The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

plan-ebook63

plan-ebook63

เท่ากับสินคา้ ท่ีตรวจนบั ไดโ้ อนผลต่างนไี้ ปสบู่ ัญชตี ้นทนุ ขาย หรือค่าใชจ้ ่ายแลว้ แต่กรณี

21. เปรยี บเทียบการบนั ทึกบญั ชสี นิ ค้าคงเหลอื แบบส้ินงวด และแบบต่อเนอื่ งได้ (จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการ

เรียนร้ขู อ้ ท่ี 4)

วิธีการบนั ทกึ บญั ชีสินค้า กรณไี มม่ ีภาษมี ลู คา่ เพ่ิม

การบันทึกบญั ชีทัง้ สองวธิ เี ป็นดงั นี้

รายการคา้ วิธบี ันทกึ บญั ชีสินคา้ เมือ่ สนิ้ งวด วิธบี นั ทกึ บญั ชสี นิ คา้ แบบต่อเน่อื ง

1. เมือ่ ซ้อื สนิ ค้าเปน็ เงินสด บญั ชีซื้อสนิ คา้ XX บญั ชีสินค้า XX

บญั ชเี งนิ สด XX บญั ชีเงินสด XX

2. เมื่อส่งคืนสินค้าจากการซื้อ บญั ชเี งนิ สด XX บัญชีเงนิ สด XX

เงนิ สด บัญชสี ง่ คืนสินค้า XX บญั ชสี นิ ค้า XX

3. เมอื่ ซอื้ สินค้าเป็นเงินเชอ่ื บัญชีซอ้ื สนิ ค้า XX บญั ชสี ินค้า XX

บญั ชีเจ้าหนี้ XX บัญชเี จา้ หน้ี XX

4. เมื่อส่งคืนสินค้าจาการซ้ือ บญั ชีเจ้าหน้ี XX บญั ชีเจ้าหน้ี XX

เป็นเงินเชื่อ บญั ชสี ่งคนื สินคา้ XX บัญชสี นิ คา้ XX

5. เมื่อชำระหน้ีให้ เจ้าหน้ี บญั ชีเจา้ หนี้ XX บัญชเี จ้าหนี้ XX

(ไมไ่ ด้ส่วนลด) บญั ชีเงนิ สด XX บญั ชเี งินสด XX

6. เม่อื ชำระหนีแ้ ละไดส้ ่วนลด บญั ชเี จ้าหน้ี XX บัญชเี จ้าหน้ี XX

บญั ชีเงนิ สด XX บญั ชเี งินสด XX

บัญชีสว่ นลดรบั XX บัญชสี นิ คา้ XX

7. เมอื่ จา่ ยค่าขนสง่ เขา้ บัญชคี า่ ขนสง่ เข้า XX บญั ชสี ินคา้ XX

บญั ชเี งนิ สด XX บัญชเี งินสด XX

8. เมื่อจ่ายค่าขนส่งแทนกรณี บญั ชีลกู หน้ี – ผ้ขู าย XX บญั ชลี ูกหนี้ – ผู้ขาย XX

ซอ้ื สนิ คา้ เปน็ เงนิ สด บัญชเี งนิ สด XX บญั ชเี งินสด XX

9. เม่ือจ่ายค่าขนส่งแทนกรณี บญั ชเี จ้าหน้ี – ผู้ขาย XX บัญชเี จ้าหน้ี – ผขู้ าย XX

ซ้อื สนิ ค้าเป็นเงนิ เชอื่ บัญชีเงนิ สด XX บญั ชีเงนิ สด XX

10. เมอ่ื ขายสนิ ค้าเป็นเงินสด บัญชเี งินสด XX บญั ชีเงินสด XX

บัญชขี ายสินคา้ XX บัญชีขายสนิ ค้า XX

ไม่มกี ารบันทกึ ต้นทุนขาย บัญชีต้นทนุ ขาย XX

บญั ชีสนิ ค้า XX

รายการค้า วธิ บี นั ทึกบัญชีสนิ คา้ เมือ่ สน้ิ งวด วธิ บี นั ทึกบัญชีสินค้าแบบตอ่ เน่ือง

11. เมื่อรับคนื สินคา้ เปน็ เงนิ สด บญั ชีรบั คนื สนิ ค้า XX บญั ชรี บั คนื สนิ คา้ XX

