สารจากอธิกิ ารบดีี มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ผู้�ช้ ่ว่ ยศาสตราจารย์ศ์ ิวิ ะ วสุุนธราภิิวััฒก์์
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสนิ ทร์ ก�ำ หนดยทุ ธศาสตรแ์ ละพนั ธกจิ ดา้ นการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
รักษ์ส่ิงแวดลอ้ มและใหค้ วามส�ำ คญั กบั ภมู ปิ ญั ญาไทย ปจั จุบนั สถานการณโ์ รคไวรัสโควดิ - ๑๙ ระบาด ซึ่งภาครฐั
ประกาศระเบยี บมาตรการความปลอดภยั สาธารณสุข สง่ ผลกระทบกบั เงื่อนไขการจดั โครงการ โดยสถาบันศลิ ปะ
และวฒั นธรรมเปน็ หน่วยงานรับผดิ ชอบและการด�ำ เนนิ โครงการเฉลมิ พระเกยี รติสภาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ในวาระนี้
ไดจ้ ดั กิจกรรมการแสดงนทิ รรศการศิลปะ “พระมงิ่ ฟ้ามหาภูมิพล” เพอื่ รำ�ลึกถึงพระมหากรณุ าธคิ ุณ ในพระบาท
สมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานนาม “ราชมงคล”
๑๕ กันยายน ดว้ ยรปู แบบออนไลน์ นทิ รรศการศิลปะเสมือนจรงิ Virtual Reality Arts Exhibition จัดแสดงผลงาน
ของศิลปิน ศษิ ย์ราชมงคล นักศึกษา และการปรับตัวเพื่อเรยี นร้กู ับ Digital Transformation ตามยคุ สมัย
ในโอกาสนี้ ผมขอขอบคุณทุกภาคสว่ นท่ีมุง่ มน่ั และร่วมแรงรว่ มใจกันจัดโครงการในครง้ั นี้ ส�ำ เร็จลลุ ่วงตาม
วตั ถปุ ระสงค์ และขออาราธนาคุณพระศรีรตั นตรยั และสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธ์ิท้ังหลาย โปรดดลบนั ดาลให้ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ
ทกุ ท่านประสบแต่ความสุขปราศจากโรคภัยอันตราย มีสขุ ภาพแขง็ แรงทั้งกายและใจ มีความเจรญิ ก้าวหน้าในชีวติ
ตลอดไป
3
นทิ รรศการ
พระมง่ิ ฟา้ มหาภูมพิ ล
สารจากผู้อ�้ ำำ�นวยการ สถาบัันศิิลปะและวัฒั นธรรม
มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์
ผู้้�ช่ว่ ยศาสตราจารย์์ธง อุุดมผล
โครงการเฉลิมิ พระเกียี รติสิ ถาบันั พระมหากษัตั ริยิ ์ ์ พระบาทสมเด็จ็ พระบรมชนกาธิเิ บศร มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ย
เดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร เนื่อ�่ งในวันั พระราชทานนาม “ราชมงคล” ๑๕ กันั ยายน มหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีรี าช
มงคลรัตั นโกสิินทร์ไ์ ด้้สำ�ำ นึึกในพระมหากรุุณาธิิคุุณจัดั โครงการรำ�ำ ลึึกในวัันที่่� ๑๕ กัันยายน เป็น็ วัันสำำ�คััญของชาว
ราชมงคล โดยสถาบัันศิลิ ปะและวััฒนธรรมเป็็นผู้้�รับผิิดชอบโครงการ ในปีีที่่�ผ่่านมาได้จ้ ัดั งานสักั การะตามพิธิ ีกี าร
เพื่�อ่ อนุรุ ักั ษ์์และสืืบสานศิลิ ปวััฒนธรรมประเพณีแี ละพิธิ ีมี อบรางวัลั “นพรัตั นราชมงคล” แก่บ่ ุคุ คลดีีเด่่น ๙ ท่่าน
ชาวราชมงคลที่่น� ำ�ำ ศาสตร์แ์ ห่ง่ หลักั ปรัชั ญาเศรษฐกิจิ พอเพียี งนำำ�มาเป็น็ แนวทางความสำำ�เร็จ็ ในการดำ�ำ เนินิ ชีวี ิติ อีกี
ทั้้�งเผยแผ่ค่ ุณุ ธรรมคุุณงามความดีเี พื่่อ� เป็น็ แบบอย่่างแก่ส่ ังั คม
โดยปีีนี้้ส� ถานการณ์์โรคระบาดโควิดิ - ๑๙ สร้า้ งผลกระทบในการจัดั พิธิ ีกี ารและกิจิ กรรมที่่�ไม่่สามารถ
นำำ�ผู้�้คนเข้้ามาร่่วมงานจำ�ำ นวนมากได้้ ดัังนั้้�นสถาบัันศิิลปะและวััฒนธรรม มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคล
รัตั นโกสินิ ทร์ ์ จึงึ ได้จ้ ัดั นิทิ รรศการศิลิ ปกรรม “พระมิ่ง� ฟ้า้ มหาภูมู ิพิ ล”ในรูปู แบบออนไลน์ ์ ด้ว้ ยการแสดงนิทิ รรศการ
ศิลิ ปะเสมืือนจริงิ Virtual Reality Arts Exhibition ซึ่ง่� ภายในนิทิ รรศการเป็น็ การแสดงผลงานศิลิ ปกรรมจากศิลิ ปินิ
แห่่งชาติ ิ ศิษิ ย์์เก่่าราชมงคล อาจารย์์ นักั ศึกึ ษา รวม ๔๔ ท่่าน โดยผู้้�ร่วมงานสามารถเข้้าชมงานผ่่านคอมพิวิ เตอร์์
หรืือสมาร์์ทโฟนบนเว็็บไซต์์ของมหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์ ทั้้�งนี้้�การผสมผสานเทคโนโลยีกี ัับ
งานสร้า้ งสรรค์จ์ ะรวมเป็น็ หนึ่่ง� ช่อ่ งทางการสื่อ่� สาร การบูรู ณาการและการบริหิ ารจัดั การทางศิลิ ปวัฒั นธรรม ในการ
เตรียี มพร้อ้ มสำำ�หรับั การปรับั ตัวั สู่่�สภาวะปกติวิ ิถิ ีใี หม่่ New Normal เพื่อ่� สถาบันั ศิลิ ปะและวัฒั นธรรม มหาวิทิ ยาลัยั
เทคโนโลยีรี าชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์ จะเป็็นพื้้น� ที่่�แห่่งการเรียี นรู้้�สำ�หรับั นักั ศึกึ ษา คณาจารย์์ บุคุ ลากร กัับประชาชน
ทั่่ว� ไปในปััจจุุบัันและอนาคต
4
คำ�ำ กล่่าวเปิดิ นิิทรรศการแสดงศิิลปกรรมเฉลิิมพระเกีียรติิ “พระมิ่่ง� ฟ้้ามหาภููมิิพล”
