ประวัตวิ ันสงกรานต์ วนั มหาสงกรานต์
สงกรานต์ คอื ประเพณขี องประเทศไทย ลาว กมั พูชา พมา่ ชนกลุ่มนอ้ ยชาวไตแถบเวยี ดนาม และ
มนฑลยูนานของจีน รวมถงึ ศรีลังกา และประเทศทางตะวันออกของประเทศอนิ เดีย สนั นิษฐานกนั วา่ ประเพณี
สงกรานตน์ ้นั ได้รับวฒั นธรรมมาจากเทศกาลโฮลีในอินเดยี แต่เทศกาลโฮลีจะใช้การสาดสีแทน โดยจะจดั ให้มี
ขึน้ ในทุกวนั แรม 1 คา่ เดือน 4 ซึงก็คือเดือนมีนาคม
สงกรานต์ เป็นคา่ ในภาษา สันสกฤต ทีหมายถงึ การเคลือนยา้ ย โดยเปน็ การอปุ มาถงึ การเคลอื นย้ายการ
ประทับในจักรราศี หรอื การเคลอื นเขา้ สปู่ ีใหม่ตามความเชอื ของไทยและบางประเทศในแถบเอเชยี ตะวนั ออก
เฉยี งใต้ ประเพณีสงกรานตน์ ้นั มีสืบทอดกันมาตัง้ แต่โบราณค่กู ับตรษุ จึงมักเรยี กรวมกันวา่ ประเพณตี รุษ
สงกรานต์ หมายถึง การส่งทา้ ยปีเกา่ ตอ้ นรับปีใหม่ เดิมทีวนั ทจี ัดสงกรานต์นนี้ ้ันจะมกี ารค่านวณทางดารา
ศาสตร์ แตใ่ นปัจจุบันไดม้ ีการก่าหนดวนั ทีแน่นอน คอื ตงั้ แต่ 13 – 15 เมษายน แตเ่ ดมิ วนั ขึ้นปใี หม่ไทย คอื
วันเรมิ ปีปฏทิ นิ ของไทยจนถงึ พ.ศ. 2431 และได้มีการเปลียนแปลงมาเป็นวันที 1 เมษายน เปน็ วนั ขน้ึ ปใี หม่
จนถงึ พ.ศ. 2483
ประวตั วิ ันสงกรานต์
เมอื ครงั้ กอ่ น พธิ สี งกรานต์ เป็นพิธีกรรมทีเกิดข้ึนภายในครอบครวั หรือชมุ ชนบา้ นใกล้เรือนเคียง แตใ่ น
ปัจจบุ นั ไดม้ ีการเปลียนแปลงให้พิธสี งกรานตน์ ้ันเปน็ เทศกาลสงกรานต์ โดยได้ขยายออกไปสคู่ มเปน็ วงกวา้ ง
มากขนึ้ และมีแนวโนม้ ทจี ะเปลยี นทัศคติ ตลอดจนความเชือไป แต่เดิมในพธิ สี งกรานตจ์ ะใช้ นา่้ เป็นสัญลักษณ์
ทีเป็นองค์ประกอบหลกั ของพธิ ี แกก้ นั กับความหมายของฤดรู ้อน ช่วงเวลาทพี ระอาทิตยเ์ คลือนเข้าสู่ราศเี มษ
ในวนั น้จี ะใชน้ า่้ รดใหแ้ กก่ นั เพือความชุ่มชืน มีการขอพรจากผู้ใหญ่ มีการรา่ ลึกและกตัญญตู อ่ บรรพบุรุษที
ล่วงลับ ต่อมาในสงั คมไทยสมัยใหม่เกิดเปน็ ประเพณีกลบั บ้านในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ นับวา่ วนั สงกรานตเ์ ป็น
วันครอบครวั อีกทง้ั ยังมีประเพณที สี บื ทอดมาตงั้ แตด่ งั้ เดมิ อยา่ ง การสรงนา้่ พระทีนา่ มาซงึ ความเปน็ สิริมงคล