บัญชเี งินสด XX บญั ชเี งินสด XX

ไม่มีการบันทกึ ต้นทุนขาย บัญชสี ินคา้ XX

บัญชีตน้ ทุนขาย XX

12. เมื่อรบั คืนสินค้าเป็นเงินเช่ือ บญั ชีรบั คนื สนิ ค้า XX บัญชีรับคนื สนิ ค้า XX

บญั ชีลูกหนี้ XX บญั ชีลกู หน้ี XX

ไมม่ กี ารบนั ทกึ ต้นทนุ ขาย บญั ชสี ินค้า XX

บัญชตี ้นทนุ ขาย XX

13. เมือ่ รบั ชำระหนีจ้ ากลูกหน้ี บญั ชีเงนิ สด XX บัญชีเงินสด XX

บัญชลี ูกหน้ี XX บัญชีลูกหนี้ XX

14. เม่ือรับชำระหน้ีและให้ บัญชเี งินสด XX บัญชีเงินสด XX

ส่วนลด บญั ชสี ว่ นลดจ่าย XX บัญชสี ่วนลดจา่ ย XX

บัญชีลกู หน้ี XX บญั ชลี กู หน้ี XX

15. เมือ่ จา่ ยคา่ ขนสง่ ออก บัญชีค่าขนส่งออก XX บัญชีคา่ ขนส่งออก XX

บญั ชีเงินสด XX บญั ชเี งินสด XX

16. เม่ือจ่ายค่าขนส่งแทนกรณี บัญชีลูกหนี้ – ผู้ซอื้ XX บัญชลี กู หน้ี – ผซู้ ้ือ XX

ขายสินคา้ เป็นเงนิ สด / เงินเชอ่ื บญั ชเี งนิ สด XX บัญชเี งนิ สด XX

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
22. จดั เตรยี มอปุ กรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ าน ข้อมูลมีความถูกตอ้ ง ทันถ่วงทตี อ่ การใช้ขอ้ มลู
(จุดประสงคพ์ ฤติกรรมการเรียนรู้ข้อท่ี 5)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมนิ ผลกอ่ นเรียน-หลังเรียน โดยทำแบบทดสอบ
2. นำเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยทบทวนความรู้เดมิ
3. กิจกรรมการเรียน

3.1 ผสู้ อนและผูเ้ รยี นร่วมกนั อภิปรายเรอื่ งการบนั ทกึ บญั ชสี นิ คา้ คงเหลือแบบสิ้นงวด
และแบบตอ่ เนื่อง

3.2 เปรียบเทยี บการบนั ทกึ บญั ชสี นิ ค้าคงเหลือแบบสิน้ งวด และแบบต่อเน่อื ง
3.3 ซักถามผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล

สือ่ การเรียนรู้

- หนงั สือเรียนวชิ าการบญั ชสี ินคา้

การวดั ผล/ประเมนิ ผล

10. การสงั เกต
- ความต้ังใจและสนใจของผเู้ รยี น
- ความร่วมมอื ในการอภิปราย
- การแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมเี หตผุ ล

11. การตรวจผลงานภาคปฏิบัติ
- กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
- แบบทดสอบเพื่อประเมนิ ผลหลงั การเรียนรู้

12. การทดสอบด้วยวาจาและข้อเขยี น
- ตรวจแบบทดสอบ
- ต้งั คำถามใหต้ อบและอธิบาย

การบูรณาการ / ความสมั พันธก์ บั วิชาอนื่

16. ความสัมพันธ์กบั วิชาภาษาไทย เพอื่ รณรงคก์ ารใช้ภาษาไทยอยา่ งถูกตอ้ ง
17. ความสมั พันธ์กับวชิ าเศรษฐศาสตร์ เพื่อตระหนักถงึ การใชท้ รัพยากรให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ
18. ความสัมพันธ์กับวิชาเทคโนโลยี เพือ่ นำมาประยุกตใ์ ชอ้ ย่างเหมาะสม ช่วยให้การทำงานสะดวก รวดเรว็

มากยิง่ ขึน้
19. ความสมั พนั ธท์ างด้านบุคลกิ ภาพ เพ่ือพัฒนาและฝกึ ฝนบุคลกิ ภาพของผเู้ รียนใหด้ ียิ่งขน้ึ
20. ความสัมพนั ธก์ บั แม่บทการบัญชแี ละมาตรฐานการบัญชฉี บบั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เพือ่ จัดทำบญั ชีให้เปน็ ไปตาม

