The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.62 - 31 มี.ค

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สมชาย นาโตนด, 2020-04-06 23:59:13

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.62 - 31 มี.ค

ประเมินตามตัวชี้วัด ประเมิน ครู กศน. ตำบล 1 ต.ค.62 - 31 มี.ค





คำนำ

ภายหลังการปรับเปลี่ยนโครงสรางสวนราชการ ตามการปฏิรูประบบราชการเมื่อป พ.ศ. 2545
ภารกิจที่เกี่ยวของกับการอนุมัติจำนวนลูกจางประจำของสวนราชการไดถูกถายโอนมาอยูในความรับผิดชอบ
ของสำนักงาน ก.พ. ซึ่งสำ นักงาน ก.พ. ก็ไดนำ เรื่องระบบลูกจางสัญญาจางมาดำ เนินการตอ โดยไดนำ
ผลงานวิจัยเร่ืองการจางงานระบบใหมในหนวยงานภาครัฐ ที่เนนใหมีรูปแบบการจางงานที่มีความหลากหลาย
และยืดหยุนซึ่งมีขอเสนอใหมี “ระบบสัญญาจาง” เปนกลไกรองรับมาประกอบการพิจารณาวางระบบรวมท้ัง
ขยายผลใหมีความหลากหลายของรูปแบบการจางงานในสวนของการจางผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญทั้งชาว
ไทยและตางประเทศ ทง้ั นี้ไดเ ปล่ยี นช่อื “ลูกจางสัญญาจา ง” เปน “พนักงานราชการ” เพอื่ ใหดงึ ดูดใจและแสดง
สถานะที่ชัดเจน ตลอดจนการวางระบบบริหารงานบุคคลที่เกี่ยวของตั้งแตเรื่องการกำหนดลักษณะงาน
ตำแหนง และกรอบอตั รากำ ลงั การกำหนดคาตอบแทนและสิทธิประโยชน การสรรหาและเลือกสรร และการ
ประเมินผลการปฏิบัติงาน ภายใตหลักการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สำคัญคือหลักสมรรถนะ(Competency)
หลักผลงาน(Performance) และหลกั คณุ ธรรม (Merit)
รวมทง้ั เปน การบริหารภาครฐั แนวใหมที่จะมอบอำนาจใหส วนราชการบรหิ ารจดั การเองและเพื่อใหส อดคลอ ง
กบั การบรหิ ารภาครัฐแนวใหม ดงั น้ัน ระเบยี บ หลักเกณฑและวิธกี ารตา งๆ จึงไดกำหนดไวอ ยางกวา งๆ ภายใต
แนวทางที่จะใหส ว นราชการมีความอสิ ระและยดื หยนุ (Freedom and Flexibility)

สรุปผลการปฏบิ ัติงานพนกั งานราชการเลมนี้ เปนการสรปุ ผลการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลตลิ่ง
ชัน ตามบทบาทภารกิจของครู กศน.ตำบล และเปนแนวทางการปฏบิ ัตงิ านทเี่ กยี่ วของ สามารถขับเคลื่อน
กิจกรรมหลักของ กศน.ตำบล เพอ่ื สง เสรมิ การเรียนรตู ลอดชวี ิตของประชาชนในชุมชนท่เี ปน รปู ธรรมอยา งมี
ประสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผลตอ ประชาชนใหมากที่สดุ

สมชาย นาโตนด
มีนาคม 2563



สารบญั

เร่อื ง หนา

คำนำ ก

สารบัญ ข

ประวัติสว นตวั ค

บทที่ 1 บทนำ

- ประวตั ิ กศน.ตำบล 1

- ปรชั ญา วิสยั ทัศน เอกลกั ษณ อตั ลกั ษณ 1

- แนวทางการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบล 2

- บทบาทหนา ที่และความรบั ผดิ ชอบ 2

บทที่ 2 ผลการดำเนนิ งาน 3

ตัวช้ีวดั ที่ 1 : จำนวนขอมูลในระบบฐานขอ มูลเพื่อการบรหิ ารจดั การ (DMIS) 3
ตวั ช้วี ดั ที่ 2 : ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิบัติการ กศน. ตำบล/แขวง 4
ตัวชีว้ ัดท่ี 3 : จำนวนความสำเร็จของการดำเนินงานการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน 5
ตวั ชีว้ ัดท่ี 4 : รอยละของผูจ บหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 12
ตัวชีว้ ดั ท่ี 5 : รอยละของผเู ขา สอบปลายภาค 13
ตัวชวี้ ัดที่ 6 : รอยละของผเู รียนท่มี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียนในรายวชิ าบังคับ 14
ตวั ชี้วดั ท่ี 7 : จำนวนผูเขา รวมกิจกรรมการศึกษาตอ เนื่อง เมอื่ เทียบกบั เปาหมาย 15
ตัวชี้วัดที่ 8 : รอ ยละของผูจบหลกั สตู รการศกึ ษาตอเนือ่ งท่ีนาความรไู ปใช
เม่อื เทียบกับเปาหมายตวั ชี้วัดที่ 9 : จำนวนผรู บั บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย 16
ตัวช้ีวัดท่ี 9 : จำนวนผรู ับบรกิ ารการศึกษาตามอัธยาศัย 17
ตวั ช้วี ดั ที่ 10 : จำนวนกิจกรรมทีจ่ ดั ในแหลงเรยี นรู บานหนังสือชมุ ชน
เม่อื เทยี บกับเปา หมาย 19
ตัวช้วี ดั ท่ี 11 : ระดบั ความสำเร็จของการมีสว นรวมกับภาคเี ครอื ขา ยในชมุ ชน 20
ตวั ชวี้ ัดท่ี 12 : จำนวนงานตามนโยบายเรง ดว น หรืองานอ่นื ๆ ทีไ่ ดร ับมอบหมาย 25
ตวั ช้วี ดั ท่ี 13 : ระดบั ความสำเร็จในการจัดทาผลการปฏิบัตงิ านที่ดี (Best Practice) 27
บทท่ี 3 สรปุ ผล ขอ เสนอแนะ

สรปุ ผล 34

ขอ เสนอแนะ 37

ภาคผนวก 40



ประวตั สิ วนตัว

ชื่อ นายสมชาย นาโตนด
เกดิ วันพฤหสั บดีท่ี 5 มิถนุ ายน พ.ศ. 2518 อายุ 43 ป
ที่อยู บา นเลขท่ี 147/1 หมูที่ 1 บา นหนองไมกอง ตำบลหนองหญาปลอ ง อำเภอบานดา นลานหอย
จงั หวดั สุโขทยั รหสั ไปรษณี 64140 เบอรโ ทร 0910274071
อเี มลล [email protected] เว็บไซด http://sukho.nfe.go.th/bdh07/index.php
ตำแหนง ครู กศน.ตำบลตลิง่ ชัน
เร่ิมปฏิบัติงานต้ังแตว นั ที่ 10 มกราคม 2554 จนถึงปจจุบนั
ความสามารถ คอมพวิ เตอร กฬี า
คตใิ นการทำงาน ศาสตรพ ระราชา
หลักธรรมในการทำงาน คดิ บวก ชวี ิตก็บวก

1
บทท่ี 1
บทนำ
ประวตั ิ กศน.ตำบล
ตามหนังสือ สำนักงาน กศน. ที่ ศธ 0210.02/3267 ลงวันที่ 4 กันยายน 2552 เรื่อง การดำเนินงาน
กศน. ตำบล สานักงาน กศน. โดยเลขาธิการ กศน. (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) ไดสั่งการ ใหผูอำนวยการสานักงาน
กศน. จังหวัด ทุกจังหวัด และผูอำนวยการสานักงาน กศน. กทม. ดำเนินการปรับศูนยการเรียนชุมชนในทุก
ตำบลใหเปน กศน. ตำบล ศนู ยการเรียนชุมชนตำบลตลง่ิ ชัน ประกาศจัดตง้ั ใหเปน กศน.ตำบลตล่ิงชัน โดยผูวา
ราชการจังหวดั นายจกั รนิ เปลย่ี นวงษ เมื่อวันท่ี 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 เพอื่ ใหการดำเนนิ งานจัดการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กศน.ตำบลตลิ่งชัน เปนผูประสานกับผูเกี่ยวของทุกฝาย ทั้งภาครัฐ
เอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูนำชุมชน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมี
ประสิทธิภาพ ประชาชนไดรับผลประโยชนโ ดยมเี ปาหมายสูงสดุ คือคนไทยไดเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ
พิธีเปด กศน.ตำบลตล่ิงชัน เมอื่ วนั ศุกรที่ 6 สงิ หาคม พ.ศ. 2553 โดยมี นายสมชาย ไขสุวรรณ นายอำเภอบาน
ดา นลานหอย เปน ประธานในพิธีเปด

https://goo.gl/maps/pCssWbCoyiL2
ปรัชญา

“คดิ เปน เนนวถิ พี อเพียง”
วสิ ัยทศั น

ภายในป 2563 กศน.อำเภอบานดานลานหอย มุงเนนการจัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัย ใหก ับกลุมเปาหมายอยางท่วั ถงึ และเสมอภาคอยา งมีคณุ ภาพ
เอกลกั ษณ

ภมู ปิ ญ ญาทอ งถิน่
อัตลกั ษณ

อยูอยา งพอเพียง

2

แนวทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล
แนวทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล ซึ่งจะมีการปรับบทบาทภารกิจใหสอดคลองกับนโยบาย

รัฐบาลและบริบทของพื้นที่ ตลอดจนรองรับการเปนประชาคมอาเซียนมากขึ้น ภายใตการขับเคลื่อนการ
ดำเนินงาน 4 ศูนยเ รยี นรู ประกอบดว ย

1 ศูนยเรียนรูหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมประจำตำบล เปนศูนยกลางการ
สงเสรมิ จัดกระบวนการเรยี นรู และหนวยประสานงานแหลง เรียนรหู ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งภายในชุมชน
ดำเนินงานรวมกบั กองอำนวยการรักษาความมัน่ คงภายในราชอาณาจกั ร (กอ.รมน.)