เพอื ให้เป็นการเริมตน้ ปใี หม่ทีมคี วามสขุ
ปัจจบุ นั ได้มีการประชาสัมพันธ์ในเชงิ ทอ่ งเทียวว่าเป็น Water Festival หรือ เทศกาลแห่งน้า โดยไดต้ ดั ข้อมูล
ในสว่ นทเี ป็นความเชอื ด้ังเดิมออกไป
ตา้ นานวันสงกรานต์
การก่าเนิดวนั สงกรานต์ มีเรืองเล่าสืบตอ่ กันมาโดยใจความจารึกทวี ัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามฯ ว่า …
เมอื ตน้ ภทั รกลั ป์ มเี ศรษฐคี นหนึง มังมีทรัพย์มาก แต่ไม่มบี ุตร บา้ นอยใู่ กลก้ ับนกั เลงสุรา ซึงนกั เลงสุรานนั้ มี
บตุ ร 2 คน ทีผิวเนือ้ ดุจดงั ทอง วันหนงึ นกั เลงสรุ าเขา้ ไปในบา้ นของเศรษฐีผู้นน้ั แลว้ ดา่ ด้วยถอ้ ยคา่ ทีหยาบคาย
ตา่ งๆ นานๆ เศรษฐเี มอื ไดฟ้ ังแล้วจึงถามวา่
พวกเจ้ามาพูดหยาบคายดูหมิ่นเราผ้เู ป็นเศรษฐเี พราะเหตุใด
พวกนักเลงสรุ าจงึ ตอบว่า
ท่านมสี มบัติมากมายแตห่ ามบี ตุ รไม่ เมื่อท่านตายไป สมบัติก็จะอันตรธานไปมหด หาประโยชน์อนั ใดมิได้
เพราะขาดทายาทผปู้ กครอง ข้าพเจา้ มีบตุ รถึง 2 คน อกี ท้งั รูปร่างงดงามเสียดว้ ย ขา้ พเจ้าจึงดีกว่าท่าน
เศรษฐีคร้นั ได้ฟงั กเ็ ห็นจรงิ ดว้ ย จึงเกิดความละอายตอ่ นักเลงสรุ ายิงนกั นกึ ใคร่อยากได้บตุ รบา้ ง จากนน้ั ได้ท่า
การบวงสรวงพระอาทิตยแ์ ละพระจนั ทร์ ต้ังจิตอธษิ ฐานเพอื ขอใหม้ ีบุตร เมืออยูถ่ ึง 3 ปี ก็มไิ ดม้ บี ุตรตามที
ปราถนา
เมือขอบุตรจากพระอาทติ ย์และพระจันทร์มิไดต้ ามดงั ทีปราถนา อยูม่ าวนั หนงึ เมอื ถงึ ฤดคู มิ หันต์ จิตรมาส
(เดอื น 5) โลกสมมตวิ า่ เป็นวนั มหาสงกรานต์ คอื พระอาทติ ย์ยกจากราศีมีนประเวสสู่ราศเี มษ ผู้คนทง้ั หลาย
ต่างพากันเลน่ นักขัตฤกษ์อันเปน็ การรืนเรงิ ขน้ึ ปีใหม่ไปทวั ทง้ั ชมพูทวีป ขณะน้ัน เศรษฐีจึงพาข้าทาสบรวิ ารไป
ยังต้นไทรรมิ ฝงั่ แม่นา่้ อนั เปน็ ทีอยแู่ ห่งปักษชี าตทิ ัง้ หลาย เอาขา้ วสารซาวนา่้ 7 ครั้งแล้วหงุ บูชา รกุ ขพระไทร
พรอ้ มดว้ ยสูปพยัญชนะอนั ประณตี และประโคมด้วยดุรยิ างค์ดนตรตี ่างๆ ต้ังจติ อธิษฐานขอบุตรจากรุกขพระ
ไทร รกุ ขพระไทรมีความกรุณา เหาะไปขอบุตรกบั พระอินทร์ให้กับเศรษฐี
ตอ่ มา พระอินทรจ์ ึงให้ธรรมบาลเทวบุตรลงไปปฏิสนธิในครรภ์ บดิ ามารดาจงึ ขนานนามว่า ธรรมบาล