หลกั การบัญชีทร่ี บั รองทว่ั ไป

แบบบนั ทกึ การสังเกตการณท์ ำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น

พฤติกรรม/ รับผิดชอบ ประสาน ร่วมแสดง
สามัคคใี น แนะนำวธิ ี ความ
ระดบั งานที่
ไดร้ ับ รว่ มมอื ใน กลุม่ ขณะ ทำงาน
ลำดบั คะแนน มอบหมาย การดำเนิน ทำงาน และ คิดเหน็ ที่ รวม
ท่ี ชว่ ยเหลอื เปน็ คะแนน
กิจกรรม ร่วมกัน
ประโยชน์
เพอ่ื น ตอ่ งาน
ชอ่ื -สกุล

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20
21
22

คำช้ีแจง ให้สงั เกตและพจิ ารณาพฤตกิ รรมของผู้เรยี นแตล่ ะคน และเขยี นเครื่องหมาย  ลงในช่องวา่ ง

ระดับคะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับสูง
ระดบั 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง
ระดบั 1 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดบั ตำ่

บนั ทกึ หลงั การสอน

บนั ทกึ ขอ้ คิดเห็นของผู้สอน

10. แผนการสอน

เวลาสอนท่กี ำหนดไว้

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม

เน้อื หาสาระ

 มาก  น้อย  เหมาะสม

1.3 ผลท่ไี ด้หลังจากการสอนตามแผน

 มาก  น้อย  เหมาะสม

ความคิดเหน็ เพมิ่ เตมิ ................................................................................................

11. ผเู้ รยี น

พฤตกิ รรมความสนใจในการเรยี น

 มากขน้ึ  เทา่ เดมิ  น้อยลง

ความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................................

เปรียบเทียบผลการเรียนจากเดิม

 เปล่ยี นแปลงมากขนึ้  เปล่ยี นแปลงนอ้ ยลง  ไม่เปล่ียนแปลง

ความคิดเหน็ เพ่ิมเติม ................................................................................................

12. ผู้สอน  มากขึน้  เทา่ เดิม  น้อยลง
3.1 สอนได้มนั่ ใจ  มาก  น้อย  ไมท่ นั เวลา
3.2 สอนทนั เวลา  มากขึ้น  เทา่ เดมิ  น้อยลง
3.3 สอนเน้ือหา

ลงชือ่ ...............................................ผ้สู อน
(..................................................)

แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน หน่วยที่ 3

จงเลือกคำตอบทีเ่ ห็นวา่ ถกู ต้องท่สี ุด เพียงคำตอบเดยี ว

1. การบนั ทกึ บญั ชีแบบสิน้ งวด จะไม่มีการบันทึกบัญชใี ด
ก. ซือ้ สนิ ค้า
ข. ขายสนิ คา้
ค. สินค้า
ง. สว่ นลดรับ

2. การบนั ทึกบญั ชีแบบต่อเน่ือง เมอ่ื มีการซอื้ สินค้าเปน็ เงินสดจะบนั ทึกบัญชีโดยเดบิตบัญชีอะไร
ก. ซื้อสินคา้
ข. สนิ คา้
ค. เงินสด
ง. ลูกหนี้

3. การบนั ทึกบัญชีแบบใด เป็นวิธที ่ีงา่ ยและนยิ มใช้โดยทั่วไป
ก. การบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด
ข. การบนั ทกึ บญั ชแี บบตอ่ เนื่อง
ค. การบนั ทกึ บัญชีแบบบญั ชเี ด่ยี ว
ง. การบันทึกบญั ชีแบบระบบใบสำคญั

4. กิจการซ้อื ขายรถยนต์ จะใชว้ ิธกี ารบันทึกบัญชีแบบใด
ก. การบนั ทึกบญั ชแี บบสนิ้ งวด
ข. การบนั ทึกบญั ชีแบบต่อเนอ่ื ง
ค. การบนั ทึกบญั ชีแบบบญั ชเี ด่ียว
ง. การบนั ทึกบัญชแี บบระบบใบสำคัญ

