The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by เหนื่อย เว้ย, 2019-12-23 19:51:01

ศาสนาเชน

ศาสนาเชน

ศาสนาเชน

ประวตั ศิ าสนา

ศาสนาเชน, ไชนะ หรือ ชนิ ะ (แปลว่า ผชู้ นะ) เป็ นศาสนาเกา่ แก่ของ
อนิ เดีย เป็ นหน่ึงในลทั ธสิ าคญั ท้งั หก ที่เกิดร่วมสมยั กบั พระโคตม
พุทธเจา้ คาว่า เชน หรือ ไชนะ มาจากภาษาสนั สกฤต "ไชนะ" อนั
แปลว่าผชู้ นะ และสามารถลยุ ขา้ มสายนา้ แหง่ การเวยี นวา่ ยตายเกิด
ได้ ศาสนาเชนเช่อื ว่าเป็ นศาสนาที่เป็นนิรนั ดร์ มีประวตั ิศาสตรม์ า
ยาวนานต้งั แต่สมยั ตีรถงั กรท้งั 24 องคท์ ่ีผ่านมา ซึ่งมี "พระอาทินาถ"
เป็ นองคแ์ รกในวงจรจกั รวาลน้ ี (อวสานปิ ณี) เมือ่ ราวหลายลา้ นลา้ น
ลา้ นปี มาแลว้ ตีรถงั กรองคท์ ่ี 23 คอื "พระปารศวนาถ" มีชวี ิตอยรู่ าว
800 ปี กอ่ นคริสตกาล และตีรถงั กรองคส์ ุดทา้ ยและองคป์ ัจจุบนั ใน
จกั รวาลน้ ีพระมหาวรี ะเป็ นองคท์ ่ี 24 มชี วี ติ อยรู่ าว 500 ปี กอ่ น
คริสตกาล

ประวตั ิศาสดา
ศาสนาเชนเชอ่ื ว่ามีศาสดา เรียกวา่ "ตีรถงั กร" อย่ดู ว้ ยกนั 24 องคต์ ี
รถงั กรองคป์ ัจจุบนั และองคส์ ุดทา้ ย คือ พระมหาวีระ เดิมมพี ระนาม
เดิมวา่ "วรรธมาน" แปลวา่ ผเู้ จริญมกี าเนิดในสกุลกษัตริย์ เกิดใน
เมืองเมืองเวสาลี พระบดิ านามว่า สิทธารถะแหง่ กุนทครามะ พระ
มารดานามว่า ตฤศลา เมือ่ เจริญวยั ไดร้ บั การศึกษาศิลปศาสตรห์ ลาย
อยา่ งโดยควรแกฐ่ านะแหง่ วรรณะกษตั ริย์ เผอิญวนั หนึ่งขณะเล่นอยู่
กบั สหาย ไดม้ ชี า้ งตกมนั ตวั หน่ึงหลุดออกจากโรงวิง่ มาอาละวาด ทา
ใหฝ้ ูงชนแตกต่ืนตกใจ ไมม่ ีใครจะกลา้ เขา้ ใกลแ้ ละจดั การชา้ งตกมนั
ตวั น้ ีใหส้ งบได้ แต่เจา้ ชายวรรธมานไดต้ รงเขา้ ไปหาชา้ งและจบั ชา้ งพา
กลบั ไปยงั โรงชา้ งไดต้ ามเดิม เพราะเหตุท่ีแสดงความกลา้ หาญจบั ชา้ ง
ตกมนั ไดจ้ งึ มนี ามเกียรติยศวา่ "มหาวรี ะ" แปลว่า ผกู้ ลา้ หาญมาก ซ่ึง
เป็ นชอื่ ท่ีเรยี กขานกนั ต่อมาของศาสดาพระองคน์ ้ ีม่ือศาสดามหาวีระมี
พระชนมายุได้ 19 พรรษา พระบิดาทรงจดั ใหอ้ ภิเษกสมรสกบั เจา้
หญิงยโสธรา[a] ในซึ่งเวลาต่อมาไดพ้ ระธิดาองคห์ นึ่งนามวา่ อโนชา
หรือ เจา้ หญงิ ปริยทรรศนา จนพระชนมายุได้ 28 พรรษา ไดม้ ีความ
เศรา้ โศกเสียพระทยั อย่างมากจากการส้ ินพระชนมข์ องพระบดิ าและ
พระมารดา ดว้ ยวิธีการอดอาหารตามขอ้ วตั รปฏิบตั รในศาสนา
พราหมณ์ ซึ่งศาสนาพราหมณถ์ ือวา่ เป็ นบญุ อย่างหนึ่ง