กุมาร แล้วปลูกปราสาทขน้ึ ให้กมุ ารอยู่ใต้ต้นไทรรมิ สระฝัง่ แมน่ ่า้ นนั้ ครน้ั เมอื กุมารเจรญิ ขนึ้ ก็รู้ภาษานกและ
เรียนจบไตรเพทเมือมอี ายไุ ด้ 8 ขวบ อกี ท้ังยงั ได้เปน็ อาจารย์บอกมงคลการต่างๆ แก่มนษุ ย์ชาวชมพทู วปี ท้งั
ปวง ซงึ ขณะนัน้ โลกทงั้ หลายนบั ถอื ทา้ วมหาพรหม มกี บิลพรหมองค์หนึงได้แสดงมงคลการแกม่ นษุ ยท์ ัง้ ปวง
เมือกบลิ พรหมได้แจง้ เหตุทีธรรมกุมารเป็นผ้มู ีชือเสียง เป็นทีนับถือของมนุษย์ชาวโลกท้งั หลาย จงึ ไดล้ งมาถาม
ปญั หาแกธ่ รรมกุมาร 3 ขอ้ ดังความว่า
1. เวลาเช้า สิริ คือ ราศอี ยู่ทีไหน
2. เวลาเทยี ง สิริ คือ ราศีอยูท่ ไี หน
3. เวลาเยน็ สิริ คือ ราศอี ยทู่ ไี หน
และท้าวกบิลพรหมได้ให้สัญญาวา่ ถ้าท่านแก้ปญั หา 3 ขอ้ น้ไี ด้ เราจะตัดศรี ษะมาบูชาทา่ น ถ้าท่านแก้ไมไ่ ด้ เรา
จะตัดศีรษะของท่านเสยี ธรรมกมุ ารรบั สัญญา แต่ผลดั แก้ปัญญาไป 7 ท้าวกบิลพรหมกก็ ลบั ไปยังพรหมโลก
ฝ่ายธรรมบาลกุมารพจิ ารณาปัญหานัน้ ล่วงไปได้ 6 แล้ว แต่ก็ยงั ไม่เห็นอุบายทีจะตอบปัญหาได้ จงึ คิดวา่ พร่งุ นี้
แล้วหนอทเี ราจะต้องตายด้วยอาญาของท้าวกบิลพรหม เราหาต้องการไม่ จา่ จะหนีไปซุกซอ่ นตนเสยี ดกี ว่า เมือ
คดิ แลว้ ก็ลงจากปราสาท ออกเทียวนอนทตี น้ ตาล 2 ตน้ ซึงมนี กอนิ ทรี 2 ตวั ผวั เมียท่ารงั อยบู่ นตน้ ตาลน้นั
ขณะทธี รรมบาลกมุ ารนอนอยู่ใตต้ ้นตาลนั้นพลางไดย้ ินเสียงนางนกอินทรีถามผวั ว่า พรุง่ น้เี ราจะไปหาอาหารที่
ไหน นกอินทรตี วั ผู้จึงตอบวา่ พรุ่งนค้ี รบ 7 วันท่ที ้าวกบิลพรหมถามปญั หาแกธ่ รรมบางกมุ าร แต่หากธรรมบาล
กุมารแก้ไม่ได้ ทา้ วกบิลพรหมกจ็ ะตดั ศรี ษะเสยี ตามสัญญา เราท้งั 2 จะไดก้ นิ เน้อื มนุษย์ คือ ธรรมบาลกุมาร
เป็นอาหาร นางนกอนิ ทรีจึงถามวา่ ทา่ นรู้ปัญหาหรอื ผ้ผู วั ตอบว่ารู้ แล้วก็เล่าใหน้ างนกอนิ ทรฟี งั ตง้ั แต่ต้นจน
ปลายวา่
1. เวลาเช้า ราศอี ยู่ที หนา้ คนทง้ั หลายจึงเอานา้่ ล้างหน้า
2. เวลาเทียง ราศอี ยู่ที อก คนทัง้ หลายจึงเอาน้่าและแปง้ กระแจะจันทรล์ ูกไลท้ อี ก
3. เวลาเยน็ ราศอี ยู่ที เท้า คนท้งั หลายจึงเอาน้่าล้างเทา้
ธรรมบาลกมุ ารทีนอนอยู่ใต้ต้นไมไ้ ด้ยนิ การสนทนาของท้งั สองก็จ่าได้ จงึ มีความโสมนสั ปีติ ยนิ ดีเป็นอันมาก