5. ในหา้ งสรรพสนิ ค้าใหญ่ ถ้าเราไปซอ้ื สินค้าใน Super Market ทางหา้ งฯ จะบนั ทึกบัญชแี บบใด
ก. การบนั ทกึ บัญชแี บบสิ้นงวด
ข. การบันทกึ บญั ชีแบบต่อเน่ือง
ค. การบันทึกบัญชแี บบบญั ชเี ด่ียว
ง. การบนั ทึกบัญชีแบบระบบใบสำคัญ

ต่อไปน้ีเป็นข้อมูลบางสว่ นของร้านขวัญ ซ่ึงใช้เป็นหลักในการพิจารณาตอบคำถามข้อ 6 – 10
โดยเลือกเอาคำตอบทถี่ กู ตอ้ งมากทสี่ ดุ

2551
8 ม.ค.ซือ้ สนิ คา้ เปน็ เงนิ เชือ่ จากร้านกนก 100 หนว่ ย ราคาทนุ หน่วยละ

400 บาท และจ่ายค่าขนสง่ ขาเขา้ เปน็ เงินสด 1,000 บาท
12 ม.ค. ส่งสินคา้ คนื ให้รา้ นกนก 10 หน่วย เพราะพบวา่ สินค้าชำรุด
23 ม.ค. ขายสินค้าเปน็ เงนิ เชือ่ ให้ร้านขนนุ 80 หนว่ ย ราคาขายหนว่ ยละ

450 บาท (ราคาทนุ หนว่ ยละ 400 บาท)
24 ม.ค. ชำระหนใ้ี ห้ร้านกนกไดส้ ่วนลด 2%
26 ม.ค. รับชำระหนี้จากร้านขจัดภยั โดยให้ส่วนลด 2%
สมมตุ ิวา่ กิจการใชว้ ธิ กี ารบนั ทึกบัญชีแบบ Perpetual Inventory method

6. รายการคา้ ของร้านขวัญ ณ วนั ที่ 8 ม.ค. 2551 ลงบญั ชดี งั นี้

ก. เดบิต สินคา้ 40,000

เครดติ เจ้าหน้ี – รา้ นกนก 40,000

เดบติ สินคา้ 1,000

เครดิต เงนิ สด 1,000

ข. เดบิต ซอื้ 41,000

เครดติ เจ้าหน้ี – รา้ นกนก 41,000

ค. เดบติ ซือ้ 40,000

เดบติ ค่าขนส่งขาเขา้ 1,000

เครดติ เจ้าหนี้ 40,000

เครดิต เงนิ สด 1,000

ง. ไม่มขี อ้ ใดถกู

7. รายการคา้ ณ วันท่ี 12 ม.ค. 2551 ควรบันทึกบญั ชดี งั น้ี

ก. เดบติ สง่ คืน 4,000

เครดติ สนิ คา้ 4,000

ข. เดบติ เจา้ หน้ี – รา้ นกนก 4,000

เครดติ สนิ ค้า 4,000

ค. เดบติ เงินสด 4,000

เครดิต สนิ คา้ 4,000
ง. เดบิต เจา้ หนี้ – ร้านกนก 4,000

เครดติ ส่งคนื 4,000

8. รายการค้า ณ วันท่ี 23 ม.ค. 2551 ควรบันทึกบัญชดี ังนี้

ก. เดบิต ลูกหน้ี – รา้ นขนุน 36,000

เครดติ ขาย 36,000
32,000
เดบิต ต้นทนุ ขาย 32,000 36,000
36,000
เครดิต สินคา้ 32,000

ข. เดบติ ลูกหนี้ – ร้านขนนุ 36,000 32,000
36,000
เครดิต ขาย
36,000
ค. เดบติ ลูกหนี้ – รา้ นขนนุ 36,000 35,280

เครดติ ขาย 720
39,200
เดบติ สนิ ค้า 32,000
800
เครดิต ตน้ ทนุ ขาย

ง. เดบิต ลกู หน้ี – รา้ นขนนุ 36,000

เดบิต ต้นทุนขาย 32,000

เครดิต ขาย

เครดิต สนิ คา้

9. รายการคา้ ณ วันท่ี 24 ม.ค. 2551 ควรบนั ทึกบัญชีดังน้ี

ก. เดบิต เงินสด 36,000

เครดติ เจา้ หน้ี

ข. เดบติ เจ้าหนี้ – ร้านกนก 36,000

เครดติ เงินสด

เครดิต สนิ ค้า

ค. เดบิต เจ้าหน้ี 40,000

เครดิต เงินสด

เครดิต สว่ นลดรบั

ง. เดบิต เจา้ หนี้ 36,000

เครดิต เงนิ สด 35,280
800
เครดติ ส่วนลดรบั
36,000
10. รายการค้า ณ วันที่ 26 ม.ค. 2551 ลงบัญชดี ังน้ี 36,000