การสญู เสยี พระบดิ าและพระมารดาไดท้ าใหเ้ จา้ ชายทรงเศรา้ พระทยั
มาก ทรงสละพระชายาและพระธิดา เปลี่ยนผา้ คลุมพระกายเป็ นแบบ
นักพรต เสด็จออกจากพระนครและไดท้ รงประกาศมหาปฏิญญาใน
วนั น้ันว่า นับต้งั แต่วนั น้ ีเป็ นตน้ ไป 12 ปี ขอไมพ่ ดู กบั ใครแมค้ าเดียว
พระมหาวีระไดท้ รงบาเพ็ญตนเป็ นนักพรตถือการขอเป็ นอาชีพ ได้
เสด็จเทีย่ วไปตามคามนิคมต่าง ๆ โดยมไิ ดพ้ ดู อะไรกบั ใครเป็ นเวลา
12 ปี ไดบ้ รรลุความรูข้ น้ั สูงสุดเรียกวา่ "เกวลญาณ" ถือเป็ นผหู้ ลุดพน้
กิเลสท้งั ปวง เป็ นพระอรหนั ตแ์ ละเป็ นผชู้ นะโดยส้ ินเชิง
เม่อื พระมหาวีระไดท้ รงบรรลุเกวลญาณแลว้ จึงทรงพจิ ารณาเหน็ วา่ มี
ความจาเป็ นตอ้ งละปฏิญญาน้ันเสียกลบั มาส่ภู าวะเดิมคอื ตอ้ งพดู กบั
คนท้งั หลาย เพ่ือช่วยกนั ปฏริ ูปความคดิ และความประพฤติของคนใน
สงั คมเสียใหม่ แลว้ ไดเ้ ริม่ เที่ยวประกาศศาสนาใหม่ อนั มชี อื่ ว่า
ศาสนาเชน หรือ ไชนะ แปลวา่ ผชู้ นะ
ศาสดามหาวีระไดท้ รงใชเ้ วลาในการสงั่ สอนสาวกไปตามนิคมต่าง ๆ
เป็ นเวลา 30 ปี และไดท้ รงเขา้ สิทธศิลา (เปรียบไดก้ บั นิพพานของ
ศาสนาพทุ ธ) หรือมรณภาพ เมื่อมีพระชนมายุได้ 72 พรรษา ใน
ประมาณกอ่ นปี พทุ ธศกั ราชที่ 29 ท่ีเมืองปาวา หรือสาธารณรฐั มลั ละ
และเมอื งน้ ีไดเ้ ป็ นสถานท่ีแสวงบุญสาหรบั ศาสนิกเชนทุกคน

พระมหาวรี ะ

คมั ภีร์

คมั ภีรข์ องศาสนาเชน ชอ่ื วา่ “องั คะ” หรอื “อาคม” เป็ นจารึกคาบญั ญตั ิหรอื วินยั ท่ีเก่ียวกบั ความ
ประพฤติปฏบิ ตั ิของนักพรตหรือคฤหสั ถผ์ คู้ รองเรือน และชื่อวา่ “สทิ ธานตะ” โดยกลา่ วถึงเร่ืองราวชาดก
ในศาสนา แต่ภายหลงั นกั ปราชญท์ างศาสนาถือวา่ องั คะและสทิ ธานตะเป็ นคมั ภรี เ์ ดียวกนั

หลกั ธรรม

ศาสดามหาวีระทรงสอนวา่ “ความทุกขย์ ากท้งั ปวงในโลก
เน่ืองมาจากความปรารถนา เชน่ ปรารถนามากในอาหาร ปรารถนา
มากในทรพั ยส์ ินเงนิ ทอง และอยากไดเ้ กยี รติยศช่อื เสียงจนเกนิ พอดี”
ความปรารถนาน้ ีเองเป็ นตน้ เหตุของความทุกขย์ ากเหล่าน้ ี แต่เม่ือคน
ท้งั หลายละความปรารถนามากได้ เขาจะไดค้ วามสุขอนั ยง่ิ ใหญ่แหง่
วิญญาณ ความสุขที่วา่ น้ ีคือ โมกษะ ศาสดามหาวรี ะทรงสอนว่า ขอ้
ปฏิบตั ิอนั เป้นทางใหบ้ ุคคลเขา้ ถึงโมกษะ ไดแ้ ก่ ติรตั นะ อนั หมายถึง
แกว้ สามดวง

1.สมั ยคั ทรรศนะ : ความเห็นชอบ หมายถึง ความเห็นถูกและมี
ศรทั ธามนั่ คงศาสดาท้งั หลายของเชนสมยั อดีต แมเ้ ดิมท่านเหล่าน้ัน
เป็ นปถุ ุชน

2.สมั ยคั ชญาน : ความรูช้ อบ หมายถึง ความรหู้ ลกั ธรรมทีศ่ าสดา
ทรงสงั่ สอนไวแ้ ต่เดิม เช่น

2.1.ความรเ้ ร่ืองโลก คอื ใหร้ ูว้ า่ โลกอนั รวมท้งั นรก
สวรรค์ และโลกอน่ื ท้งั ส้ ินมอี ยู่ เป็ นอยเู่ อง ไม่มีผคู้ วบคุม และต้งั
เป็ นอย่นู ิรนั ดร

