนเอง
5.4 ใช้เทคโนโลยีในการแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์
5.5 มีคณุ ธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
สรุปผลการประเมิน
สรุปผลการประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์รายบคุ คล
ดีเยยี่ ม ดี ผา่ น
ลงชอื่ .....................................................ผปู้ ระเมนิ
………/………./………
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคณุ ภาพ
ดเี ย่ยี ม - พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ตั ิชดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี - พฤตกิ รรมที่ปฏิบัตชิ ัดเจนและบอ่ ยครงั้ ให้ 2 คะแนน
ผ่าน - พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ัติบางครง้ั ให้ 1 คะแนน
ไมผ่ ่าน - ไม่เคยปฏบิ ตั พิ ฤตกิ รรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑก์ ารสรุปผล
ดีเย่ยี ม - 13-15 คะแนน
ดี - 9-12 คะแนน
ผ่าน - 1-8 คะแนน
ไมผ่ า่ น - 0 คะแนน