ก. เดบติ เงนิ สด 35,280 720

เดบติ สนิ คา้ 720 36,000

เครดิต ลกู หนี้ – รา้ นขนุน

ข. เดบิต เงนิ สด 36,000

เครดิต ลกู หนี้

เดบติ สว่ นลดจ่าย 720

เครดติ เงนิ สด

ค. เดบิต เงินสด 35,280

เดบติ สว่ นลดจา่ ย 720

เครดิต ลกู หน้ี – รา้ นขนนุ

ง. ไมม่ ขี อ้ ใดถูก

เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน หน่วยที่ 3

1. ค.
2. ข.
3. ก.
4. ก.
5. ข.
6. ก.
7. ข.
8. ก.
9. ข.
10. ก.

บนั ทกึ หลังการสอน

ผลการใช้แผนการสอน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยท่ี 4

ชื่อวิชา การบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคญั สอนสัปดาห์ท่ี 9-11
ชอ่ื หนว่ ย การตีราคาสินค้าคงเหลือราคาทุน คาบรวม 9

ชอื่ เรอื่ ง. การตีราคาสนิ คา้ คงเหลือราคาทนุ จำนวนคาบ 9

หัวข้อเรอื่ ง

ดา้ นความรู้

1. บอกวิธีการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ได้

2. อธิบายการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุนได้

ดา้ นทกั ษะ

10. เปรยี บเทยี บผลของการตีราคาสนิ คา้ คงเหลอื ตามวธิ ีตา่ ง ๆ ได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม

8. จัดเตรยี มอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ขอ้ มลู มคี วามถูกต้อง ทันถว่ งทตี ่อการใช้ขอ้ มูล

สาระสำคญั

ในทางปฏิบัติมักจะเกิดปัญหาในด้านการตีราคาสินค้าคงเหลือเกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา ซึ่งจะมีผลทำให้เกิด

ปญั หาแก่กิจการคา้ นน้ั ๆ วา่ กจิ การควรจะใช้ราคาใดจึงจะเหมาะสม ท้ังนเี้ พราะราคาของสนิ คา้ คงเหลือน้ัน มี

ความสำคัญต่อการคำนวณหาผลกำไรขาดทุนของธุรกิจประเภทต่าง ๆ ในด้านการคำนวณหาต้นทุนสินค้าที่ขาย

และราคาของสนิ คา้ คงเหลือท่ีจะแสดงเป็นทรัพย์สินหมนุ เวียนในงบดลุ กลา่ วคอื ถ้ากิจการใดคำนวณหาต้นทุนสินค้า

ท่ีขายสูงเกินไปก็จะมีผลทำให้กำไรของกิจการค้าน้ันมียอดต่ำไปด้วย และสินค้าคงเหลือท่ีจะแสดงในงบดุลก็จะมี

ยอดต่ำไปด้วย แต่โดยปกติแล้วกิจการค้าส่วนมากมักจะใช้ราคาทุนของสินค้านั้น ๆ เป็นหลักเพ่ือให้สอดคล้อง

กับหลักการคำนวณหาผลกำไร อนั ควรจะเกิดข้ึนนัน้ จากการนำเอายอดรายได้และรายจ่ายท่ีเกิดขึ้นจากการหา

รายได้น้ันมาทำการเปรียบเทียบกัน และเป็นไปตามหลัก Accounting concept ที่ว่าด้วยการใช้ราคาทุนเป็น

หลักในการบันทึกบัญชี สำหรับวิธีที่กิจการค้านิยมใช้ในทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคำนวณหาราคาทุนของสินค้าที่ขาย

และสนิ คา้ คงเหลือ ณ วันสิ้นงวด มีหลายวิธีโดยต่างก็ยดึ เอาราคาทนุ (Historical cost) เป็นหลัก