พระบาทสมเด็็จพระบรมชนกาธิิเบศร มหาภููมิพิ ลอดุุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิิตร
เนื่่�องในวัันพระราชทานนาม “ราชมงคล” ๑๕ กันั ยายน
วันั พุุธที่่� ๑๕ กัันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลรััตนโกสินิ ทร์์
ศิิลปิิน คณาจารย์์ นักั ศึึกษา ศิิษย์เ์ ก่า่ ราชมงคลทั้้ง� ๙ แห่ง่ และแขกผู้้�มีเกียี รติทิ ุุกท่า่ น
ผมรู้้�สึกเป็็นเกียี รติแิ ละมีีความยิินดีเี ป็น็ อย่า่ งยิ่�ง ที่่ไ� ด้ม้ าเป็น็ ประธานกล่า่ วเปิดิ นิทิ รรศการ “พระมิ่ง� ฟ้า้
มหาภููมิิพล” โครงการแสดงผลงานศิิลปกรรมเฉลิิมพระเกีียรติิ พระบาทสมเด็็จพระบรม ชนกาธิิเบศร
มหาภูมู ิิพลอดุลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร เนื่่�องในวัันพระราชทานนาม “ราชมงคล” ๑๕ กันั ยายน ในวันั นี้้�
ด้ว้ ยรููปแบบออนไลน์์
จากสถานการณ์์โรคระบาดโควิิด - ๑๙ ทำ�ำ ให้้กิิจกรรมที่่�ดำำ�เนิินการจััดในปีีที่่�ผ่่านมาต้้องหยุุดชะงััก
สถาบัันศิิลปะและวััฒนธรรม มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลรัตั นโกสินิ ทร์ ์ จึึงมีีการปรัับเปลี่่ย� นรูปู แบบการ
จัดั กิจิ กรรมให้ส้ อดคล้อ้ งกับั สถานการณ์แ์ ละระเบียี บของภาครัฐั โดยการจัดั กิจิ กรรมการแสดงนิทิ รรศการศิลิ ปะ
เสมืือนจริิง Virtual Reality Arts Exhibition ๓๖๐ องศา ขึ้้�นภายใต้้แนวเรื่่�อง “พระมิ่�งฟ้้ามหาภููมิิพล” ด้้วย
การใช้เ้ ทคโนโลยีกี ารออกแบบที่่ท� ดแทนในยุคุ ปกติิวิถิ ีใี หม่่ New Normal และการปรับั ตัวั เพื่อ�่ เรียี นรู้้�กับั Digital
Transformation ซึ่่�งเป็็นพัันธกิิจด้้านหนึ่่�งของสถาบัันศิิลปะและวััฒนธรรม โดยการเชิิญชวนศิิษย์์ราชมงคล
ศิิลปินิ นักั ศึกึ ษา ร่่วมแสดงผลงานศิลิ ปกรรม เพื่่อ� รำ�ำ ลึกึ ถึงึ พระมหากรุณุ าธิคิ ุณุ ในพระบาทสมเด็็จพระบรมชน
กาธิเิ บศร มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร ผู้ท�้ รงเป็น็ แบบอย่า่ งของการดำ�ำ รงชีวี ิติ แก่ค่ นไทยในทุกุ ๆ ด้า้ น
ในโอกาสนี้้� ผมขอขอบคุุณทุุกภาคส่่วนที่่�มุ่�งมั่�น และร่่วมแรงร่่วมใจกัันจััดนิิทรรศการในครั้�งนี้้� สำำ�เร็็จ
ลุลุ ่ว่ งตามวััตถุุประสงค์์ และขออาราธนาคุณุ พระศรีรี ััตนตรัยั และสิ่ง� ศัักดิ์�สิทิ ธิ์ท� ั้้�งหลาย โปรดดลบันั ดาลให้้ผู้�้
เข้า้ ร่่วมงานทุุกท่า่ น ประสบแต่่ความสุขุ ความเจริญิ มีกี ำ�ำ ลัังกาย กำำ�ลังั ใจที่่�เข้้มแข็ง็ มีคี วามเจริิญก้้าวหน้า้ ใน
ชีีวิิต ตลอดไป
บััดนี้้ � ได้เ้ วลาอัันสมควรแล้้ว ผมขอเปิดิ นิิทรรศการศิลิ ปกรรม “พระมิ่ง� ฟ้า้ มหาภูมู ิิพล” เพื่�อ่ รำ�ำ ลึกึ ถึงึ
พระมหากรุณุ าธิคิ ุณุ ในพระบาทสมเด็จ็ พระบรมชนกาธิเิ บศร มหาภูมู ิพิ ลอดุลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิติ ร ณ บัดั นี้้�
(ผูช้ ่วยศาสตราจารยศ์ วิ ะ วสุนธราภวิ ฒั ก์)
อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
5
ย้อนรอยวันราชมงคล
ค่านิยมในสังคมไทยแต่เดิมมากล่าวได้ว่าไม่เห็นความ
ส�ำคัญของการอาชีวศึกษา เพราะเหตุน้ีท�ำให้ผู้เรียนทางสาย
อาชีวศึกษามีความรู้สึกต่�ำต้อยในสังคม และไม่ได้รับความเป็น
ธรรมจากระบบการศึกษาที่จัดอยู่ในขณะนั้น ประกอบกันในปี
๒๕๑๖ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง และสถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ ซ่ึงเป็นสถาบันเดียวท่ีเปิดโอกาส
ให้นักศึกษาสายอาชีวศึกษาได้ศึกษาถึงระดับปริญญาตรี ได้
ย้ายจากสังกัดกระทรวงศึกษาธิการไปสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
ของรัฐ และได้เปล่ียนแปลงหลักเกณฑ์การรับนักศึกษาจาก
ท่ีเคยรับนักศึกษาสายอาชีวศึกษาโดยหันไปรับนักศึกษาสาย
สามัญมากข้ึน ท�ำให้ช่องทางท่ีนักศึกษาสายอาชีวศึกษาจะ
ได้ศึกษาถึงระดับปริญญาตรีน้อยลง การเปลี่ยนแปลงดัง
กล่าว ส่งผลกระทบแก่นักศึกษาสายอาชีวศึกษาเป็นอย่างมาก
นักศึกษาส่วนหนึ่งเกิดความรู้สึกว่าการอาชีวศึกษาไม่ได้รับ
การเหลียวแลจากรัฐบาล ถูกจ�ำกัดจากการศึกษาเพียงระดับ
อนุปริญญา ความไม่พอใจต่อสภาพการณ์ดังกล่าว ได้ท�ำให้
นักศึกษาอาชีวศึกษาหลายแห่ง เช่น วิทยาลัยเทคนิคกรุงเทพ
วิทยาลัยพาณิชยการพระนคร วิทยาลัยช่างกลปทุมวัน
วิทยาลัยอุเทนถวาย โรงเรียนการช่างมีนบุรี เป็นต้น ประชุม
ประท้วงที่ท�ำเนียบรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่
๙ มกราคม ๒๕๑๗ นักศึกษายนื่ ข้อเสนอเรียกรอ้ งตอ่ รัฐบาล ๒
ประการ คือ ประการท่ีหนึง่ ให้สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ท้ังสามแห่งงดรับนักศึกษาสายสามัญโดยให้รับนักศึกษาสาย
อาชีวศึกษาทั้งหมด และอีกประการหนึ่ง ให้รัฐบาลเปิดสถาน