2 ศูนยสงเสริมและพัฒนาประชาธิปไตยประจำตำบล เพื่อสรางการเรียนรูและความเขาใจที่ถูกตอง
เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มีพระมหากษัตริยทรงเปนพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและ
หนาที่ในระบอบประชาธิปไตย บูรณาการความรวมมือกับคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) และภาคประชา
สังคม

3 ศูนยดิจิทัลชุมชน ซึ่งบริหารจัดการฐานขอมูลที่จำเปนสำหรับ กศน. และชุมชน เพื่อใหมีความรู
และรับรทู ี่เทา ทัน ปรบั ตวั ใหส อดคลอ งกบั การเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลกยคุ ดิจทิ ลั

4 ศนู ยการศกึ ษาตลอดชีวิตชมุ ชน เพื่อสง เสรมิ และสนบั สนุนการจดั การศึกษาในระบบการศึกษา นอก
ระบบการศึกษา และการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมีคุณภาพที่สอดคลองกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชน
เปน ฐานในการดำเนินงาน โดย กศน.ตำบล มบี ทบาทเปน ผปู ระสานงานและอำนวยความสะดวก

บทบาทหนาทแี่ ละความรับผดิ ชอบ
ครู กศน.ตำบล
1. ภารกจิ หลกั จัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนและกิจกรรมการเรยี นรตู ามภารกิจเฉพาะ
กลมุ เปาหมายและพนื้ ที่
2. สง เสริมและสนับสนนุ การจัดการเรียนรู

1) สำรวจ รวบรวม วิเคราะหขอ มูลกลุมเปาหมายและขอ มลู บริบทของชมุ ชนในตำบลทรี่ บั ผิดชอบตาม
รปู แบบการวางแผนจลุ ภาคอยา งมีคณุ ภาพ

2) วางแผนการจดั การเรียนการสอนและการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู
3) สง เสริม สนบั สนุน ประสานการทำงาน จดั กิจกรรมการเรยี นรูรวมกับภาคเี ครือขา ย
4) ใหบรกิ ารขอมูล ขาวสารชุมชนและภาคเี ครอื ขา ย
5) พฒั นาตนเอง พฒั นาสื่อ พฒั นาแหลง เรียนรู เพือ่ ใหสามารถจดั การเรยี นรูไดอยา งเหมาะสม
6) ปฏบิ ัตงิ านรว มกบั ครู ศรช. ครูอาสาสมคั ร กศน. บรรณารักษ วิทยากร ครสู อนเสรมิ ภูมปิ ญญา

อาสาสมคั รสง เสรมิ การอาน ฯลฯ
7) ทำหนำ้ ท่ีเลขานกุ ารคณะกรรมการ กศน. ตำบล
8) ปฏบิ ัตหิ นาทีอ่ น่ื ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย

3

บทท่ี 2
ผลการดำเนนิ งาน

ตัวชวี้ ัดที่ 1 : จำนวนขอมูลในระบบฐานขอ มูลเพอ่ื การบริหารจดั การ (DMIS)
รายการฐานขอ มูลทต่ี องบันทกึ ในระบบฐานขอมลู เพ่ือการบริหารจดั การ (DMIS)
1. ขอ มลู สถานท่ีต้ัง และลักษณะพ้นื ทต่ี ้งั
2. พิกัดตำแหนง
3. ขอ มลู บุคลากร
4. ชอื่ และเบอรต ดิ ตอ ของหัวหนา กศน. ตำบล/แขวง
5. ลิงค เว็บไซต หรือ Fanpage กศน. ตำบล/แขวง
6. ขอมลู สาธารณูปโภค (ไฟฟา นา ประปา) โทรศัพท และอินเทอรเ น็ต
7. จำนวนคอมพิวเตอร โทรทศั น และอุปกรณสำนักงานตาง ๆ
8. จำนวนผูใ ชค อมพวิ เตอร/ ผูใ ชอินเทอรเน็ต/ ผใู ช Wi-Fi เฉล่ียตอ วัน
9. จำนวนผูเขา รบั บรกิ ารท่ี กศน. ตำบล/แขวง เฉลีย่ ตอเดอื น
10. รูปภาพของครู กศน.ตำบล/แขวง
11. คณะกรรมการ กศน. ตำบล/แขวง
12. มกี ารรายงานขอมูลพ้นื ฐานใหครบถวน และเปนปจ จบุ ัน

ผใู ชบ รกิ าร กศน.ตำบล
รายการฐานขอมูลที่บันทึกในระบบฐานขอมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) กศน.ตำบลตลิ่งชันมี
ขอมลู ครบถว นทงั้ 12 รายการ

4
ตัวช้วี ัดท่ี 2 : ระดบั ความสำเรจ็ ของการจัดทำแผนปฏบิ ัติการ กศน. ตำบล/แขวง

การดำเนินงานในการจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.ตำบล สอดคลองกบั แผนปฏบิ ตั ริ าชการของ
หนวยงาน พจิ ารณาจากความถูกตองครบถวนของขอมลู ทีบ่ รรลผุ ลตามคา เปา หมายท่กี ำหนดไว และจดั ทำแผน
ในระบบ DMIS มกี ารประเมิน สรุป และรายงานผล และจัดทำแผนในระบบ DMIS

การดำเนนิ งานในการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ าร กศน.ตำบล สอดคลอ งกับแผนปฏบิ ัตริ าชการของ
หนวยงาน พจิ ารณาจากความถูกตองครบถวนของขอมลู ท่บี รรลผุ ลตามคาเปาหมายท่ีกำหนดไว และจัดทำแผน
ในระบบ DMIS มกี ารประเมิน สรุป และรายงานผล และจัดทำแผนในระบบ DMIS และแผนปฏบิ ตั กิ าร กศน.
ตำบลตลิ่งชัน งบประมาณป 2563 โดยการทำคำรับรองปฏิบัติราชการกับ ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบาน
ดานลานหอย และมกี ารรายงานผลในระบบ DMIS ครบถว นทกุ กจิ กรรม

5
ตัวชี้วัดท่ี 3 : จำนวนความสำเร็จของการดำเนนิ งานการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

การดำเนนิ งานการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานในการจัดกจิ กรรม/ โครงการตามแผนปฏิบตั ิการประจำป
ของหนวยงาน/สถานศึกษาท่ีครู กศน. ตำบล/ รบั ผิดชอบ มีการบนั ทึกขอมูลผลการดำเนินงานและงบประมาณ
ในการดำเนนิ งานโครงการ/ กิจกรรมตามคำรบั รองการปฏิบัติราชการผานระบบฐานขอมูลเพ่อื การบรหิ าร
จดั การ (DMIS) ดา นการศึกษาพน้ื ฐาน

1. มีจำนวนนักศึกษาที่รับผิดชอบตามเกณฑท่ีสำนักงาน กศน.กำหนด (ครู กศน.ตำบล 1 คนตอ
นักศึกษา 40 คน) นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จำนวน 15 คน นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย จำนวน 27 คน รวมนกั ศกึ ษาท้ังหมด 42 คน

2. มีจำนวนนักศกึ ษาท่รี บั ผิดชอบมากกวา 40 คน จำนวนนกั ศึกษาท้งั หมด 42 คน

3. มกี ารวเิ คราะหศักยภาพของกลุมเปาหมายและสำรวจความตองการของนักศึกษาเพื่อรวมจัดวิธีการ
เรียนรูใหเหมาะสมกับนักศึกษา จากขอมูลหลักฐานการสมัคร ใบสมัครขึ้นทะเบียนเปนนักศึกษาหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

6
4. มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรูรายสัปดาห บันทึกการเรียนรู และจัดทำขอมูลการลงทะเบียน
ของนักศึกษา และแจงใหนักศกึ ษารับทราบโดยทว่ั กนั

ม.ตน
ม.ปลาย

5. มีการจัดทำปฏิทินการพบกลมุ ทั้งภาคเรยี น และแจงใหนักศึกษารับทราบโดยทัว่ กนั

7

6. นกั ศกึ ษาไมนอยกวา รอยละ 70 ของนักศึกษาทงั้ หมดท่รี ับผิดชอบในภาคเรยี นนั้น เขา รวมกิจกรรม
พฒั นาผูเรียน 20 ชวั่ โมงขนึ้ ไป (ใหนบั รวมกจิ กรรมทส่ี ถานศกึ ษาดำเนินการและ ครู กศน.ตำบล ดำเนินการ)
นักศึกษาเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 20 ชั่วโมงขึ้นไป ไมถึงรอยละ 70 ของนักศึกษาทั้งหมดที่
รับผิดชอบในภาคเรียนท่ี 2/2562
7. นักศึกษาไมนอยกวารอยละ 80 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เขาสอบปลาย
ภาคเรียน มากกวาหนึ่งรายวิชาขึ้นไป (กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนน้ันเพียงหน่ึงรายวิชา และ
เขาสอบปลายภาคเรยี นรายวชิ านัน้ ใหน บั เปน 1)
ที่ ระดบั จำนวนนักศึกษา (คน) รอ ยละ
นกั ศกึ ษาท้ังหมด เขา สอบ ขาดสอบ
1 ประถมศึกษา - - --
2 มธั ยมศกึ ษาตอนตน 15 12 3 80
3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 27 23 4 85
รวม 42 35 7 83
8. นักศึกษารอยละ 75 ของนักศึกษาที่คาดดวาจะจบที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เขาทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ (N-NET) และ E-Exam มีนกั ศึกษาท่ีผา นการเขาทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-NET)
และ E-Exam รอยละ 86
ที่ ระดบั จำนวนนักศกึ ษา (คน) รอ ยละ
เขา ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-NET) และ E-Exam
นักศกึ ษาทั้งหมด เขา ทดสอบ ไมเ ขา ทดสอบ
1 ประถมศึกษา ---
2 มัธยมศกึ ษาตอนตน 2 2 0 100
3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 5 4 1 80
รวม 7 6 1 86

8
9. นักศึกษารอยละ 80 ของนักศึกษาทั้งหมดที่รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น มี username และ
password และมีการเขา ใชส อ่ื การเรยี นรูจ ากรายการโทรทศั นเ พอ่ื การศึกษาผานเวป็ ไซต www.etvthai.tv
- นักศึกษาไมมี username และ password เว็ปไซต www.etvthai.tv และมีการเขาใชสื่อการ
เรยี นรจู ากรายการโทรทัศนเ พ่อื การศกึ ษาผา นเวป็ ไซต www.etvthai.tv เปนบางสวน
10. มีการชวยเหลือผูเรียน โดยผานชองทางเฟสบุค ไลน โทรศัพท เว็บไซด และการสรางกลุม
Messenger กศน.ตำบลตลิ่งชัน
https://www.facebook.com/profile.php?id=100004381774141
http://sukho.nfe.go.th/bdh07/index.php
https://sites.google.com/site/nfetalingchun/

11. มบี ญั ชีลงเวลาของนกั ศึกษาและบญั ชลี งเวลาของครูผสู อน

9

12. มีรายงานการประเมนิ คณุ ธรรมจริยธรรมของนกั ศกึ ษา

13. มีบนั ทึกการตรวจรายงานกิจกรรม กพช. ของนกั ศึกษา

10
14. จัดนักศึกษาเขารวมกิจกรรมกับหนวยงานอื่นที่ประสานขอความรวมมืออยางนอย 2 กิจกรรมตอ
ภาคเรียน
โครงการฝกอบรมหลักสูตรเยาวชนอาสารักษาดินแดน (ย.อส.) ตานภัยยาเสพติดจังหวัดสุโขทัย ณ
อาคารชวนชม มหาวิทยาลยั การกฬี าแหง ชาติ วทิ ยาเขตสโุ ขทัย