จึงเดนิ ทางกลับมาทีปราสาทของตน ครัน้ ถงึ วาระเปน็ คา่ รบ 7 วนั ตามสัญญา ทา้ วกบลิ พรหมกล็ งมาถามปัญหา
ท้งั 3 ขอ้ ตามทนี ัดหมายกนั ไว้ ธรรมบาลกมุ ารกว็ สิ ัชนาแก้ปัญหาทงั้ 3 ข้อตามทีได้ฟงั มาจากนกอนิ ทรนี น้ั ท้าว
กบิลพรหมยอมรบั วา่ ถูกตอ้ ง และยอมแพ้แก่ธรรมบาล จ่าต้องตัดศรี ษะของตันบูชาตามทีสัญญาไว้ แตก่ ่อนที
จะตดั ศีรษะ ไดเ้ รยี กธดิ าทงั้ 7 อนั เป็นบาทบรจิ าริกาของพระอนิ ทร์ คือ
1. นางทงุ ษะเทวี
2. นางรากษเทวี
3. นางโคราคเทวี
4. นางกิรณิ เี ทวี
5. นางมณฑาเทวี
6. นางกิมทิ าเทวี
7. นางมโหธรเทวี
อนั โลกสมมตวิ า่ เปน็ องค์มหาสงกรานตก์ บั ทงั้ เทพบรรษัทมาพรอ้ มกนั จึงได้บอกเรืองราวให้ทราบและตรัสวา่
พระเศยี รของเรานี้ ถ้าตง้ั ไว้บนแผน่ ดินกจ็ ะเกดิ ไฟไหม้ไปทวั โลกธาตุ ถ้าจะโยนข้ึนไปบนอากาศฝนก็จะแลง้ เจ้า
ท้ัง 7 จงเอาพานมารองรับเศยี รของบิดาไวเ้ ถิด ครัน้ แลว้ ทา้ วกบิลพรหมกต็ ัดพระเศยี รแคพ่ ระศอส่งให้นาง
ทงุ ษะเทวีธิดาองคใ์ หญใ่ นขณะน้ัน โลกธาตกุ เ็ กดิ โกลาหลอลเวงยงิ นกั
เมอื นางทงุ ษะมหาสงกรานต์นา่ พานมารองรับพระเศยี รของท้าวกบลิ พรหม แล้วให้เทพบรรษทั แหป่ ระทักษิณ
เวยี นรอบเขาพระสเุ มรุ 60 นาที จากนัน้ จึงเชิญเขา้ ประดิษฐานไว้ในมณฑป ณ ถา้่ คันธุลี เขาไกรลาศ กระท่า
การบชู าด้วยเครืองทพิ ย์ตา่ งๆ ตอ่ มาพระวษิ ณกุ รรมเทพบุตรไดเ้ นรมิตโลงแกว้ อันประกอบไปดว้ ยแกว้ 7
ประการ แล้วใหเ้ ทพยดาท้ังหลายนา่ มาซึงเถาฉมนุ าตลงล้างนา้่ ในสระอโนดาต 7 ครง้ั แล้วแจกกันสงั เวยทวั
ทุกๆ พระองค์ คร้นั ไดว้ าระครบกา่ หนด 365 วัน โลกสมมตวิ ่าปีหนึงเป็นวนั สงกรานต์ เทพธิดาท้ัง 7 ก็ทรงเทพ
พาหนะตา่ งๆ ผลดั เปลียนเวยี นมาเชญิ พระเศียรทา้ วกบิลพรหมออกแห่ พรอ้ มด้วยเทพบรรษแสนโกฏิ
ประทักษิณเวยี บรอบเขาพระสุเมรุราชบรรษัทเป็นเวลา 60 นาที แล้วจึงนา่ กลับไปประดิษฐานไว้ตามเดมิ ซงึ ใน
แตล่ ะปกี จ็ ะมนี างสงกรานต์แตล่ ะนางมาท่าหนา้ ทีผลัดเปลียนกนั ตามวนั มหาสงกรานต์
กจิ กรรมวันสงกรานต์
การทา้ บุญตกั บาตร นบั วา่ เปน็ การสร้างบญุ สร้างกศุ ลใหก้ บั ตนเอง อีกทั้งยงั เปน็ การอุทศิ สว่ นกุศลนั้นใหแ้ กผ่ ู้ที