ศึกษาสายอาชีวศึกษาระดับปริญญาทุกแขนงในท่ีสุดรัฐบาลโดย
นายสญั ญา ธรรมศักด์ิ นายกรฐั มนตรไี ด้มบี นั ทกึ ถงึ นายอภัย จัน
ทวมิ ลรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ให้สถาบนั เทคโนโลยี
พระจอมเกล้าทั้งสามแห่ง รับนักศึกษาสายอาชีวศึกษามาก
ขึ้น และให้วางนโยบายรับเพ่ิมขึ้นในปีต่อๆไป สืบเน่ืองจากการ
ชุมนุมของนักศึกษาอาชีวศึกษาดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการ
ได้เสนอแนวทางแก้ไขปัญหาการเปิดสอนระดับปริญญาใน
วิทยาลัย โดยกระทรวงศึกษาธิการร่วมกับทบวงมหาวิทยาลัย
ของรัฐ จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีอาชีวศึกษาขึ้นโดยเร็ว เพื่อรับ
นักเรียนอาชีวศึกษาที่ส�ำเร็จการศึกษาในระดับ ม.ศ.๖ ให้มี
โอกาสเขา้ ศกึ ษาต่อในระดบั ปริญญา ต่อมากระทรวงศึกษาธกิ าร
ได้ร่างพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีอาชีวศึกษาข้ึน เม่ือ
วันพุธที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๑๗ ได้แก้ไขช่ือพระราชบัญญัติจาก
สถาบัน เป็น วิทยาลัย ต่อมาในวันท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์ พ.ศ.
๒๕๑๘ วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา จึงได้ถือก�ำเนิด
ขึ้น ตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
พทุ ธศกั ราช ๒๕๑๘ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาและมผี ลบงั คบั
ใชเ้ ป็นตน้ มา
“ราชมวงนั คพรละ”รา๑ชท๕านกนานั มยายน
นอ้ มส�ำ นกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ พระราชทานพระราชลญั จกรและพระมหาพิชยั มงกฎุ เป็นตราสญั ลักษณ์ประจำ�สถาบันเทคโนโลยรี าชมงคล
เมอ่ื วนั ที่ ๑๕ กนั ยายน ๒๕๓๑ นบั เปน็ พระมหากรณุ าธคิ ณุ
ท่ีมีต่อนักเรียนอาชีวศึกษา เมื่อพระบาทสมเด็จพระบรมชนกา
ธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร โปรด
เกล้าฯ พระราชทานช่อื ให ้ วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและอาชวี ศกึ ษา
ใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล หมายความว่า สถาบัน
เทคโนโลยีอันเป็นม่ิงมงคลแห่งพระราชา สถาบันฯจึงได้ขอ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตเชิญพระราชลัญจกรประจ�ำ
พระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพระมหาพิชัย
มงกุฎ เป็นเครื่องหมายราชการของสถาบันฯ ในการนี้ส�ำนัก
ราชเลขาธิการ ได้แจ้งว่า ได้น�ำความกราบบังคมทูลพระกรุณา
ทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทแล้วพระราชทานพระบรมราชานุ
ญาตตามชอ่ื ทขี่ อพระมหากรุณาตามหนงั สือส�ำนักราชเลขาธิการ
โดยเคร่ืองหมายราชการของสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล เป็น
ตรารูปวงกลมมีดอกบวั ๘ กลบี ลอ้ มรอบ หมายถึงทางแห่งความ
ส�ำเร็จ มรรค ๘ และความสดชื่น เบิกบานที่ก่อให้เกิดปัญญา
แผ่ขจรไปทั่วสารทิศ ภายในดอกบัวเป็นตราพระราชลัญจกร
บรรจุอยู่ อันเป็นสัญลักษณ์และเคร่ืองหมายประจ�ำพระองค์
พระมหากษัตริย์ของรัชกาลที่ ๙ ซึ่งพระองค์ท่านได้เป็นผู้
พระราชทานนามว่า “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” บนตรารูป
วงกลมมพี ระมหาพิชัยมงกฎุ ครอบและมเี ลข ๙ บรรจอุ ยู่ หมาย
ถึง รัชกาลท่ี ๙ ด้านล่างของตรารูปวงกลมท�ำเป็นกรอบโค้ง
รองรับมีช่ือสถาบันบรรจุอยู่ภายในว่า “สถาบันเทคโนโลยีราช
มงคล” คั่นปิดท้ายของกรอบด้วยลวดลายดอกไม้ทิพย์
ประจ�ำยามท้ังสองข้าง
7
จากแนวทางการปฏิิรููปการศึึกษาตามพระราชบััญญััติิการศึึกษาแห่่งชาติิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่่�มุ่�งเน้้นการกระจายอำำ�นาจ
การบรหิ ารจดั การสสู่ ถานศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา เพอื่ ใหส้ ถานศกึ ษาของรฐั ด�ำเนนิ การโดยอสิ ระ และมคี วามคลอ่ งตวั ในการบรหิ าร
จัดการภายใต้การก�ำกับดูแลของสภาสถานศึกษา ดังน้ัน สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลจึงได้ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติฉบับเดิม
และยกร่า่ งเป็น็ พระราชบัญั ญัตั ิมิ หาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีรี าชมงคล โดยมีกี ารรวมวิทิ ยาเขต จัดั ตั้้ง� เป็น็ มหาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีรี าชมงคล
จำ�ำ นวน ๙ แห่่ง อยู่่�ภายใต้้การกำ�ำ กัับดูแู ลของสำ�ำ นัักงานคณะกรรมการการอุุดมศึกึ ษา กระทรวงศึกึ ษาธิิการ