สำนึกรกั บานเกดิ ...เรียนรทู จี่ ะอยูในทอ งถิ่น... เรยี นรูท จี่ ะรกั บานเรา... นำไปปรับใชใ นชีวติ ประจำวัน...
วนั พอ ขุนรามคำแหงมหาราช วันท1่ี 9 มกราคม 2563

15. มีการวจิ ยั ช้นั เรียนเพอื่ พัฒนาการเรียนรขู องผเู รียนอยา งนอย 1 เรื่องตอ ภาคเรยี น

11

16. มกี ารใชส อ่ื เทคโนโลยี ในการจัดการเรยี นการสอน

https://sites.google.com/site/nfetalingchun/
การดำเนินงานการศึกษาขนั้ พื้นฐานในการจัดกจิ กรรม/ โครงการตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำป

ของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ครู กศน. ตำบล/ รบั ผดิ ชอบ มีการบันทึกขอมูลผลการดำเนนิ งานและงบประมาณ
ในการดำเนนิ งานโครงการ/ กิจกรรมตามคำรบั รองการปฏบิ ัติราชการผานระบบฐานขอมูลเพอ่ื การบริหาร
จดั การ (DMIS) ดา นการศึกษาพ้ืนฐาน ซึ่งมีท้ังหมด 19 รายการ มเี กณฑก ารใหคะแนนรอบการประเมนิ ท่ี 1
ถาจะไดคะแนนระดบั 5 จะตอ งมีรายการ 10 รายการขึ้นไป ผลการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลมผี ลการ
ดำเนินงาน จำนวน 11 รายการซง่ึ ไดต ามเกณฑคะแนนท่ีตง้ั ไว

12

ตัวชีว้ ัดที่ 4 : รอ ยละของผจู บหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
ผจู บการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเทยี บกบั ผทู ีข่ ึน้ ทะเบยี นและลงทะเบยี นโดยนับจากภาคเรียน

ปจ จุบนั ยอนหลังไป 4 ภาคเรียน (ผูท่ีเทียบโอนมาและจบการศกึ ษากอนใหน ับรวมดวย) โดยนับรหสั นกั ศกึ ษาท่ี
ลงทะเบียน 4 ภาคเรยี น

1. แบบรายงานผขู ึ้นทะเบียนหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551

รายงานนกั ศกึ ษาเขาใหม ภาคเรียนที่ 1 ปการศกึ ษา 2561 จำนวน 9 คน

ท่ี รหัสนกั ศกึ ษา ช่ือ สกุล ระดับการศึกษา
1 6112000221 นายจะลอ บุญดี ม.ตน
2 6113000327 นางสาวสภุ ทั ชา อยบู ุญ ม.ปลาย
3 6113000336 นายธนธรณ ผยุ เถื่อน ม.ปลาย
4 6113000345 นายเตชันท พุฒแกว ม.ปลาย
5 6113000354 นายคมกรชิ หนานกุล ม.ปลาย
6 6113000680 นายณัฐวฒุ ิ สดุ ใสดี ม.ปลาย
7 6113000699 นายองอาจ หนานกลุ ม.ปลาย
8 6113000701 นายสุรศกั ดิ์ หนานกลุ ม.ปลาย
9 6113000729 นายณฐั ดนัย อินตะใหม ม.ปลาย
นกั ศกึ ษาทีล่ งทะเบียน 4 ภาคเรยี น จำนวน 5 คน
ระดับการศึกษา
ที่ รหัสนกั ศกึ ษา ชอื่ สกุล ม.ตน
1 6112000221 นายจะลอ บญุ ดี ม.ปลาย
2 6113000327 นางสาวสุภัทชา อยูบญุ ม.ปลาย
3 6113000345 นายเตชันท พุฒแกว ม.ปลาย
4 6113000354 นายคมกริช หนานกลุ ม.ปลาย
5 6113000680 นายณฐั วฒุ ิ สุดใสดี

นักศกึ ษาท่จี บหลักสูตร ช่อื สกลุ 13
ที่ รหัสนักศึกษา นายจะลอ บญุ ดี รอ ยละ
1 6112000221
20

ผูจบการศึกษาขั้นพื้นฐานเทียบกับผูที่ขึ้นทะเบียนและลงทะเบียนโดยนับจากภาคเรียนปจจุบัน
ยอนหลังไป 4 ภาคเรียน ไดแกนักศึกษาที่เขาเรียนภาคเรียนที่ 1 ป การศึกษา 2561 มีจำนวน 9 คน เมื่อ
นบั รหสั นกั ศึกษาท่ีลงทะเบียน 4 ภาคเรียน มีจำนวน 5 คน และจบตามเกณฑห ลักสตู รการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พ.ศ.2561 มจี ำนวน 1 คน คิดเปน รอ ย 20 ของผจู บหลักสูตร

ตัวชี้วัดท่ี 5 : รอยละของผูเขา สอบปลายภาค
จำนวนนกั ศึกษาทเ่ี ขา สอบปลายภาคเรยี นเฉพาะรายวชิ าบงั คับในภาคเรียนปจ จบุ นั

เทียบกบั จำนวนนกั ศกึ ษาที่ลงทะเบยี นเฉพาะรายวชิ าบังคบั

รายงานการลงทะเบยี นระดบั ม.ตน รายงานการลงทะเบยี นระดับ ม.ปลาย
ผลการดำเนินงาน
นกั ศึกษา จำนวนนักศกึ ษา (คน) ขาดสอบ รอ ยละของ
ท่ี ระดบั การศึกษา ทัง้ หมด ลงทะเบยี น เขา สอบ - นักศกึ ษา
1 ประถมศกึ ษา 3 เขาสอบ
2 มัธยมศกึ ษาตอนตน - รายวชิ าบังคบั 4
3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 15 7 -
27 -- 85
รวม 42 15 12 88
26 23 85
41 35

รอยละของนักศึกษาที่เขาสอบปลายภาคเรียน = จำนวนนักศึกษาที่เขาสอบ x 100 หารดวยจำนวน
นักศึกษาที่ลงทะเบยี นเฉพาะรายวิชาบงั คับ

รอยละของนกั ศึกษาท่เี ขา สอบปลายภาคเรยี น = 35 x 100 = 3500 ÷ 41 = 85
จำนวนนักศึกษาที่เขาสอบปลายภาคเรียนเฉพาะรายวิชาบังคับในภาคเรียนปจจุบันเทียบกับจำนวน
นักศึกษาที่ลงทะเบียนเฉพาะรายวิชาบังคับ รอยละของนักศึกษาที่เขาสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2562 ของนกั ศึกษาทีล่ งทะเบียนเฉพาะรายวชิ าบังคับ คิดเปนรอ ยละ 85

14

ตวั ช้ีวดั ที่ 6 : รอยละของผูเ รยี นท่มี ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในรายวิชาบงั คับ
ผูเ รยี นการศึกษาขนั้ พนื้ ฐานรายวชิ าบงั คบั ทกุ ระดบั เฉพาะภาคเรียนในรอบการประเมิน

มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนเฉล่ีย 2.00 ข้นึ ไป

รายงานผลการเรียน ม.ตน ภาคเรยี นท่ี 2 / 2562 รายงานผลการเรียน ม.ปลาย ภาคเรียนที่ 2 / 2562
ผลการดำเนนิ งาน
ที่ ระดบั การศกึ ษา จำนวนนักศกึ ษา (คน) รอยละของ
นักศึกษา เขาสอบ ขาดสอบ ผลสัมฤทธ์ิ นกั ศึกษา
ท้งั หมด ทางการเรียน เขา สอบ
เฉลยี่ 2.00
ขน้ึ ไป
1 ประถมศึกษา - -- -
2 มธั ยมศึกษาตอนตน 15 12 3 10 83
3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 27 23 4 15 65
รวม 42 35 7 25 71

ผูเรียนการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานรายวิชาบังคบั ทุกระดบั เฉพาะภาคเรยี นในรอบการประเมิน
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลย่ี 2.00 ข้นึ ไป ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มีจำนวน 10 คน มีนักศึกษาเขาสอบ
จำนวน 12 คน คิดเปนรอยละ 83 ของนักศึกษาเขาสอบและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป จำนวน 15 คน มีนักศึกษาเขา
สอบ จำนวน 23 คน คิดเปน รอยละ 65 ของนักศกึ ษาเขาสอบและมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้น
ไป นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีผูเขาสอบ จำนวน 35 คน มี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลีย่ 2.00 ขึ้นไป จำนวน 25 คน ดังนั้นผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานรายวิชาบังคับ
ทกุ ระดับเฉพาะภาคเรยี นในรอบการประเมนิ มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเฉลย่ี 2.00 ขนึ้ ไป คดิ เปนรอ ยละ 71

15

ตัวชวี้ ดั ที่ 7 : จำนวนผูเ ขา รว มกิจกรรมการศกึ ษาตอเน่ือง เมื่อเทียบกบั เปาหมาย

จำนวนผเู ขา รว มกิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ
การศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชน การจดั กระบวนการเรยี นรูตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
มผี ลการดำเนนิ งานบรรลตุ ามเปาหมาย/ มีผลการดำเนินงานเกนิ กวาเปาหมายตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำป
ของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รับผดิ ชอบ
ผลการดำเนินงาน คาเปา หมาย ผลการดำเนินงาน
ลำดบั ที่ กิจกรรม
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี 35 51
2 การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชีวติ 22 24
3 การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 15 20
4 การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลกั ปรชั ญา 9 20
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รวม 81 115
รายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ไตรมาสท่ี 2 ของ นายสมชาย นาโตนด ประเภท ขา ราชการพลเรือน ตำแหนง
ครู กศน.ตำบล ประจำปง บประมาณ พ.ศ. 2563 (DMIS)

รายงานผลการปฏบิ ัติงาน กศน.
ตำบลตลง่ิ ชัน เพ่มิ เตมิ ไดที่เพจ กศน.
ตำบลตลง่ิ ชัน โดยแสกน ควิ อารโคด
นายประเวช เหลาประเสรฐิ ผูอำนวยการ
สำนักงาน กศน.จังหวดั สโุ ขทยั พรอ มดว ยคณะบคุ ลากร
สำนกั งาน กศน.จังหวดั สุโขทยั ลงนิเทศตรวจเยย่ี ม
กศน.อำเภอบานดานลานหอย จังหวดั สโุ ขทยั
และไดลงพื้นท่ีนิเทศตรวจเยย่ี ม กศน.ตำบลวังลกึ
และ กศน.ตำบลตลิง่ ชัน เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2562
จำนวนผเู ขารวมกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคา
เปาหมายที่กำหนดไวรวมทั้งหมด จำนวน 81 คน กศน.ตำบล มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตาม
แผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รับผิดชอบ จำนวนเปาหมาที่เขารวม
กิจกรรมท้ังส้นิ 115 คน