สาระการเรยี นรู้

18. วิธีการตีราคาสนิ ค้าคงเหลือ

19. การตีราคาสนิ คา้ คงเหลือราคาทนุ

a. วิธเี จาะจง

b. วธิ ีถวั เฉล่ียถ่วงน้ำหนัก
c. วธิ ีเข้าก่อน ออกกอ่ น
d. วธิ ีเขา้ หลัง ออกก่อน
20. การเปรยี บเทยี บผลของการตีราคาสินค้าคงเหลือตามวธิ ีตา่ ง ๆ

จดุ ประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นรู้

23. บอกวิธกี ารตรี าคาสินค้าคงเหลือได้ (ด้านความรู้)
24. อธิบายการตีราคาสนิ คา้ คงเหลือตามราคาทนุ ได้ (ดา้ นความรู้)
25. เปรยี บเทยี บผลของการตีราคาสินคา้ คงเหลอื ตามวิธตี า่ ง ๆ ได้ (ด้านทักษะ)
26. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

(ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม)

เน้ือหาสาระการสอน / การเรียนรู้

ดา้ นความรู้
23. วธิ กี ารตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นรขู้ อ้ ท่ี 1)
เม่ือสำรวจตรวจสินค้าคงเหลือของกิจการได้จำนวนสินค้าแตล่ ะชนิดแลว้ ข้ันตอนต่อไปคือ การกำหนด

ราคาสินคา้ คงเหลือแต่ละชนิดจะเป็นราคาเทา่ ไร ถา้ กิจการมีสินค้าไมม่ ากชนิด การกำหนดราคาคงไม่ยุ่งยาก คง
หาราคาท่แี ท้จริงของสินค้าแตล่ ะชนิดได้ โดยไม่ต้องใช้เวลาค้นหานาน ในทางปฏบิ ัติกิจการใหญ่มีสินค้าเป็นพัน
ๆ ชนิด แต่ละชนิดราคาที่ซ้ือไม่เท่ากัน สินค้าบางชนิดราคามีแนวโน้มสูงขึ้น บางชนิดราคาเปล่ียนแปลง
ตลอดเวลา โดยเฉพาะสินค้าทสี่ ั่งซอื้ จากตา่ งประเทศ อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเปลยี่ นแปลงไป มผี ล
ทำให้ราคาสินค้าที่ซ้ือมาแต่ละคร้ังเปล่ียนไป จึงมีปัญหาว่าจะใช้ราคาไหนในการกำหนดเป็นราคาสินค้าคงเหลือ
แตล่ ะชนิด

24. การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุน (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ที่ 2)
การคำนวณต้นทนุ สนิ ค้าคงเหลือของแต่ละกิจการ มีความแตกต่างกันข้นึ อยู่กับลักษณะการดำเนินงานของแต่ละ
กจิ การ และสินคา้ คงเหลือแตล่ ะหนว่ ยของกิจการอาจจะมมี ูลค่าไมเ่ ท่ากัน ขึ้นอยู่กับความแตกตา่ งของรายการท่ี
เกิดข้ึน ดงั น้ัน ถ้าสามารถระบชุ ชี้ ดั ได้วา่ สนิ ค้าคงเหลือมีมลู คา่ เทา่ ใด เปน็ สินค้าอะไรจำนวนไหน กจ็ ะสง่ ผลให้
งบการเงินของกจิ การ แสดงผลการดำเนินงานและฐานะของกิจการไดช้ ดั เจนหรอื ใกล้เคียงกบั สภาพความเป็นจรงิ

ส่วนวิธีการคำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือที่ใช้โดยทั่วไป คือ การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคา
ทนุ วิธีการน้ีเหมาะสำหรับกจิ การท่มี ีชนดิ สินค้าไมม่ ากนกั และสามรถตรวจนบั ได้โดยสะดวก สินค้าคงเหลอื ของ
กจิ การมาจากสินคา้ ท่ีผลติ เสรจ็ มปี ริมาณแตกต่างกันและราคาทุนมกั จะไม่เทา่ กัน จึงเป็นการยากทีจ่ ะระบวุ ่าสินค้า
ทจ่ี ำหน่ายออกไป และสนิ ค้าคงเหลือมีราคาทนุ เท่าใด