การก้า้ วสู่่�มหาวิทิ ยาลัยั จากพระราชบัญั ญัตั ิมิ หาวิทิ ยาลัยั เทคโนโลยีรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่ง่� พระบาทสมเด็จ็ พระเจ้า้ อยู่่�หัวั
ได้้ทรงลงพระปรมาภิิไธย เมื่่�อวัันที่่� ๘ มกราคม ๒๕๔๘ และได้้ประกาศในราชกิิจจานุุเบกษา เมื่�่อวัันที่่� 18 มกราคม ๒๕๔๘
พระราชบััญญััติิดัังกล่่าว มีีผลบัังคัับใช้้ตั้�งแต่่ วัันที่่� ๑๙ มกราคม ๒๕๔๘ มีีผลให้้สถาบัันเทคโนโลยีีราชมงคล ตามพระราชบััญญััติิ
สถาบันั เทคโนโลยีรี าชมงคล พ.ศ. ๒๕๑๘ ปรัับเปลี่่ย� นเป็็นมหาวิิทยาลัยั เทคโนโลยีีราชมงคลทั้้ง� ๙ แห่ง่ คืือ
๑. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลอีสี าน
๒. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลพระนคร
๓. มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรัตั นโกสิินทร์์
๔. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลล้า้ นนา
๕. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลศรีวี ิชิ ัยั
๖. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลสุุวรรณภููมิิ
๗. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลธัญั บุรุีิ�
๘. มหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลตะวันั ออก
๙. มหาวิิทยาลััยเทคโนโลยีรี าชมงคลกรุงุ เทพ
โดยการจัดั ตั้้�งมหาวิทิ ยาลััยเทคโนโลยีีราชมงคลรััตนโกสิินทร์์ นั้้�นประกอบด้ว้ ย ๔ พื้้�นที่่ � คืือ ๑. พื้้น� ที่่ศ� าลายา
๒. วิทิ ยาเขตวัังไกลกัังวล ๓. วิทิ ยาลัยั เพาะช่า่ ง ๔. พื้้น� ที่่บ� พิิตรพิิมุขุ จักั รวรรดิ์�
9
นิทรรศการ
พระมิ่งฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน “THE GREATEST KING’’ His majesty King Bhumibol Adulyadees
เทคนิค MIXMEDIA PHOTOGRAPH & DRAWING / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
THE GREATEST KING
ผลงานสร้างสรรค์โดย กมล ทัศนาญชลี
ศิลปินแห่งชาติ ปี 2540
11
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน กุหลาบแด่พระราชา
ขนาด 103 × 92 cm. / เทคนิค ประกอบเส้นลวด / ปีที่สร้างสรรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ดอกกุหลาบที่พระตำ�หนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ มีความสวยงามมากที่สุดกว่า ณ ที่ใด ๆ ซึ่งเหมาะสมที่จะนำ�ถวายแด่พระราชา”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาตราจารย์กติ ติชัย กันแตง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
12
ชื่อผลงาน รูปและนาม 1
ขนาด 53 x 106 cm. / เทคนิคผสมบนกระดาษ / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ข้าพเจ้าสร้างสรรค์จิตรกรรมโดยถ่ายทอดสิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็นอยู่รอบ ๆ ตัว โดยเชื่อว่านอกเหนือจากความจริงโดยทั่วไป
ที่เรารับรู้ได้ทางผัสสะ ยังมีความจริงที่เป็นสมมุติหรือ อัตวิสัยอันมีนัยซ่อนอยู่คู่กันไปอยู่เสมอ กระบวนการทำ�งานทั้งหลาย
ของข้าพเจ้าจึงเป็นเหมือนการบันทึก การสำ�รวจและพิจารณาอาการเป็นไปของจิต ด้วยวิธีการทางจิตรกรรม”
ผลงานสร้างสรรค์โดย จักรพันธ์ หิรัญสาลี
สำ�นักช่างสิบหมู่
13
นิทรรศการ
พระม่ิงฟ้ามหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน ในหลวงรัชกาลที่ 9
ขนาด 80 x 110 cm. / เทคนิค สีน้ำ�มัน / ปีที่สร้างสรรค์ 2019
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ทุกข์ของราษฎรคือทุกข์ของพระองค์ สุขของราษฎรคือสุขของพระองค์”
ผลงานสร้างสรรค์โดย จารุวัฒน์ บุญแวดล้อม
ศิลปินอิสระ
14
ชื่อผลงาน ระลึกถึงพ่อหลวง 2019
ขนาด 80 x 75 cm. / เทคนิค / Acrylic on canvas / ปีที่สร้างสรรค์ 2019
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณรัชกาลที่ 9 ที่มีต่อไพร่ฟ้าประชาชนชาวไทย”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชยารัฐ จุลสุคนธ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
15
นทิ รรศการ
พระมิง่ ฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน “ในหลวงของคนไทย”
ขนาด 30 x 20 cm. / เทคนิค ภาพพิมพ์สกรีนท์ปริ้นท์และทองคำ�เปลว / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“สร้างสรรค์ผลงานด้วยความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์ราชวงศ์จักรี
และน้อมรำ�ลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ที่ได้ปกเกล้าปกกระหม่อมให้ความร่มเย็นเปน็ สุขแก่พสกนิกรชาวไทย”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยวุฒิ ร่วมฤดีกูล
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
16
ชื่อผลงาน Hyper space 02