16

ตวั ชว้ี ดั ท่ี 8 : รอยละของผจู บหลักสูตรการศกึ ษาตอ เน่อื งทีน่ าความรไู ปใช เมือ่ เทียบกบั เปา หมาย

จำนวนผูจบหลักสตู ร/กิจกรรมในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชพี การศกึ ษาเพ่อื พัฒนา
ทกั ษะชีวติ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน การจดั กระบวนการเรียนรตู ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ทน่ี าความรไู ปใช มผี ลการดำเนินงานบรรลุตามเปา หมาย/ มีผลการดำเนินงานเกนิ กวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติ
การประจำปข องหนว ยงาน/สถานศกึ ษาท่ี ครู กศน. ตำบล ทร่ี ับผิดชอบ
ผลการดำเนินงาน
ลำดับที่ หลักสตู ร คาเปา หมาย ผลการดำเนินงาน
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ 35 51
(รอ ยละของผจู บหลักสูตรที่นำความรูไ ปใช
ลดรายจา ย/ เพม่ิ รายได/ ตอ ยอดอาชพี เดมิ /
เพ่มิ มลู คา)
2 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต 22 24
(รอ ยละของผูจบหลักสตู รทนี่ ำความรูไ ปใช
ในการพัฒนาตนเอง)
3 การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาสงั คมและชมุ ชน 15 20
(รอ ยละของผูจบหลักสตู รท่ีนำความรูไปใช
ในการพฒั นาชุมชนและสงั คม)
4 การจดั กระบวนการเรียนรูต ามหลกั ปรัชญา 9 20
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(รอยละของผจู บหลักสตู รทีน่ ำความรไู ปใช
ในชวี ิตประจำวนั ไดอยางเหมาะสม)
รวม 81 115

แสกนดภู าพกิจกรรมเพิม่ เติม
จำนวนผูจบหลักสูตร/กจิ กรรมในการจัดการศึกษาเพอื่ พฒั นาอาชีพ การศึกษาเพอ่ื พัฒนา
ทกั ษะชวี ติ การศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรตู ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ที่นาความรูไปใช มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป ครู กศน. ตำบล ที่
รบั ผดิ ชอบ มีผจู บหลกั สตู ร จำนวน 115 คน และสามารถนำความรไู ปใชใ นการดำเนนิ ชวี ิตรอ ยละ 90 ข้นึ ไป

17

ตัวช้ีวดั ท่ี 9 : จำนวนผูรบั บรกิ ารการศกึ ษาตามอัธยาศยั

จำนวนผรู บั บริการการศึกษาตามอัธยาศยั เม่ือเทยี บกับเปาหมายการดำเนนิ งานโครงการ/
กิจกรรมตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปข องหนว ยงาน/สถานศกึ ษาท่ี ครู กศน. ตำบล/แขวงรับผดิ ชอบ โดยให
สำนกั งาน กศน. จังหวดั รว มกบั กศน. อำเภอเปน ผกู ำหนดคา เปา หมายตามแผนใหค รู กศน. ตำบล แตละคน
ผลการดำเนนิ งาน
คา เปาหมาย ผลการดำเนินงาน
ลำดบั ที่ โครงการ/กิจกรรม ตามแผน (คน) (คน)

1 กิจกรรมสง เสรมิ การอาน (กศน.ตำบล/ศนู ยการเรียน 150 200
ชุมชน)
2 บานหนงั สือชุมชน
3 แหลงเรียนรูพิพิธภัณฑโบราณคดีบานวังหาด เรียนรู
โบราณวตั ถุยคุ กอ นประวตั ิศาสตร

4 สง เสริมการเรียนรูภมู ิปญ ญาทอ งถิ่น สะลอซอซึง
5 สงเสรมิ การเรยี นรเู สนทางทอ งเท่ยี วโดยชุมชน
ยคุ กอ นประวัติศาสตร บานวงั หาด ภมู ิปญ ญา ทอผา

6 บริการการศึกษาตามอัธยาศัยผานชองทางระบบ
โซเซยี ล

บริการบา นหนังสือชมุ ชน ม.2 บานวังหาด

18

แหลงเรียนรพู พิ ิธภัณฑโ บราณคดบี า นวงั หาด
บรกิ ารฉายหนัง และแจกใบความรู โควิด 19 ณ ม.8 บานตลงิ่ ชันใต

บริการอินเตอร กศน.ตำบลตล่งิ ชัน
จำนวนผรู ับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย เม่ือเทยี บกบั เปาหมายการดำเนนิ งานโครงการ/
กิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการประจำปของหนว ยงาน/สถานศกึ ษาที่ ครู กศน. ตำบล กำหนดไว 150 คน ซึ่งมี
ผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป ครู กศน. ตำบล ที่รับผิดชอบ มีเปาหมาย
จำนวน 200 คน

19

ตัวชว้ี ัดที่ 10 : จำนวนกิจกรรมทีจ่ ดั ในแหลง เรียนรู บา นหนงั สือชมุ ชน เมื่อเทียบกบั เปา หมาย

จำนวนกิจกรรมในแหลงเรียนรู บานหนงั สอื ชมุ ชนทดี่ ำเนินการเพือ่ สง เสรมิ การเรียนรู
ที่สมั พันธกบั แหลงเรียนรแู กประชาชน เม่ือเทียบกบั เปา หมายการดำเนินงาน ตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำป
ของหนวยงาน/สถานศกึ ษาทค่ี รู กศน. ตำบล/แขวงรับผดิ ชอบ โดยใหส ำนกั งาน กศน. จงั หวดั รวมกบั กศน.
อำเภอ เปนผกู ำหนดคาเปาหมายตามแผนใหค รู กศน. ตำบลแตละคน
ท่ี โครงการ/กิจกรรม คาเปา หมายตามแผน ผลการดำเนินงาน
1 กิจกรรมสงเสริมการอาน (กศน.ตำบล/ศูนยการเรียน 150 200
ชุมชน)
2 บานหนังสือชมุ ชน
3 แหลงเรียนรูพิพิธภัณฑโบราณคดีบานวังหาด เรียนรู
โบราณวัตถยุ คุ กอนประวัตศิ าสตร
4 สง เสริมการเรียนรภู มู ิปญ ญาทอ งถิน่ สะลอซอซึง
5 สงเสรมิ การเรียนรูเสน ทางทอ งเทย่ี วโดยชมุ ชน
ยคุ กอนประวตั ศิ าสตร บานวงั หาด แหลงเรียนรู ภมู ิปญ ญา

6 สำรวจแหลงเรียนรู 12
7 สำรวจภูมปิ ญญาชาวบา น 13

จำนวนกิจกรรมในแหลง เรียนรู บานหนังสอื ชมุ ชนทีด่ ำเนนิ การเพอื่ สง เสรมิ การเรยี นรู
ท่ีสัมพันธกับแหลง เรียนรแู กประชาชน เมื่อเทยี บกับเปา หมายการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบตั ิการประจำป
ของหนวยงาน ที่ครู กศน. ตำบล/รับผิดชอบ โดยใหสำนักงาน กศน. จังหวัด รวมกับ กศน.อำเภอ เปนผู
กำหนดคา เปา หมายตามแผน ใหค รู กศน. ตำบลแตล ะคน กศน.ตำบลตล่งิ ชนั มีผลการดำเนนิ งานมากกวา 4
กิจกรรม

20
ตวั ช้วี ัดท่ี 11 : ระดบั ความสำเรจ็ ของการมีสว นรว มกับภาคเี ครอื ขายในชุมชน

การมสี วนรวมกับภาคเี ครอื ขา ยในชุมชน การเขา รว มกิจกรรม การเขารวมประชมุ การจดั
กจิ กรรมรวมกัน การสนบั สนนุ ทรัพยากร การรวมนเิ ทศตดิ ตามผล มผี ลการดำเนินงานดงั น้ี

1. อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารดานการออกแบบสินคาและบริการทางวัฒนธรรมทแี่ สดงถงึ อัตลักษณ
ทองถิ่น โครงการสรางสรรคศิลปะรวมสมัยเพื่อตอยอดทุนทางวัฒนธรรม โดยมี ผศ.เอกพงษ ตรีตรง เปน
วิทยากรใหค วามรู ณ หองประชมุ วรรณกลาง มหาวิทยาลยั การกฬี าแหง ชาติ วทิ ยาเขตสโุ ขทัย วนั ที่ 6 ม.ี ค.63

2. รวมประชุมประชาคมทบทวนแผน และจัดทำแผนพัฒนาหมูบาน ประจำปงบประมาณ
2564

3. สื่อความหมาย ใหกบั ครแู ละนักศึกษาปรญิ ญาตรีปท ่ี 3 คณะศิลปศกึ ษาสาขาดนตรี
คตี ศิลปไ ทยศึกษา ในการเขาเรยี นรพู ิพิธภณั ฑโบราณคดีบานวงั หาด เมอ่ื วันท่ี 22 ก.พ.63

21
4. อำนวยความสะดวกใหกับนกั ศึกษาปรญิ ญาตรีปท่ี 3 คณะศลิ ปศกึ ษาสาขาดนตรคี ตี ศลิ ปะ
ไทยศึกษา"ลงพนื้ ทีเ่ พ่ือการศึกษาคนควาสืบทอดอารยธรรมของดนตรีพืน้ บาน เพราะกลัวสูญหายและเนื่องจาก
วงสะลอ ซอซงึ สว นมากท่ีพบเห็นก็จะพบเห็นต้ังแตจังหวดั เชียงใหมส ้ินสดุ ถึงแคอุตรดิตถแ ตครั้งน้ีเรากลับมาเห็น
วามีอยูที่จังหวัดสุโขทัยอีก 1 ที่ก็คือบานวังหาด ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบานดานลานหอยและเปนที่เดียวที่เห็น
หลักฐานที่เดนชัดที่สุดในจังหวัดสุโขทัย จึงทำใหพวกเรานักศึกษามีความสนใจเปนอยางมากและตองการที่จะ
ศึกษาหาความรเู พือ่ สบื ทอดวัฒนธรรมใหคงอยคู ะ" นักศกึ ษากลา ว เมอื่ วันท่ี 22 ก.พ.63 เวลา 14.00 น.