การตีราคาสนิ ค้าคงเหลือตามราคาทุนแบง่ เปน็ 4 วธิ ี คอื
1. วิธีราคาเจาะจง (Specific Identification)
2. วธิ ถี ัวเฉล่ียถว่ งน้ำหนกั (Weighted Average Method)
3. วธิ ีเข้ากอ่ น – ออกกอ่ น (First – in, First – out Method (FIFO))
4. วิธีเข้าหลัง – ออกกอ่ น (Last – in, First – out Method (LIFO))
1. วิธรี าคาเจาะจง (Specific Identification)
เป็นวธิ ีการคำนวณต้นทุนสินค้าคงเหลือ ท่ีสามารถระบุได้แน่นอนว่า เป็นสินค้าที่ผลิตครั้งไหน
หรอื ซื้อมาเมื่อใด และมีราคาทุนเท่าใด ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้าราคาสงู ชิ้นใหญ่ จำนวนสินค้านอ้ ยช้ิน วธิ นี ้ีไม่
เหมาะกับกิจการที่จำหน่ายสินค้ามากชนิด กิจการท่ีนิยมใช้วิธีเจาะจง เช่น จำหน่ายเคร่ืองจักร จำหน่าย
รถยนต์ เปน็ ตน้
มาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 31 เร่ือง สินค้าคงเหลือ กล่าวว่า “ต้นทุนตามวิธีราคาเจาะจง
เปน็ วิธีการบนั ทึกต้นทนุ ทีเ่ จาะจงได้ในสนิ คา้ คงเหลือ เฉพาะตัวแต่ละราย วธิ ีน้ีจึงเหมาะท่จี ะใช้กบั การผลิต เพ่ือ
โครงการหนึง่ โครงการใดโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องคำนึงวา่ สินคา้ คงเหลอื ดงั กล่าวจะซื้อมาหรือผลติ ข้นึ เอง อย่างใดก็
ดี การบันทึกต้นทุนตามวิธีราคาเจาะจงไม่เหมาะสมกับกรณีนี้ สินค้าคงเหลือมีจำนวนรายการมาก และมี
ลักษณะสับเปลี่ยนกันได้โดยปกติ ดังเช่นธุรกิจท่ัว ๆ ไป ซ่ึงมีสินค้าคงเหลือชนิดเดียวกันหรือหลายชนิดเป็น
จำนวนมาก และแต่ละชน้ิ มลี ักษณะเหมือนกนั จงึ เปน็ การยากทจ่ี ะกำหนดราคาเฉพาะของสินค้าคงเหลือนั้น หาก
ใช้วธิ ีราคาเจาะจงในการตีราคาสินค้าคงเหลือในกรณีดังกลา่ ว อาจจะเป็นช่องทางในการกำหนดผลกำไรหรอื ขาดทุน
ได้ลว่ งหนา้ สำหรับงวดบญั ชีน้นั ๆ”
2. วิธีถวั เฉลยี่ ถ่วงน้ำหนัก (Weighted – Average Method)
การตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุนตามวิธีถัวเฉลย่ี ถ่วงน้ำหนัก ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี
31 เรอ่ื ง สินคา้ คงเหลอื ได้กำหนดแนวทางใหถ้ อื ปฏิบตั ิ ดังน้ี “จะพิจารณาด้วยการถัวเฉล่ียตน้ ทุนของสนิ ค้าท่ี
เหมอื นกนั ณ วันต้นงวดกบั ต้นทุนท่ซี ื้อมา หรือผลิตขึ้นในระหวา่ งงวด วิธีการคำนวณถัวเฉล่ียอาจคำนวณเป็น
ระยะ ๆ ไป หรอื คำนวณทกุ ครงั้ ท่ีได้รับสินค้า ทั้งนี้ ขน้ึ อยู่กบั สภาพของกจิ การ
3. วิธเี ข้าก่อน – ออกกอ่ น (First – In, First – Out Method)
หรืออาจจะเรียกย่อ ๆ ว่า FIFO เป็นวิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุน ซ่ึงวิธีการนี้มีข้อ
สมมติเก่ียวกับการไหลเวียนของสินค้า และการไหลเวียนของต้นทุนสินค้าคือสินค้ารายการที่ซื้อมาหรือผลิตขึ้น
ก่อนจะขายออกไปก่อน จึงเป็นผลให้รายการสินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นสินค้าที่ซื้อมาหรือผลิตข้ึนในคร้ังหลัง
(จากสมาคมนกั บัญชีและผสู้ อบบัญชรี บั อนญุ าตแหง่ ประเทศไทย มาตรฐานการบัญชฉี บับที่ 31 เมษายน 2540
เรอ่ื งสินค้าคงเหลือ)
4. วิธเี ขา้ หลงั – ออกกอ่ น (Last – In, First – Out Method)