ขนาด 155 x 155 cm. / เทคนิค Acrylic on canvas / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
แนวความคิดสร้างสรรค์
“Hyper space ในความหมายของข้าพเจ้า คือพื้นที่ทับซ้อน ของจิตใจและความเปน็ จริง ทุกครั้งที่ระลึกถึงในหลวงร.9 ภาพความ
ทรงจำ�ที่ระลึกถึงท่านกลับชัดเจนขึ้นมา และภาพแห่งความจริงกลับเลือนลางเหมือนภาพฝัน พระองค์ยังคงอยู่ชั่วนิจนิรันดร์”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์ทศพร สุธรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
17
นิทรรศการ
พระม่ิงฟ้ามหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน ในหลวงของฉัน
ขนาด 38 x 56 cm. / เทคนิค เกรยองบนกระดาษ / ปีที่สร้างสรรค์ 2016
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พ่อหลวงคือต้นแบบของเรา”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์ธีระพงษ์ พิทักษ์ศฤงคาร
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย
18
ชื่อผลงาน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลดุลยเดชมหาราช
ขนาด 50 x 65 cm. / เทคนิค สีน้ำ�มันบนผ้าลินิน / ปีที่สร้างสรรค์ 2019
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ข้าพเจ้ามีความเคารพและศรัทธาพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรฯ รัชกาลที่ 9 เปน็ อย่างมาก
จึงอยากที่จะวาดภาพของพระองค์ออกมา ที่เลือกพระบรมสาทิสลักษณ์ภาพนี้เนื่องด้วยเป็นภาพที่แสดงพระพักตร์ของพระองค์
ที่เปี่ยมล้นไปด้วยพระบารมีและพระเมตตาธรรม”
ผลงานสร้างสรรค์โดย นพพล งามวงษ์วาน
สำ�นักช่างสิบหมู่
19
นทิ รรศการ
พระม่ิงฟ้ามหาภูมิพล
ชื่อผลงาน บัวสวรรค์ราชมงคล
ขนาด 12 x 15 cm. / เทคนิค งานปักประณีต / ปีที่สร้างสรรค์ 2021.
แนวความคิดสร้างสรรค์
ผลงานปัก “บัวสวรรค์ราชมงคล” เป็นการสร้างสรรค์ผลงานปักประณีตที่นำ�ดอกบัว
สวรรค์ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำ�มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ มาร้อยเรียงล้อมตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
เพื่อร่วมแสดงออกถึงความสำ�นึกในวันพระราชทานนาม “ราชมงคล”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ศิลปชัยศรี
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
20
ชื่อผลงาน แผ่นดินธรรม ลำ�ดับที่ 6
ขนาด 120 x 150 cm. / เทคนิค สีฝุ่นบนผ้าใบ / ปีที่สร้างสรรค์ 2017
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พระราชาผู้ทรงธรรม ทุกย่างย้ำ�นำ�ทางสว่างใส”
ผลงานสร้างสรรค์โดย รองศาสตราจารย์นิโรจน์ จรุงจติ วิทวัส
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
21
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน อัครศิลปน
ขนาด 30 x 40 cm. / เทคนิค สีน้ำ� / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ข้าพระเจ้าสื่อภาพ พระปรมินทร์ รัชกาลที่ 9 ด้วยเทคนิคสีน้ำ� เพื่อแทนความรำ�ลึกถึงองค์ราชันผู้เป็น “อัครศิลปิน”
ที่ทรงพระอัจฉริยะด้านดนตรี และนำ�ช่อดอกพวงชมพู เป็นรูปทรงหัวใจ วางเรียงล้อม
สื่อถึงความรัก ความชื่นชมที่มีต่อพระองค์”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์นีรนารา ดิษฐาภรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
22
ชื่อผลงานในหลวงรัชกาลที่ 9
ขนาด 50 X 45 cm. เทคนิค / วาดเส้นปากกา สีอะคริลิกบนกระดาษ / ปีที่สร้างสรรค์ 2016
แนวความคิดสร้างสรรค์
“น้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณในหลวงรัชกาลที่ 9”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์เนติ พิเคราะห์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
23
นทิ รรศการ
พระมิง่ ฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน พ่อหลวง
ขนาด 85 x 65 cm. / เทคนิค สีน้ำ�มันบนผ้าใบ / ปีที่สร้างสรรค์ 2016
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พ่อหลวงทรงเปน็ ที่รักของปวงชาวไทย”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เนติกร ชินโย
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต
24
ชื่อผลงาน Pray with Me
ขนาด 28 x 38 cm. / เทคนิค Digital painting ดิจติ อล เพ้นท์ติ้ง / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เปี่ยมจันทร์ บุญไตร
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
25
นิทรรศการ
พระม่ิงฟ้ามหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน “My King”