5. รว มกบั คณะกรรมการชมรมการทองเทยี่ วโดยชมุ ชนวงั หาด รว มงาน DINNER TALK อพท.
สโุ ขทยั เมืองทองเทีย่ วสรา งสรรคของโลก ณ โรงแรมศรีวไิ ล ต.เมอื งเกา จ.สโุ ขทัย เม่ือวนั ท่ี 4 ก.พ. 63

6. วนั ที่ 31 มกราคม 2563 คณะครูและนักเรยี นโรงเรียนอุดมดรุณี อำเภอเมอื งสโุ ขทัย
จังหวัดสุโขทัย จำนวน 55 คน ....ศึกษาดูงานที่ชุมชนบานวังหาด ม.2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบานดานลานหอย
จังหวัดสโุ ขทัย ..ศึกษาเกี่ยวกับประวัติศาสตรตามจุดเรียนรูตา ง ๆ *วัดวังหาด*วงั ขอนแดง*หวยตนไฮ*อางเก็บ
นำ้ แมพ ันลำ*แหลง เรียนรูผา ฝายยอ มดนิ วังหาด*!!!! ...ชุมชนยินดีเปน อยา งย่งิ

22
7. รว มทำบุญตักบาตรกับหนว ยศึกษาการพฒั นาการอนรุ กั ษต นน้ำน้ำสิน 20 ม.ค.63

8. สงเสรมิ สนับสนุน ใหกบั นักศกึ ษา ชน้ั ปท่ี 2 รายวชิ าอารยธรรมและภูมิปญ ญาทอ งถิน่
มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ศึกษาเรียนรูวัดวังหาดแหลงเรียนรูทองถิ่นที่หอมลอมดวยประเพณี/
วัฒนธรรมทง่ี ดงาม นา สนใจศกึ ษาและอนรุ กั ษ 18 ม.ค.63

9. รว มเปน วทิ ยากรโครงการพฒั นามาตรฐานผลติ ภณั ฑช มุ ชน เพ่ือยกระดับคณุ ภาพผลติ ภัณฑ
ใหเขาสูมาตรฐานผลิตภัณฑชุมชน (มผช.) ผลิตภัณฑผายอมดิน ของกลุมทอผาพื้นเมืองบานวังหาด ในวันที่ 8
มกราคม 2563

23
10. รว มตอนรบั นักทอ งเทย่ี วชาวตางชาติ รวมกับนักสือ่ ความหมาย ชมรมการทอ งเทีย่ วโดย
ชุมชนวังหาด 26 ธ.ค.62

11.คณะครู นักเรยี น รร.บานดานลานหอยวิทยาจำนวน 105 ทาน มาศกึ ษาดูงาน ทอ งเทย่ี ว
แหลง โบราณคดี ยคุ กอนประวัตศิ าสตร เปนแหลงเรยี นรทู างธรรมชาติ

12. รว มกิจกรรมวันท่ี 5 ธันวาคม ซงึ่ เปน วนั ดินโลก และวันพอ แหงชาติ

24
13. นอ ง ๆ นักศกึ ษาจาก อาชีวศึกษาสโุ ขทัย ปวส.ป 1 มาถา ยทำ ศกึ ษาหาความรู แหลง
เรียนรูเล็ก ๆ กับ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สาธิตกันสดๆ กับภูมิปญญาทองถิ่นบานวังหาด ผายอมดิน ทุก
ขัน้ ตอนเกิดจากภูมปิ ญญาชาวบา นต้ังแตอดตี จน ปจจบุ ัน วันที่ 24 พ.ย. 62

14. 29 ต.ค.62 รวมสำรวจพ้นื ทีค่ นพบเตาถลุงเหล็ก กบั นายธีรศกั ด์ิ ธนศู ลิ ป เจาหนา ที่
สำนกั ศิลปกรท่ี 6 สุโขทยั

15. 5 ตุลาคม 2562 อำเภอบา นดา นลานหอย จัดประเพณอี อกพรรษาแหชูชก ประจำป
2562 ณ บริเวณทว่ี าการอำเภอบา นดา นลานหอย

ผลการดำเนินงานจากการรวมประชุม การรวมคดิ รว มวางแผน รว มดำเนนิ การ รวมนเิ ทศ
ติดตามผลสงเสริม/สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือขาย และสนับสนุนทรัพยากรใหกับภาคีเครือขาย
ไดศึกษาเรียนรูประวตั ศิ าสตรชุมชน วิถีชวี ติ ชุมชน การอนุรักษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ซึ่งทำให
คนในชุมชนสามารถรวมกลุมกันจัดกิจกรรมตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถพึ่งตนเองให สงผลให
คุณภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชนดขี ้นึ

25

ตัวชวี้ ัดท่ี 12 : จำนวนงานตามนโยบายเรง ดว น หรอื งานอ่นื ๆ ทไี่ ดร บั มอบหมาย

จำนวนงานตามนโยบายเรง ดว น และโครงการสำคัญประจำป อาทิ โครงการฝก อบรม
หลักสตู รการดูแลผูสงู อายุ โครงการคลงั ความรู กศน. เพอื่ การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ โครงการภาษาตา งประเทศ
เพื่อการสื่อสารดานอาชีพ โครงการศูนยดิจิทัลชุมชน โครงการ กศน. สู กศน. WOW โครงการพิเศษตาง ๆ
ตามนโยบายเรงดวน นโยบายและจุดเนนของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธกิ าร เมื่อเทียบกับเปาหมายงานอื่น ๆ ที่
ไดรับมอบหมาย หมายถึง การมอบหมายงานอื่น ๆ นอกเหนือจากบทบาทหนาที่ตามตำแหนง อาทิ งานพัสดุ
งานทะเบยี น ฯลฯสำนักงาน กศน. จงั หวดั ทไี่ ดรบั การจดั สรรเงนิ งบประมาณตามโครงการ 1 – 5 ใหด ำเนนิ การ
ตามโครงการ 1 – 5 กอ น จงึ จะกำหนดโครงการอื่น ๆ เพิ่มเติมได โดยใหสำนกั งาน กศน. จงั หวดั รว มกับ
กศน. อำเภอ เปนผกู ำหนดคา เปา หมายตามแผนปฏิบัติการ/แผนงานของครแู ตละคน
ผลการดำเนินงาน
ท่ี จำนวนงาน คาเปา หมาย ผลการดำเนินงาน
1 โครงการศูนยด จิ ิทัลชมุ ชน 15 15
2 คณะกรรมการคุมสอบปลายภาคเรยี นท่ี 2/2562 1 1
3 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน คา ยลูกเสือ กศน. 11
4 กจิ กรรมคา ยลกู เสือมคั คุเทศก บนั ทึกภาพวดิ ทิ ศั น 1 1
5 อบรมเชิงปฏิบัติการดานการออกแบบสินคาและ 1 1
บริการทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงอัตลักษณทองถ่ิน
โครงการสรางสรรคศิลปะรวมสมัยเพื่อตอยอดทุนทาง
วัฒนธรรม 1 1
6 ประชุมจัดทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาค 1 1
เรียนที่ 2/2562 หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับ 1 1
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระหวางวันที่
9-12 ธันวาคม 2562 ณ โรงแรมเชียงใหม ฮอลิเดย
การเดน
7 กศน.เกมส คร้งั ที่ 5 อุบลราชธานี
9 ก ิ จ ก ร ร ม ง า น “ Sukhothai Model : for Creative
City”กิจกรรม Workshop รวมประดิษฐชิ้นงาน
หัตถกรรม “Sukhothai Life’s Crafts”
10 วนั พอขุนรามคำแหงมหาราช วนั ที่19 มกราคม 2563 1 1
11 กิจกรรมวันครูประจำป 2563 ณ โรงเรียนบานดาน 1 1
ลานหอยวทิ ยา
12 กจิ กรรมวันเด็กแหงชาติ 11
13 กีฬากศน.เกมส กลุม หาขุนศกึ 11
14 การแขงขันกีฬา "กศน.2563 สังคโลกเกมส จังหวัด 1 1
สุโขทัย
15 จัดกิจกรรมโครงการจิตอาสา "เราทำความดีเพื่อชาติ 1 1
ศาสน กษัตรยิ "

26

ที่ จำนวนงาน คา เปา หมาย ผลการดำเนินงาน
16 กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษา กศน. ภาคเรียนที่ 2 ป 1 1
การศึกษา 2562
17 พิธีบำเพ็ญกุศลและพิธีนอมรำลึกเนื่องในวันคลายวัน 1 1
สวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ณ
บรเิ วณหนาที่วา การอำเภอบา นดานลานหอย
18 จัดตกแตงขบวนแห ประเพณีออกพรรษาแหชูชก 1 1
ประจำป 2562 ณ บรเิ วณท่ีวา การอำเภอบา นดาน
ลานหอย
19 บันทึกภาพ องคมนตรีพรอมคณะ มอบสิ่งของ 1 1
พระราชทานใหกับประชาชนในพื้นที่อำเภอบานดาน
ลานหอย
ผลการดำเนินงาน กศน.ตำบลตลิ่งชัน ไดปฏิบัติตามนโยบายเรงดวน โครงการสำคัญ
ประจำปตาง ๆ และงานอื่น ๆ ที่ไดรับมอบหมาย จำนวน 19 กิจกรรม ซึ่งไดปฏิบัติงานไดตามรับรับ
มอบหมายงาน 10 งานขึน้ ไป และมผี ลสำเร็จตามคาเปา หมายทีต่ ้ังไว
ขอมูลเมเติมไดท ่ี
เฟสบุค https://www.facebook.com/profile.php?id=100004271354351
เพจ กศน.ตำบลตลงิ่ ชัน อำเภอบา นดา นลานหอย จังหวัดสโุ ขทัย
ยูทูป https://www.youtube.com/channel/UCKNeWCQZHrJC-ifNyssnvgw?view_as=subscriber

27

ตัวชวี้ ดั ที่ 13 : ระดบั ความสำเร็จในการจดั ทาผลการปฏิบตั ิงานทดี่ ี (Best Practice)
ระดบั ความสำเรจ็ ของการดำเนินงานดานใดดา นหน่งึ ท่มี ผี ลการปฏิบตั งิ านทดี่ ีสูงกวาเกณฑ

มาตรฐานสามารถเปนแบบอยาง
1. ช่อื ผลงาน งานการศึกษาตอ เน่ือง เร่ืองการเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. หนวยงาน/สถานศึกษา กศน.ตำบลตล่ิงชนั อำเภอบานดา นลานหอย จงั หวดั สโุ ขทัย
3. คณะทำงานพฒั นาแนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ี นายสมชาย นาโตนด
4. ความสอดคลอง

สอดคลอ งกบั นโยบายและจดุ เนน การดำเนนิ งาน สำนกั งาน กศน. ปง บประมาณ 2563 นโยบาย
1.3 การศึกษาตอเนื่อง 1) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือมีงานทำอยางย่ังยนื 4) การจดั กิจกรรมการเรียนรูตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งผา นกระบวนการเรียนรตู ลอดชีวิต
5. ท่ีมาและความสำคัญของผลงาน