3.สมั ยคั จารีต : ความประพฤติชอบ หมายถึง ใหร้ หู้ ลกั ธรรม 2
ประการดงั น้ ี

3.1. อนุพรต คือ ธรรมสาหรบั ผคู้ รองเรือน 5 ประการ
-อหงิ สา การไมเ่ บยี ดเบยี นผอู้ ื่น สิ่งอนื่ สตั วอ์ ื่น
-สตั ยะ การไมพ่ ดู เท็จ
-อสั เตยะ การไมล่ กั ขโมย
-พรหมจริยะ ไมป่ ระพฤติผิดในกาม
-อปริคหะ การไมโ่ ลภมาก
3.2.มหาพรต คอื ธรรมสาหรบั นักพรต มี 5 ประการ
เหมอื นกบั อนุพรตของผคู้ รองเรือน แต่จะเนน้ ใหเ้ คร่งครดั ย่ิงข้ นึ
สาหรบั ขอ้ 1 คือ อหิงสา

พิธีกรรม

การบวชเป็ นบรรพชติ เป็ นการเปลย่ี นแปลงภาวะของคนธรรมดาสู่
ความเป็ นนักพรต ครองผา้ 3 ผืน ตอ้ งโกนผมดว้ ยวธิ ี ถอนผมตนเอง
ฉนั อาหารเท่าที่แสวงหามาไดก้ ารถืออตั ตกลิ มถานุโยค ศาสนาเชน
ถือวา่ การทรมานตนใหไ้ ดร้ บั การลาบากต่างๆ เชน่ การอดอาหาร
การไมพ่ ดู จากบั ใครจะสามารถทาใหบ้ รรลุโมกษะ
พธิ ีกรรมศกั ด์ิสิทธ์ิ งานสาคญั ทางศาสนาเชนไดแ้ ก่ งานพิธีกรรมรา
ลึกถึงองคศ์ าสดาในศาสนาเชนทุกองค์ โดยเฉพาะงานพกี รรมราลึก
ถึงพระมหาวรี ะ (ศาสดาองคส์ ุดทา้ ย)พระกฤษภะนาท (ศาสดาองค์
แรก) และพระภารสวนาท (ศาสดาองคก์ ่อนพระมหาวีระ) แต่งาน
พิธีกรรมท่ีสาคญั ที่สุดในศาสนาเชนไดแ้ กง่ าน พิธียุสะนะ หรือปัชชุสะ
นะ ซึ่งเป็ นงานพิธีกรรมกระทาใจใหม้ คี วามสงบ การอภยั และการ
เสียสละ อาศยั อยเู่ ฉพาะที่แห่งเดียว ในฤดูฝน ในวนั สุดทา้ ยของงาน
เชนศาสนิกชนจะบริจาคทานใหแ้ ก่ผยู้ ากจน และนาองคศ์ าสดาแหไ่ ป
ตามทอ้ งถนน นอกจากน้ัน ยงั มีพธิ ีกรรมทางศาสนาอกี ปี ละ 2 คร้งั ๆ

นิกาย

นิกายท่ีสาคญั ของศาสนาเชนมี 2 นิกายใหญๆ่ ดงั ต่อไปน้ ี
1.นิกายทิคมั พร นิกายเปลือยกายหรือนักบวชแบบชเี ปลือย

2.นิกายเสวตมั พร นิกายนุ่งขาวหม่ ขาวเพยี งเพื่อปกปิ ดกายของ
ตนเท่าน้ัน

สญั ลกั ษณ์

ศาสนาเชน ไดใ้ ชร้ ูปของมหาวีระองคศ์ าสดา เป็ นสญั ลกั ษณ์ คลา้ ยกบั
พุทธศาสนา ศาสนาเชนไดถ้ ือเอาลวดลายต่างๆ ซ่ึงมภี าพมหาวรี ะอยู่
ในวงกลมประกอบอย่ดู ว้ ย
ปัจจุบนั ไดถ้ ือรูปทรงกระบอกต้งั มีบรรจุสญั ลกั ษณอ์ ยู่ขา้ งใน 4
ประการ ดงั น้ ี
1. รปู กงจกั ร สญั ลกั ษณอ์ หงิ สาอยู่บนฝ่ ามือ
2. รูปสวสั ดิกะ เคร่ืองหมายแหง่ สงั สาร
3. จุด 3 จุด สญั ลกั ษณแ์ ห่งรตั นตรยั - ความเหน็ ชอบ ความรชู้ อบ
ความประพฤติชอบ
4. จุด 1 จุด อย่บู นเสน้ ครึ่งวงกลมตอนบนสุด คือ วญิ ญาณแห่งความ
หลุดพน้ เป็ นอสิ ระสถิตอยู่ ณ สถานทีส่ งู สุดของเอกภาพ


Click to View FlipBook Version