ขนาด 80 x 60 cm. / เทคนิค ภาพพิมพ์ร่องลึก / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“รักในหลวง”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณพงศ์เดช ไชยคุตร
คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
26
ชื่อผลงาน 60 ปีคือความอบอุ่น นำ�วิถีพอเพียงสู่ประชาร่มเย็น
ขนาด 150 x 200 cm. / เทคนิค Acrylic on canvas / ปีที่สร้างสรรค์ 2005 ( ผลงานรางวัลยอดเยี่ยม อันดับ 1 )
ผู้ครอบครองกรรมสิทธิ์ ประธานเครือสหพัฒน์ (ดร.บุณยสิทธิ์ โชควัฒนา)
แนวความคิดสร้างสรรค์
“แสงแดดอุ่นยามเช้า ได้นำ�ความอบอุ่น ปิติ อิ่มเอมใจ ด้วยรักและศรัทธาจากปวงประชาทั่วแผ่นดิน แสงแดดนั้นยังได้นำ�พา
แสงแห่งสติและปัญญา เพื่อเป็นแสงไฟนำ�ทางไปสู่ความสงบสุขอย่างยั่งยืน พระราชกรณียกิจมากมายไม่สามารถที่จะพรรณนา
เพียงภาพเดียวได้ แต่หากจะสื่อถึงความรัก ความศรัทธา จากวิถีรากหญ้าทั่วผืนแผ่นดินไทย
อวยพรชัยให้พระองค์ทรงพระเจริญ”
ผลงานสร้างสรรค์โดย พิชติ ไปแดน
ศิลปินฮิสระ
27
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน “คิดถึงพ่อ”บนวิถีแห่งความพอเพียง
ขนาด 90 x 130 cm. / เทคนิค วาดเส้นบนกระดาษอาร์เช่ / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
แนวความคิดสร้างสรรค์
ด้วยความสำ�นึกรักและยังคงคิดถึงที่ข้าพเจ้ามีต่อพระองค์ท่านในหลวง ร.9 จึงน้อมนำ�แนวคิดวิถีพระราชดำ�ริ
“ความพอดี พอใจ พอเพียง”
มาใช้ในชีวิตตนและครอบครัวเรื่อยมาและถ่ายทอดเปน็ ผลงานศิลปะสีขาว - ดำ� เทคนิคดินสอบนกระดาษ
แสดงถึงความสมถะ เรียบง่ายในบรรยากาศความสงบในชนบทล้านนา
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์มานติ ย์ โกวฤทธิ์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
28
ชื่อผลงาน คำ�สอนของพ่อ
ขนาด 35 x 45 cm. / เทคนิค Drawing บนแผ่นอะคริลิคใส / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“คำ�สอนของพ่อที่เรามักจะได้ยินก็คือคำ�สอนของในหลวงรัชกาลที่ 9 สอนมากมายให้แก่ประชาชนของท่านเพื่อที่จะใช้ในการดำ�เนินชีวิต
ให้มีชีวิตที่ดีมีกินมีใช้หนึ่งในปรัชญาที่สำ�คัญก็คือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นปรัชญาที่สำ�คัญยิ่งให้ทุก ๆคนรู้จักประมาณตนพอมี
พอกินพอใช้ตามสถานะอันเป็นอยู่และจะสามารถดำ�รงไปได้อย่างมีความสุข ในปัจจุบันคำ�สอนของท่านไม่ว่าคำ�สอนใด ๆหรือแม้กระทั่ง
คำ�สอนของเศรษฐกิจพอเพียงโดนบิดเบือนไปและจางไปเหมือนภาพที่ข้าพเจ้าเขียนที่ออกจะดูเลือนลางและโดนบิดเบือนให้เข้าใจต่างไป
จากสิ่งที่ท่านเจตนาจะสอน อย่างไรก็ตามข้าพเจ้าก็ยังเชื่อว่าคำ�สอนของพ่อหรือคำ�สอนของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชนั้น
คือคำ�สอนอันเป็นที่สุดแล้วที่สอนให้เราดำ�รงชีวิตอยู่ในสิ่งที่ดีและเป็นไปได้ จะขอนำ�หลักคำ�สอนของท่านใช้ในการดำ�รงชีวิตตลอดไป”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์รตา อักษรทอง
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
29
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน ธ ทรงเป็นพลังแห่งแผ่นดิน
ขนาด 70 x 50 cm. / เทคนิค สีน้ำ�มันบนผ้าใบ / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 พระองค์ท่านทรงเป็นพลังแห่งแผ่นดินไทย สรรสร้างให้ไทยยิ่งเปน็ ไทย”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ลาภ อำ�ไพรัตน์
สำ�นักช่างสิบหมู่
30
ชื่อผลงาน “ใต้ร่มพระบรมโพธิสมภาร”
ขนาด 100 x 80 cm. / เทคนิค เครยอง,ทองคำ�เปลวบนผ้าไหม / ปีที่สร้างสรรค์ 2016
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พสกนิกรชาวไทยทุกหมู่เหล่าได้อาศัยอยู่ใต้ร่มพระบารมีของในหลวง รัชกาลที่ ๙
นับเนื่องเปน็ เวลา ๗๐ ปี แห่งการครองราชย์ ทรงเปน็ ยิ่งกว่าพระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ยิ่งกว่าพ่อของแผ่นดิน
ไม่มีพื้นแผ่นดินใดในประเทศไทยที่พระองค์มิได้เสด็จเยี่ยมเยือน”
ผลงานสร้างสรรค์โดย รองศาสตราจารย์ลิปกร มาแก้ว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
31
นิทรรศการ
พระมงิ่ ฟา้ มหาภูมพิ ล
ชื่อผลงาน มนุษย์กับวัฒนธรรมผสมผสาน หมายเลข 8
ขนาด 59 x 45 cm. / เทคนิค เซรามิค ไม้ โลหะ หิน ปีกแมลงทับ บนแผ่นโบมนวดข้าว / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ชีวิตของมนุษย์ในปัจจุบันแวดล้อมไปด้วยเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างไม่มีสิ้นสุด
เกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อปรับวิถีชีวิตให้สอดคล้องกับสิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลาจนกลายพันธุ์เป็นสิ่งมีชีวิตที่ขาดความเป็นตัวตน