สภาพสงั คมปจ จุบนั มนุษยเ ราไดร บั ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงในดา นตาง ๆ เชน ดานเศรษฐกิจ
การเมือง สังคมและสิ่งแวดลอมเปนอยางมาก ประชากรมนุษยเพิ่มขึ้นเร่ือย ๆ แตทรัพยากรธรรมชาติถูกใชไป
อยางรวดเร็ว และไมเพียงพอกับจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นทุกมุมโลก มนุษยจึงประสบปญหาตาง ๆตามมา
มากมาย โดยเฉพาะดานการดำรงชีวิต และชีวิตความเปนอยูของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพ
เพื่อเปนการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแลว ยังมีสิ่งที่ถือวาเปนภาระหนัก คืออาหารเพื่อบริโภคประจำวันจึง
จำเปนอยางยิ่งท่ีมนษุ ยเราจะตอ งสรา งขึ้นหรือมาทดแทนโดยวิธกี ารตาง ๆ เพอื่ การอยูรอด
การพฒั นาหลักสตู รอาชีพ จดั ทำขนึ้ โดยทำการศกึ ษา สำรวจ และวางแนวทางการพัฒนาดา นโครงสรางพื้นฐาน
การพฒั นาเกษตรกร และการพฒั นาดานการจัดการแบบบรู ณาการโดยใชหลักกระบวนการ “ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียง” มาจัดกระบวนการเรียนรู ใหเกิดความเขมแข็ง และยั่งยืนในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม จึงได
จดั ทำหลักสตู รการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผักโดยวิธีเกษตรอนิ ทรยี  โดยมีจุดมงุ หมายหลกั เพื่อใหท องถิ่นและ
หนว ยงานในทอ งถิ่นมีสวนรว มในการพฒั นาอาชีพเกษตรกรรม เปนการสรา งรายได ลดรายจา ยในครัวเรือนและ
การขยายโอกาสในการเขาถึงแหลงทุนตาง ๆ ควบคูกับการฟนฟู และอนุรักษธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไป
พรอมกับการพัฒนาดานคุณธรรม จริยธรรม และมุงเนนใหเกษตรกรเกิดการรวมกลุม และสรางเครือขาย
ระหวา งกลุม องคก รตา ง ๆ ในชมุ ชน
6. วตั ถุประสงค

1. กลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทักษะเกี่ยวกับการ
ประกอบอาชพี การบริหารจัดการในอาชพี

2. กลุม เปา หมายตดั สนิ ใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศกั ยภาพตนเอง ชมุ ชน และสังคม
3. กลมุ เปาหมายสามารถประกอบอาชพี และสรา งรายไดทีม่ นั่ คงใหกับตนเอง
4. กลุม เปา หมายมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ สำนึก ความรับผิดชอบตอ ตนเอง ผูอื่น และสงั คม
7. วิธดี ำเนนิ การ
1. สถานศึกษาจะตองจัดทำโครงการฝกอบรมประชาชนพรอมหลักสูตรบรรจุในแผนปฏิบัติการ
ประจำปของสถานศกึ ษา เสนอขอความเหน็ ชอบตอ สำนกั งาน กศน.จังหวัด/กทม. (กรณมี กี ารเปล่ียนแปลง
ไปจากที่ไดรับความเห็นชอบไวเดิม ใหขออนุมัติและขอความเห็นชอบเปนกรณีไป) ยกเวนสถานศึกษาขึ้นตรง
ใหดำเนินการตามทไี่ ดร ับมอบอำนาจ

28

2. การอนุมัติโครงการและหลักสูตรการฝกอบรม ใหผูอำนวยการสถานศกึ ษาอนุมัติภายในวงเงินตาม
ทีไ่ ดร ับมอบอำนาจ ถาเกนิ วงเงินของสถานศกึ ษาตอ งไดร ับความเห็นขอบและอนุมัติจากผูมีอำนาจ

3. ดำเนินการฝกอบรมประชาชนตามโครงการ/หลักสตู ร ท่ีไดร ับความเหน็ ชอบแลว
4. สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน เสนอสำนักงาน กศน.จงั หวดั /กทม. สำหรบั สถานศกึ ษาขึ้นตรง
ใหรายงานผลการดำเนนิ งานตอสำนักงาน กศน.เปนรายไตรมาส หรือตามทสี่ ำนกั งาน กศน.กำหนด
8. ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ
กลุมเปาหมายมีความรู ความเขาใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทักษะเกี่ยวกับการ
ประกอบอาชีพ การบริหารจัดการในอาชีพ ตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศักยภาพตนเอง ชุมชน
และสังคม สามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับตนเอง และมีคุณธรรม จริยธรรม และมี
จติ สำนกึ ความรบั ผดิ ชอบตอ ตนเอง ผอู ืน่ และสังคม
9. การประเมินผลและเครือ่ งมือการประเมินผล
1. ประเมินผลกอนการฝก อบรม

1.1 วัดความรู ความเขาใจ เกี่ยวกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และทักษะการ
ประกอบอาชพี

2. ประเมนิ ระหวางการฝกอบรม
2.1 ประเมนิ ผลจากชิ้นงาน และทักษะการปฏิบัติ
2.2 ประเมินจากการสังเกตพฤตกิ รรมของผเู ขา รับอบรมในการแสดงความคิดเห็น การ
ถามคำถาม การตอบคำถาม

3. ประเมนิ ผลหลงั การฝก อบรม
3.1 วัดความรูความเขา ใจ เกี่ยวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และทักษะการ
ประกอบอาชพี
3.2 ประเมินผลจากชน้ิ งาน และทักษะการปฏบิ ตั ิ

10. ผลการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนินงานตามวตั ถปุ ระสงค สามารถสรุปผลไดดงั นี้
1. กลมุ เปาหมายมีความรู ความเขาใจ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และทกั ษะเกย่ี วกบั

การประกอบอาชีพ การบรหิ ารจัดการในอาชพี ผลการดำเนินงานพบวา กลุม เปา หมายมีความรู ความ
เขา ใจ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เกี่ยวกบั ความสำคัญในการประกอบอาชีพการปลูกพชื ผกั เกษตร
อินทรียธรรมชาติ การทำปุย ชวี ภาพ การวิเคราะหความเปนไปไดในการประกอบอาชีพการปลกู พชื ผกั
เกษตรอนิ ทรียธ รรมชาติการลงทุนและแหลงทุน ความตองการของตลาด หลกั การตลาด กรรมวธิ ี การขนสง
แหลงเรียนรู ทิศทางการประกอบอาชีพการปลูกพืชผักเกษตรอินทรยี ธ รรมชาติ ความเส่ียงจากภัยธรรมชาติ
ความคุมคา ในการลงทุน ความตองการดา นการตลาด ขั้นการเตรียมการประกอบอาชีพการปลกู พชื ผกั
เกษตรอินทรยี ธรรมชาติ สถานท/่ี พนื้ ท่ี การคัดเลือกสายพันธุ การเตรยี มพืน้ ทีส่ ำหรบั เพาะปลกู พืชผักเกษตร
อินทรยี ธ รรมชาติ ขัน้ ฝกทักษะการประกอบอาชีพการปลูกพืชผักเกษตรอนิ ทรยี ธรรมชาติ การเพาะปลกู
การดแู ลบำรุงรักษา/การใสปุย การเก็บเกยี่ วผลผลติ การบรรจุภณั ฑ ขั้นการดแู ลรกั ษาเพ่ือบรโิ ภคหรือ
การจำหนา ย

29

2. กลุมเปาหมายตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศักยภาพตนเอง ชุมชน และสังคม ผลการ
ดำเนินงานพบวา กลุมเปาหมายการบริหารจัดการในการประกอบอาชีพการปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย
ธรรมชาติ และการทำปุยชีวภาพ การดูแลรักษา การควบคุมคุณภาพพืชผัก การลดตนทุนในการผลิตพืชผัก
การจัดการการตลาด การทำฐานขอมูลลูกคาที่ใชบริการ/คูแขง การโฆษณาประชาสัมพันธ การสงเสริมการ
ขายและการบริการ การจัดการความเสี่ยง การวิเคราะหศักยภาพใน คาใชจาย ผลกำไรคูแขง วิธีการลด
ตนทุน การแกปญหาความเสี่ยงในการประกอบอาชีพการปลูกพืชผักเกษตรอินทรียธรรมชาติ ซึ่งทำให
กลุมเปาหมายสามารถตัดสินใจประกอบอาชีพใหสอดคลองกับศักยภาพตนเอง ชุมชนและสังคม ไดอยางมี
ความสขุ

3. กลุมเปาหมายสามารถประกอบอาชีพและสรางรายไดที่มั่นคงใหกับตนเอง ผลการดำเนินงาน
พบวา กลมุ เปาหมายสามารถสรางรายไดจากการปลูกพชื ผักเกษตรอินทรยี โ ดยการนำผักไปขายในชุมชน และ
การขายทางเฟสบคุ จึงทำใหกลุม เปาหมายมรี ายไดเ พ่ิมมากขึ้น

4. กลมุ เปา หมายมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตสำนกึ ความรับผิดชอบตอ ตนเอง ผูอ ่ืน และสงั คม
ผลการดำเนินงานพบวา กลุมเปาหมายคุณธรรม จริยธรรม และมีจิตสำนึก ความรับผิดชอบตอตนเอง ผูอ่ืน
และสังคม โดยการเคารพกฎ กติกา ตามที่สมาชิกกลุมไดตั้งกันไว มีการรวมกลุมกันซึ่งเรียกกลุม นีว้ า กลุม
เศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด มีสมาชิก จำนวน 30 ครอบครัว มีคณะกรรมการบริหารกลุมอยางชัดเจน
และปจจุบันอยูใ นชว งดำเนนิ การขอมาตรฐานเกษตรอินทรยี 
11. บทสรุป

กลุม เศรษฐกิจพอเพยี งบา นวงั หาด เปน กลมุ ทผ่ี านกระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน สามารถยืน
หยดั อยูไดอยา งมนั่ คง และมกี ารบรหิ ารจัดการความเส่ียงอยา งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสูความ
สมดุลและยั่งยืน และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพึ่งพา
ตนเองได มีความรูความสามารถในการบริหารจดั การชีวิตของตนเองใหอ ยูใ นสังคมไดอ ยางมีความสุข สามารถ
เผชิญสถานการณต าง ๆ ท่ีเกดิ ขนึ้ ในชวี ติ ประจำวันไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ และเตรยี มพรอ มสำหรับการปรับตัว
ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต บริบทของกลุมเศรษฐกิจ
พอเพียงบานวังหาด ที่ตองการใหชุมชนมีสวนรวมและไดประโยชนจากการทำเกษตรจึงควรตองมีการแตงตั้ง
คณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวงั หาด เพื่อใหมีการทำงานรวมกันแบบบรู ณาการทัง้ ภาครฐั
ภาคเอกชน และใหสอดคลองกับความรู ความสามารถของคณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบาน
วังหาด ซึ่งกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาดมีการดำเนินงานไดอยางตอเนื่อง มีความรัก สามัคคีกัน ส่ิง
เหลานจี้ ะนำไปสูช มุ ชนเขมแข็ง สามารถพึง่ ตนเองไดอยา งยง่ั ยนื
12. กลยุทธหรือปจ จัยท่ีทำใหประสบผลสำเรจ็

การดำเนินงานของกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด มีการดำเนินงานที่เปนขั้นตอน เริ่มจากการ
สำรวจสอบถาม การประชมุ ปรึกษาหาแนวทางการดำเนินงานจดั ตงั้ กลุม การสรรหาคณะกรรมการกลุม การ
แตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด การลงมือปฏิบัติจริง การประสานขอ
งบประมาณจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน การรว มคดิ รว มทำ รว มแกป ญ หา ลว นแลว เปน ความรวมมือรวม
ใจของสมาชิกกลุม มีความศรัทธาซึ่งกันและกัน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนกลยุทธหรือปจจัยที่ทำใหกิจกรรมดังกลาว
สำเร็จลลุ วงตามจุดหมายท่ีวางไว

30

13. ขอ เสนอแนะ
จากผลการดำเนินงานมีขอเสนอแนะสำหรับผูที่จะนำไปจัดกิจกรรมตาง ๆ และขอเสนอแนะสำหรับ

การจัดกิจกรรมครั้งตอ ไป ดงั น้ี
1. เนอื่ งดวยหลักสตู รฝก อบรมการเรยี นรตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ฉบับนี้สรา ข้นึ

บนพ้ืนฐานของปญหาและความตองการการบริหารจัดการกลมุ เศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด ดังนั้นจงึ มกี ารวาง
โครงสรางหลักสูตรเพื่อตอบสนองความตองการเฉพาะดานของคนบานวังหาด มีการบรรจุเนื้อหาองคความรู
เฉพาะของบานวังหาดในมิตติ าง ๆ รวมถึงการการเรยี นรตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในภาคปฏิบัติ
ท่ีสามารถปฏิบัติไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพจริง

2. เนื่องจากการจัดการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การปลูกพืชผักเกษตรอินทรีย
การทำปุยชีวภาพ ชีวภัณฑ ตองมีการบริหารจัดการดานงบประมาณ ดานทรัพยากรน้ำ จึงมีความจำเปนที่
หนวยงานภาครัฐ เอกชน หรือผูท่ีเกี่ยวของ ผูเชี่ยวชาญ สงเสริม สนับสนุน กลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวัง
หาด ใหมีงบประมาณบริหารจัดการกลุม การวางระบบน้ำดวยพลังงานแสงอาทิตย การตลาด การแปรรูป
ผลผลติ ตาง รวมท้ังเคร่ืองมือ วสั ดุ อุปกรณ ท่เี ปนความตอ งการของกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบา นวังหาด เพ่ือ
พัฒนาเปนแหลงทอ งเที่ยวเชิงเกษตร

3. ควรคัดเลือกวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดานมาเปนผูถายทอดความรู เพื่อประสิทธิภาพ
สงู สุดในการจัดอบรม

4. หลังจากจัดฝกอบรมแลวควรมีการติดตามพฤติกรรมผูเขารวมกิจกรรมเปนระยะ เชน 1 เดือน 3
เดือน 6 เดอื น เพอื่ ดูความคงทนของความรู และความกา วหนา ในการปฏิบัติงาน
14. การอา งองิ

หลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทำ (ชุดท่ี 1) สำนกั งานสง เสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย

คำส่งั ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบา นดา นลานหอย
ท่ี ๑๕๖/๒๕๖๒ เรอื่ ง แตง ตงั้ คณะกรรมการบริหารกลุม เศรษฐกจิ พอเพยี งบา นวงั หาด

31

การประชุมเชิงปฏบิ ัติการทำชวี ภณั ฑ

32

การทำปยุ ชวี ภาพ

33

การเตรียมพนื้ ท่ีปลูกผัก

34

บทที่ 3
สรุปผล ขอเสนอแนะ

สรปุ ผล

ผลการดำเนนิ งานตวั ชวี้ ัดที่ 1 พบวา รายการฐานขอ มลู ทบ่ี ันทึกในระบบฐานขอ มลู เพื่อการ

บรหิ ารจัดการ (DMIS) กศน.ตำบลตล่งิ ชันมีขอ มลู ครบถว นทั้ง 12 รายการ
ผลการดำเนนิ งานตัวช้วี ดั ท่ี 2 พบวา การดำเนนิ งานในการจัดทำแผนปฏิบัตกิ าร กศน.ตำบล

สอดคลอ งกับแผนปฏิบัตริ าชการของหนว ยงาน พิจารณาจากความถูกตอ งครบถว นของขอมูลท่ีบรรลุผลตามคา
เปาหมายที่กำหนดไว และจัดทำแผนในระบบ DMIS มีการประเมิน สรุป และรายงานผล และจัดทำแผนใน
ระบบ DMIS และแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลตลิ่งชัน งบประมาณป 2563 โดยการทำคำรับรองปฏิบัติ
ราชการกับ ผูอำนวยการ กศน.อำเภอบานดานลานหอย และมีการรายงานผลในระบบ DMIS ครบถวนทุก
กจิ กรรม
ผลการดำเนินงานตัวช้ีวดั ท่ี 3 พบวา นักศกึ ษาไมน อ ยกวารอ ยละ 80 ของนกั ศึกษาทั้งหมดที่

รับผิดชอบในภาคเรียนนั้น เขาสอบปลายภาคเรียน มากกวาหนึ่งรายวิชาขึ้นไป (กรณีที่นักศึกษาลงทะเบียน
เรยี นในภาคเรยี นนั้นเพียงหน่งึ รายวิชา และเขา สอบปลายภาคเรยี นรายวิชานน้ั ใหนับเปน 1)
ที่ ระดับ จำนวนนักศึกษา (คน) รอยละ
นักศึกษาทง้ั หมด เขาสอบ ขาดสอบ
1 ประถมศกึ ษา - - --
2 มธั ยมศึกษาตอนตน 15 12 3 80
3 มัธยมศึกษาตอนปลาย 27 23 4 85
รวม 42 35 7 83
นักศกึ ษารอยละ 75 ของนกั ศกึ ษาที่คาดดวาจะจบทีร่ บั ผิดชอบในภาคเรยี นนนั้ เขาทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติ (N-NET) และ E-Exam มีนักศึกษาที่ผา นการเขาทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-
NET) และ E-Exam รอยละ 86
ที่ ระดับ จำนวนนักศกึ ษา (คน) รอ ยละ
เขา ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (N-NET) และ E-Exam
นกั ศกึ ษาทัง้ หมด เขา ทดสอบ ไมเขาทดสอบ
1 ประถมศึกษา -- -
2 มัธยมศึกษาตอนตน 2 2 0 100
3 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 5 4 1 80
รวม 7 6 1 86
การดำเนนิ งานการศึกษาขั้นพื้นฐานในการจดั กิจกรรม/ โครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำป
ของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ครู กศน. ตำบล/ รับผดิ ชอบ มีการบันทึกขอมูลผลการดำเนนิ งานและงบประมาณ
ในการดำเนินงานโครงการ/ กิจกรรมตามคำรับรองการปฏิบัติราชการผานระบบฐานขอมูลเพอ่ื การบรหิ าร
จดั การ (DMIS) ดานการศึกษาพืน้ ฐาน ซ่งึ มีทั้งหมด 19 รายการ มีเกณฑก ารใหค ะแนนรอบการประเมินที่ 1

35

ถาจะไดค ะแนนระดับ 5 จะตอ งมีรายการ 10 รายการขึ้นไป ผลการดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลมีผลการ
ดำเนนิ งาน จำนวน 11 รายการซ่งึ ไดตามเกณฑค ะแนนที่ตัง้ ไว
ผลการดำเนินงานตัวช้วี ัดท่ี 4 พบวา การจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐานเทยี บกบั ผูท ่ีข้นึ ทะเบยี น

และลงทะเบียนโดยนับจากภาคเรียนปจจุบัน ยอนหลังไป 4 ภาคเรียน ไดแกนักศึกษาที่เขาเรียนภาคเรียนที่ 1
ปการศึกษา 2561 มีจำนวน 9 คน เมื่อนับรหัสนักศึกษาที่ลงทะเบียน 4 ภาคเรียน มีจำนวน 5 คน และ
จบตามเกณฑหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2561 มีจำนวน 1 คน คิดเปน
รอย 20 ของผูจบหลกั สูตร
ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 5 พบวา จำนวนนักศึกษาที่เขาสอบปลายภาคเรียนเฉพาะ

รายวิชาบงั คบั ในภาคเรยี นปจจบุ นั เทียบกบั จำนวนนักศึกษาทีล่ งทะเบียนเฉพาะรายวชิ าบังคับ รอ ยละ
ของนักศึกษาที่เขาสอบปลายภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 ของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเฉพาะ
รายวชิ าบงั คบั คิดเปน รอ ยละ 85
ผลการดำเนินงานตัวช้ีวัดที่ 6 พบวา ผูเ รยี นการศึกษาขั้นพืน้ ฐานรายวชิ าบังคบั ทุกระดับ

เฉพาะภาคเรียนในรอบการประเมินมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ระดับมัธยมศึกษาตอนตน มี
จำนวน 10 คน มีนักศึกษาเขาสอบ จำนวน 12 คน คิดเปนรอยละ 83 ของนักศึกษาเขาสอบและมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายทีม่ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเฉลี่ย 2.00
ข้นึ ไป จำนวน 15 คน มีนักศึกษาเขา สอบ จำนวน 23 คน คดิ เปน รอยละ 65 ของนักศึกษาเขาสอบและ
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลีย่ 2.00 ขึ้นไป นักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน และระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย มีผูเขาสอบ จำนวน 35 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ย 2.00 ขึ้นไป จำนวน 25 คน ดังนั้น
ผูเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานรายวิชาบังคับทุกระดับเฉพาะภาคเรียนในรอบการประเมินมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนเฉลย่ี 2.00 ข้นึ ไป คิดเปนรอ ยละ 71
ผลการดำเนินงานตัวชว้ี ดั ท่ี 7 พบวา จำนวนผูเขารว มกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาอาชพี

การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีผลการดำเนินงานบรรลุตามเปาหมาย/ มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตาม
แผนปฏบิ ตั ิการประจำปของหนวยงาน/สถานศกึ ษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รับผดิ ชอบ
ผลการดำเนนิ งาน
ลำดบั ท่ี กิจกรรม คา เปา หมาย ผลการดำเนนิ งาน
ตามแผน (คน) (คน)
1 การศึกษาเพือ่ พฒั นาอาชีพ 35 51
2 การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ติ 22 24
3 การศึกษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชุมชน 15 20
4 การจัดกระบวนการเรียนรตู ามหลักปรชั ญา 9 20
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
รวม 81 115
จำนวนผเู ขา รว มกจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน การจัดกระบวนการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคา
เปาหมายที่กำหนดไวรวมทั้งหมด จำนวน 81 คน กศน.ตำบล มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตาม

36

แผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู กศน. ตำบล/ รับผิดชอบ จำนวนเปาหมาที่เขารวม
กิจกรรมท้งั สิ้น 115 คน

ผลการดำเนินงานตวั ชว้ี ัดท่ี 8 พบวา จำนวนผจู บหลักสูตร/กจิ กรรมในการจดั การศกึ ษาเพื่อ
พฒั นาอาชพี การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวติ การศึกษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน การจัดกระบวนการเรียนรู
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่นาความรูไปใช มีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการ
ประจำป ครู กศน. ตำบล ที่รับผดิ ชอบ มผี จู บหลกั สูตร จำนวน 115 คน และสามารถนำความรูไปใชในการ
ดำเนนิ ชีวิตรอ ยละ 90 ขน้ึ ไป

ผลการดำเนินงานตวั ชี้วดั ท่ี 9 พบวา จำนวนผูรบั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั เมือ่ เทยี บ
กับเปาหมายการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน/สถานศึกษาที่ ครู
กศน. ตำบล กำหนดไว 150 คน ซึ่งมีผลการดำเนินงานเกินกวาเปาหมายตามแผนปฏิบัติการประจำป ครู
กศน. ตำบล ที่รบั ผิดชอบ มีเปา หมาย จำนวน 200 คน

ผลการดำเนินงานตัวชว้ี ดั ที่ 10 พบวา จำนวนกิจกรรมในแหลง เรยี นรู บา นหนงั สือชมุ ชนที
ดำเนินการเพือ่ สง เสรมิ การเรียนรูทีส่ มั พันธกับแหลงเรียนรูแกประชาชน เมื่อเทียบกับเปา หมายการดำเนินงาน
ตามแผนปฏิบัติการประจำปของหนวยงาน ที่ครู กศน. ตำบล/รับผิดชอบ โดยใหสำนักงาน กศน. จังหวัด
รวมกับ กศน.อำเภอ เปนผูกำหนดคาเปาหมายตามแผน ใหครู กศน. ตำบลแตละคน กศน.ตำบลตลิ่งชัน มี
ผลการดำเนนิ งานมากกวา 4 กิจกรรม

ผลการดำเนนิ งานตวั ชีว้ ัดที่ 11 พบวา ผลการดำเนินงานจากการรวมประชมุ การรว มคิด
รวมวางแผน รวมดำเนินการ รวมนิเทศติดตามผลสงเสริม/สนับสนุนการจัดการศึกษาของภาคีเครือขาย และ
สนับสนุนทรัพยากรใหกับภาคีเครือขาย ไดศึกษาเรียนรูประวัติศาสตรชุมชน วิถีชีวิตชุมชน การอนุรักษ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งทำใหคนในชุมชนสามารถรวมกลุมกันจัดกิจกรรมตาง ๆ ไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ สามารถพง่ึ ตนเองให สง ผลใหคณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชนดีขึ้น

ผลการดำเนนิ งานตัวช้วี ัดที่ 12 พบวา ผลการดำเนนิ งาน กศน.ตำบลตล่งิ ชนั ไดป ฏิบัติ
ตามนโยบายเรงดว น โครงการสำคญั ประจำปต าง ๆ และงานอน่ื ๆ ท่ีไดร บั มอบหมาย จำนวน 19
กจิ กรรม ซ่งึ ไดปฏิบตั ิงานไดต ามรบั รบั มอบหมายงาน 10 งานขึ้นไป และมีผลสำเร็จตามคาเปาหมายทต่ี ้งั ไว

ผลการดำเนินงานตวั ช้วี ัดท่ี 13 พบวา ระดบั ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานดานใดดา นหน่งึ
ทมี่ ผี ลการปฏบิ ตั ิงานที่ดีสงู กวาเกณฑม าตรฐานสามารถเปนแบบอยา ง ไดแก ผลงานการศกึ ษาตอเนื่อง เร่ือง
การเรยี นรตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การปลกู พืชผกั เกษตรอินทรีย ซึ่งสอดคลอ งกบั นโยบายและ
จุดเนนการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ปง บประมาณ 2563 นโยบาย 1.3 การศกึ ษาตอเน่ือง 1) จดั การศึกษา
อาชีพเพื่อมีงานทำอยางยั่งยืน 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผาน
กระบวนการเรียนรตู ลอดชวี ิต

กลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด เปนกลุมที่ผานกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิต ใหกับประชาชน เพื่อเสริมสรางภูมิคุมกัน
สามารถยืนหยัดอยูไดอยางมั่นคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทิศทางการพัฒนา
ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดำรงชีวิตตลอดจนสามารถ
ประกอบอาชีพพง่ึ พาตนเองได มีความรคู วามสามารถในการบริหารจัดการชวี ติ ของตนเองใหอยูในสงั คมไดอยาง
มคี วามสขุ สามารถเผชิญสถานการณตา ง ๆ ทีเ่ กดิ ขึ้นในชวี ติ ประจำวันไดอยางมีประสทิ ธิภาพ และเตรียมพรอม

37

สำหรับการปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต บริบทของ
กลุม เศรษฐกิจพอเพียงบา นวังหาด ท่ีตอ งการใหชุมชนมสี ว นรว มและไดป ระโยชนจ ากการทำเกษตรจึงควรตอง
มีการแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด เพื่อใหมีการทำงานรวมกันแบบบูรณา
การทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และใหสอดคลองกับความรู ความสามารถของคณะกรรมการบริหารกลุม
เศรษฐกิจพอเพียงบา นวงั หาด ซึ่งกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาดมีการดำเนนิ งานไดอยางตอเนือ่ ง มีความ
รกั สามคั คีกัน ส่ิงเหลา น้จี ะนำไปสชู มุ ชนเขมแข็ง สามารถพึง่ ตนเองไดอ ยางยง่ั ยืน

การดำเนินงานของกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด มีการดำเนินงานที่เปนขั้นตอน เริ่ม
จากการสำรวจสอบถาม การประชุมปรึกษาหาแนวทางการดำเนินงานจัดตั้งกลุม การสรรหาคณะกรรมการ
กลุม การแตงตั้งคณะกรรมการบริหารกลุมเศรษฐกิจพอเพียงบานวังหาด การลงมือปฏิบัติจริง การประสาน
ของบประมาณจากหนวยงานภาครัฐ เอกชน การรวมคิด รวมทำ รวมแกปญหา ลวนแลวเปนความรวมมอื
รวมใจของสมาชิกกลุม มีความศรัทธาซึ่งกันและกัน ซึ่งสิ่งเหลานี้เปนกลยุทธหรือปจจัยที่ทำใหกิจกรรม
ดงั กลา วสำเร็จลลุ ว งตามจุดหมายทีว่ างไว
ขอเสนอแนะ

“คน กศน. อยูในทุกชมุ ชน ชมุ ชน มี องคความรู ความรู เปน สง่ิ ล้ำคา เสริมความลำ้ คา โดย
การเผยแพรและแบงปน เผยแพรแ ละแบงปน คอื งานสรางสรรของ กศน.”

จากการปฏิบัติงานของผูรับการประเมินรอบที่ 1 ระหวางวันที่ 1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่
31 มีนาคม 2563 ผูรับการประเมินจึงยกบทความของอาจารย์สุวฒั น์ ธรรมสุนทร มาเปนขอเสนอแนะ
เก่ียวกบั จัดกิจกรรมของ กศน. คอื การนำเทคโนโลยที ี่เรียกวา TKP : Thailand Knowledge Portal คือศูนย
รวมชองทางขอมูล หลักสูตร และแหลงเรียนรูอ อนไลน โครงสรางของ TKP ออกแบบมาเพื่อรองรับ/สนบั สนนุ
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และ การศึกษาตามอัธยาศัย การจัดการเรียนการสอน
หองเรียนออนไลนดวย G Suite for Education เปนชุดเครื่องมือในการบริหารจัดการชั้นเรียนออนไลนที่มี
ประสิทธิภาพสูงแลว G Suite for Education ยังสามารถนำมาสรางสรรเครือขายการเรียนรูเครือขายแหลง
เรียนรูจากทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทย (นำเรื่องราว นำสาระเนื้อหาที่หลากหลาย มีคุณคาตอการเรียนรู) โดย
คนของ กศน. ทีอ่ ยูในทุกพ้ืนท่ี ทกุ ตำบลใหมคี วามรู สงเสรมิ ศกั ยภาพใหเปนนักถา ยทอดผสู รา งสรรเสนเร่ืองราว
จากพื้นที่นำไปสูการสรางสรรแหลงเรียนรู และแหลงขอมูลคุณภาพ บนโลกออนไลนของประเทศไทยไดอยาง
รวดเร็วจึงดำเนินการออกแบบกระบวนการและระบบดวย Application ตาง ๆ ของ G Suite for Education
โดยกำหนดกระบวนการไว 2 ขัน้ ตอน

(1) นำความรู ขอ มูลหรือหลกั สูตรจากพน้ื ทหี่ รือชุมชนมาสรางเปน เว็บกระจายยอยไปทุก
หนว ยงาน สถานศกึ ษา (กศน.ตำบล) พัฒนาเปน เครือขา ยการเรยี นรชู ุมชน ( Knowledge Network Sites)

(2) นำลงิ คค วามรูจาก Sites ไปรวม (จัด)กลุม ในระบบชองทางแหลง ขอ มูลเรยี นรู TKP
(Thailand Knowledge Portal) หรือศูนยความรูประชาชนประจำจังหวัด เพื่อใชเปนชองทางในการเผยแพร
และเขาถงึ ภายใตเงื่อนไข ดังนี้

1. พัฒนาคน ใหส ามารถสรา ง Content บนมาตรฐานเดียวกัน
2. สง เสริม สนับสนนุ ใหพ ฒั นาองคความรอู ยางตอเนื่อง
3. แบง ปน (Share) องคความรู
4. เผยแพร องคความรู / จดั การเรียนรู
5. รวบรวม และบริหารจดั การองคความรู

38
หลงั จาก TKP มีความเขม แข็ง นำไปสกู ารพฒั นาคลังส่อื คลงั ขอ มลู การเรียนรทู ่มี คี วามถูกตอ ง
อนาคตในอีกไมนานโลกของสื่อขอมูลที่มีความนาเชื่อถือจะเกิดขึ้น และสิ่งนี้จะเปนอีกมิติใหมของแหลงขอมูล
เพ่อื การเรียนรู ทีม่ ีคุณคาตอ สงั คมการเรียนรูตลอดชวี ิตทส่ี รา งสรรค

39

40

ภาคผนวก

41

42

43

44

45


Click to View FlipBook Version