ล่วงลับไปแล้ว การท่าบุญในลักษณะนม้ี กั จะมีการเตรยี มไวล้ ่วงหน้า เมือถึงเวลาท่าบญุ กจ็ ะน่าอาหารไปตกั
บาตรถวายพระภกิ ษุทีศาลาวัดโดยจัดเป็นทีรวมส่าหรบั การท่าบุญ ในวันเดียวกนั นีห้ ลังจากทไี ด้ทา่ บุญเสรจ็
เรียบรอ้ ย ก็จะมีการกอ่ เจดียท์ รายอนั เป็นประเพณีทีส่าคัญในวันสงกรานต์อีกดว้ ย
การรดน้า นบั ได้วา่ เป็นการอวยพรปใี หม่ให้แก่กันและกนั น่า้ ทนี า่ มาใชร้ ดหัวในการนีม้ กั เป็นน่้าหอมเจือด้วยนา้่
ธรรมดา
การสรงนา้ พระ เปน็ การรดน่า้ พระพุทธรูปทีบ้านและทีวัด ซงึ ในบางทีก็จะมกี ารจดั ให้สรงน่้าพระสงฆเ์ พมิ เติม
ด้วย
การบงั สุกลุ อัฐิ ส่าหรับเถา้ กระดูกของญาติผ้ใู หญ่ทีได้ลว่ งลบั ไปแล้ว มักท่าทีเก็บเปน็ ลักษณะของเจดีย์ จากน้นั
จะนิมนต์พระไปบังสกุ ุล
การรดนา้ ผู้ใหญ่ คือการทีเราไปอวยพรผใู้ หญใ่ ทหี ้ความเคารพนับถอื อย่าง ครูบาอาจารย์ มกั จะนงั ลงกบั ที
จากนน้ั ผู้ทีรดกจ็ ะเอาน้่าหอมเจือกับนา่้ ธรรมดารดลงไปทีมอื ผ้หู ลกั ผู้ใหญ่กจ็ ะให้ศลี ให้พรผู้ทไี ปรด หากเป็น
พระก็อาจน่าเอาผา้ สบงไปถวายเพอื ให้ผลัดเปลียนด้วย แตห่ ากเปน็ ฆราวาสกจ็ ะหาผา้ ถุง หรอื ผา้ ขาวม้าไปให้
เปลยี น มคี วามหมายกบั การเริมตน้ สงิ ใหมๆ่ ในวันปีใหมไ่ ทย
การด้าหวั มจี ดุ ประสงคค์ ลา้ ยกับการรดน้า่ ของทางภาคกลาง ส่วนใหญจ่ ะพบเหน็ การดา่ หัวไดท้ างภาคเหนือ
การดา่ หวั ทา่ เพือแสดงความเคารพตอ่ ผู้ทอี าวโุ สว่า ไมว่ ่าเป็น พระ ผสู้ ูงอายุ ซงึ จะมกี ารขอขมาในสิงทไี ด้
ล่วงเกนิ หรอื เป็นการขอพรปีใหมจ่ ากผู้ใหญ่ ของทใี ช้ในการด่าหัวหลกั ๆ ประกอบดว้ ย อาภรณ์ มะพร้าว กลว้ ย
ส้มป่อย เทียน และดอกไม้
การปล่อยนกปลอ่ ยปลา ถือว่าการล้างบาปทเี ราไดท้ า่ ไว้ เป็นการสะเดาะเคราะห์รา้ ยให้กลายเป็นดี มแี ต่
ความสุข ความสบายในวันขึน้ ปใี หม่
การขนททรายเข้าวดั ในทางภาคเหนอื นยิ มขนทรายเขา้ วดั เพอื เปน็ นมิ ติ โชคลาคใหพ้ บแตค่ วามสขุ ความเจริญ
เงนิ ทองไหลมาเทมาดจุ ทรายทีขนเข้าวัด แต่กม็ ีบางพน้ื ทมี คี วามเชอื วา่ การนา่ ทรายทีตดิ เทา้ ออกจากวัดเป็น
บาป จงึ ตอ้ งขนทรายเข้าวดั เพือไม่ใหเ้ กดิ บาป