ห่างไกลจากธรรมชาติ และวิถีวัฒนธรรมดั้งเดิม เกิดเป็นความขัดแย้งที่สามารถอยู่ร่วมกับได้อย่างกลมกลืน”
ผลงานสร้างสรรค์โดย วัฒนโชติ ตุงคะเตชะ
ศิลปินอิสระ
32
ชื่อผลงาน Long Live The King
ขนาด 30 x 40 cm. / เทคนิค สีอะคริลิคบนแคนวาส
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์วุฒิพร ธูปเพ็ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
33
นิทรรศการ
พระมิ่งฟ้ามหาภูมิพล
ชื่อผลงาน สีสันพันธ์ไม้
สีสันพันธ์ไม้ / ขนาด 28x38 cm. / เทคนิค สีน้ำ� / ปีที่สร้างสรรค์ 2018
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ในทุกสรรพสิ่งที่สวยงามนานาบนโลกนี้ มีความงามของดอกไม้ที่ได้ถูกหยิบยกมาเป็นสัญลักษณ์ที่คนทั้งโลกมอบให้แก่กัน
ไม่ว่าจะเปน็ วาระแห่งความสุข เศร้า คิดถึง เพื่อแสดงความยินดี และเมื่อเรามีความรักให้ใครสักคน
ผลงาน Flowers of our Hearts จึงเปน็ ภาพแทนจิตใจ ของศิลปิน
เพื่อทูลเกล้าฯ ถวาย และน้อมรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของในหลวง ร.๙”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์ศุภชัย เสริมสุขเจริญชัย
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
34
ชื่อผลงาน ธ เสด็จสู่สวรรค์ชั้นฟ้า
ขนาด 90 x 90 cm. / เทคนิค ผสม
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ศิลปกรรมสร้างสรรค์เพื่อน้อมรำ�ลึกถึงพระผู้เสด็จสู่สวรรค์คาลัย ด้วยกระบวนการงานช่างไทย
โดยใช้วิธีการตกแต่งพระเมรุมาศ เช่น การตอกฉลุผ้าทองย่นสาบสีด้วยกระดาษอังกฤษ ใส่แววด้วยกระจกเกรียบ กระจกจีน
และใช้ตราสัญลักษณ์ที่เกี่ยวเนื่องกับพระองค์”
ผลงานสร้างสรรค์โดย สนั่น รัตนะ
ราชบัณฑิต
35
นิทรรศการ
พระม่งิ ฟ้ามหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน ความงดงามไม่เคยลืม
ขนาด 40 x 50 cm. / เทคนิค สีน้ำ� / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“น้อมรำ�ลึกถึงภาพอันงดงามในทุกอิริยาบถ ทุกกรณียกิจ พระองค์ยังอยู่ที่นี่เสมอ ที่ ณ ในใจราษฎรไทย
ภูมิใจที่ได้เกิดในแผ่นดินในหลวง ร.9”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์สมชาย ดิษฐาภรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
36
ชื่อผลงาน โน้มจากฟ้าสู่ดิน
ขนาด 40x35 cm. / เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ / ปีที่สร้างสรรค์ 2017
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ในหลวงรัชกาลที่9 พระองค์ทรงมีพระเมตตาต่อพสกนิกรของพระองค์ทุกๆคนไม่เลือกชนชั้นหรือเปน็ คนชนบทอยู่ห่าง
ไกลในดินแดนทุรกันดาล ความรักความเมตตาจากพระองค์แผ่ไพศาลอย่างทั่วถึง”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาธติ เทศนา
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
37
นทิ รรศการ
พระมง่ิ ฟ้ามหาภูมิพล
ชื่อผลงาน เทวดาบนฟ้า
ขนาด 100 x 120 cm. / เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ / ปีที่สร้างสรรค์ 2019
แนวความคิดสร้างสรรค์
“พระผู้สถิตในใจ” เปน็ การสร้างสรรค์ผลงานจิตรกรรมเพื่อนำ�เสนอ สาระ เรื่องราว คติคำ�สอน ความเชื่อ ความศรัทธาในทางพุทธศาสนา
รวมถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ ที่ทรงทำ�นุบำ�รุงพระพุทธศาสนามาตลอดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยนำ�เสนอภาพพระราชจริยวัตรอันเปน็
แบบอย่างที่ดีงามเหล่านี้ถูกสร้างและจัดวางเอาไว้ภายใต้ รูปทรง สัญลักษณ์ ของพระมหากษัตริย์ ที่ทรงบำ�เพ็ญตนเป็นแบบอย่างที่ดีในทาง
พระพุทธศาสนา ซึ่งสีสันที่แต่งแต้มลงบนวัตถุด้วยความประณีตละเอียดอ่อนในการประดิษฐ์และสร้างสรรค์รูปทรงของศิลปกรรมนั้น ล้วนแล้ว
แต่แสดงให้เห็นถึงพลังการสร้างสรรค์ศิลปะที่สะท้อนความงามผ่านสัญลักษณ์อันเปน็ ศูนย์รวมจิตใจของคนในชาติ และสร้างสรรค์ขึ้นเพื่อผู้ชม
ผลงานจะได้รับรู้ถึงประสบการณ์ ความประทับใจ รวมไปถึงความงามที่แสดงออกมาให้ผู้ชมผลงานได้สัมผัสถึงสุนทรียะ
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สำ�ราญ มณีรัตน์
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
38
ชื่อผลงาน ในหลวง รัชกาลที่ 9
ขนาด 53 x 67 cm. / เทคนิค วาดเส้น / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุชา ศิลปชัยศรี
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
39
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน ตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
ขนาด 170 x 150 cm. / เทคนิค สีอะคริลิคบนผ้าใบ / ปีสร้างสรรค์ 2017
แนวความคิดสร้างสรรค์
“น้อมสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพสกนิกรชาวไทยอันหาที่สุดมิได้”
ผลงานสร้างสรรค์โดย สุชาติ ขวัญหวาน
สำ�นักช่างสิบหมู่
40
ชื่อผลงาน รูปสัญญา
ขนาด 90 x 90 cm. / เทคนิค เทคนิคผสม / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“เชื่อมโยงความหมายในสัมพันธภาพกับความสำ�นึกในสัญญาขันธ์ สื่อความหมายจากร่องรอยแห่งอดีต
ผ่านการทับซ้อนของห้วงเวลาซึ่งเป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุดวดี สุวรรณ
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
41
นทิ รรศการ
พระมง่ิ ฟา้ มหาภูมพิ ล
ชื่อผลงาน ในหลวงในดวงใจ
ขนาด สูง 18 x กว้าง 9 cm. / เทคนิค แกะ CNC / ปีที่สร้างสรรค์ 2020
แนวความคิดสร้างสรรค์
“รําลึกในพระมหากรุณาธิคุณหาที่สุดมิได้”
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรัฐ บุญทรง
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
42
ชื่อผลงาน เย็นศิระเพราะพระบริบาล
ขนาด 100 x 120 cm. / เทคนิค สีผสม / ปีที่สร้างสรรค์ 2017
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ด้วยพระบารมีที่พระองค์ทรงเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ในทุก ๆ พื้นที่ผ่านโครงการพระราชดำ�ริ ทำ�ให้ประชาชนอยู่ดีมีสุข
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ที่ยั่งยืนและมั่นคง”
ผลงานสร้างสรรค์โดย อาจารย์อุตสาห์ ไวยศรีแสง
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
43
นทิ รรศการ
พระมิ่งฟา้ มหาภูมพิ ล
ชื่อผลงาน ในหลวง ร.9 (King Rama9)
ขนาด 26 x 24 cm. / เทคนิค Ink Pen / ปีที่สร้างสรรค์ 2021
แนวความคิดสร้างสรรค์
“เพื่อแสดงถึงความเคารพอย่างสูงต่อ ในหลวง ร.9 และสำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณของท่าน
ที่มีต่อพสกนิกรชาวไทยและประเทศไทย จากศิลปินจีน”
ผลงานสร้างสรรค์โดย Yang Yue (เอเลน่า หยาง)
University of Angers, France
44
ชื่อผลงาน “ บันทึกอดีตและภูมิปัญญาไทย ”
ขนาด 140 x 200 cm. / เทคนิค ดินสอพองประกอบไม้ - สีอะคริลิค
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ การดำ�รงชีวิตที่ดีจะต้องปรับปรุงตัวตลอดเวลา การปรับปรุงตัวจะต้องมีความเพียรและความอดทนเป็นที่ตั้ง ถ้าคนเราไม่หมั่นเพียร
ไม่มีความอดทน ก็อาจจะท้อใจไปโดยง่าย เมื่อท้อใจไปแล้ว ไม่มีทางที่จะมีชีวิตเจริญรุ่งเรืองแน่ๆ ”
พระราชดำ�รัสของในหลวงรัชกาลที่ 9 พระราชทานแก่ครูและนักเรียนโรงเรียนจติ รลดา วันที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2523
งานช่างศิลปกรรมของไทยทุกแขนง ตั้งแต่ครั้งอดีต นอกจากความรู้ ความสามารถของช่าง ของผู้สร้างสรรค์แล้ว
ส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้ผลงานนั้น ๆ มีความงดงาม ทรงคุณค่านั้นคือ ความเพียรพยายาม อันเป็นหลักสำ�คัญในการสร้างสรรค์
ดังพระบรมราโชวาทในเรื่องความเพียรของในหลวงรัชกาลที่ 9 ซึ่งเปน็ ที่มาและเป็นส่วนสำ�คัญพื้นฐานในการสร้างสรรค์ผลงานของข้าพเจ้า
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์โอภาส เจริญสุข
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
45
นิทรรศการ
พระม่ิงฟ้ามหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน ดอกราชพฤกษ์บานรับเสด็จ 26 ตุลาคม 2560
ขนาด 80 x 60 cm. / เทคนิค สีอะคริลิคบนแคนวาส
ผลงานสร้างสรรค์โดย รุ่งพันธุ์ บุรุษชาติ
ศิลปินอิสระ
46
ชื่อผลงาน ในหลวงในดวงใจ
ขนาด 80 x 60 cm. / เทคนิค วาดเส้นชาโคล
ผลงานสร้างสรรค์โดย ดินหิน รักพงษ์อโศก
ศิลปินอิสระ
47
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู ิพล
ชื่อผลงาน My Beloved King 9
ขนาด 74 x 54 cm. / เทคนิค สีน้ำ�บนกระดาษ / ปีที่สร้างสรรค์ 2017
แนวความคิดสร้างสรรค์
“ในหลวงในดวงใจของชาวไทย”
ผลงานสร้างสรรค์โดย โอภาส โชติพันธวานนท์
ศิลปินอิสระ
48
ชื่อผลงาน King Rama 9
ขนาด 74 x 54 cm. / เทคนิค สีน้ำ�บนกระดาษ
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์บรรลุ วิริยาภรณ์ประภาส
วิทยาลัยเพาะช่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
49
นิทรรศการ
พระม่ิงฟา้ มหาภมู พิ ล
ชื่อผลงาน “ในหลวง ร.9”
ขนาด 50 x 35 cm. / เทคนิค สีน้ำ�บนกระดาษ / ปีที่สร้างสรรค์ 2018
ผลงานสร้างสรรค์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดือนฉายผู้ชนะ ภู่ประเสริฐ
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
50