หรืออาจจะเรียกย่อ ๆ ว่า LIFO เป็นวิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุน ซึ่งตาม
มาตรฐานการบญั ชี ฉบับท่ี 31 เร่อื งสินค้าคงเหลอื กลา่ วว่า “วิธีเข้าหลงั – ออกก่อน มีขอ้ สมมติว่าสินค้าทีซ่ ื้อ
มาหรือผลิตขึ้นครงั้ หลงั สุดจะขายออกไปก่อน จึงเป็นผลใหร้ ายการสินค้าคงเหลอื ปลายงวดเป็นสินคา้ ทีซ่ ้ือมาหรือ
ผลิตข้ึนในคร้ังแรก ๆ” การตีราคาสินค้าคงเหลือ วิธีน้ีสามารถใช้กับระบบบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเน่ืองและ
แบบสิ้นงวดได้ ซ่ึงการตีราคาต้นทุนสินค้าคงเหลอื ตามวิธนี ้ีถือว่าราคาต้นทุนของสินค้าท่ีซื้อมาคร้ังแรก ๆ ไล่ลง
มาตามลำดับจะถกู สมมติว่าเป็นราคาต้นทนุ ของสนิ คา้ คงเหลือในมือ ณ วันสิ้นงวด สว่ นต้นทุนของสนิ ค้าทขี่ าย
จะมียอดเทา่ กบั ต้นทนุ ของสินค้าทก่ี ิจการคา้ ซ้ือเข้ามาคร้งั หลงั สุดไลข่ ึ้นไปตามลำดับ นั่นคือวิธี LIFO ถือว่าสินค้า
ทซี่ ้ือเขา้ มาหลงั สุดจะถกู นำออกไปขายให้แกล่ ูกคา้ กอ่ นสนิ ค้าที่ซอื้ เข้ามากอ่ น
ดา้ นทกั ษะ

25. บนั ทกึ บญั ชสี นิ ค้าคงเหลอื แบบตอ่ เน่ืองได้ (จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรียนร้ขู ้อท่ี 3)
ตอ่ ไปนเ้ี ป็นตัวอยา่ งทแี่ สดงถึงผลทไ่ี ด้จากการตรี าคาสินค้าคงเหลือในราคาทนุ โดยใชว้ ธิ กี ารคำนวณทั้ง 3 วิธี

วธิ เี ข้ากอ่ นออกกอ่ น (FIFO) วิธีถัวเฉลี่ยถว่ งนำ้ หนกั (Weighted วธิ ีเขา้ หลังออกก่อน (LIFO)

Average)

พ.ศ. ขาย ต้นทนุ ขาย กำไร เปอร์เซ็นต์ ตน้ ทนุ ขาย กำไร เปอร์เซ็นต์ ตน้ ทนุ กำไรขนั้ ต้น เปอรเ์ ซ็นต์

ขั้นต้น กำไรขัน้ ต้น ข้นั ต้น กำไรขั้นตน้ ขาย กำไรขนั้ ตน้

ต่อขาย ต่อขาย ต่อขาย

2547 4,500 2,800 1,700 37.8 2,858 1,642 36.5 3,000 1,500 33.3

2548 5,400 3,200 2,200 40.7 3,304 2,096 38.8 3,600 1,800 33.3

2549 4,988 3,575 1,413 28.3 3,384 1,604 32.2 3,350 1,638 32.8

2550 3,938 3,075 863 21.9 3,104 834 21.2 2,700 1,238 31.4

18,826 12,650 6,176 32.8% 12,650 6,176 32.8% 12,650 6,176 32.8%

ถงึ แม้ว่าการหาต้นทุนรวมของสินค้าทขี่ ายไป และกำไรขั้นต้นรวมเปน็ ไปเหมือน ๆ กันในงวด
4 ปี ภายใต้วธิ ีการคำนวณแตล่ ะวิธกี ็ตาม แต่การใชว้ ิธี FIFO จะมีผลทำให้กำไรข้นั ตน้ สูงข้ึนในงวดที่ระดบั ราคา
ข้ึนสูง และกำไรขั้นต้นจะลดลงในงวดท่ีระดับราคาสินค้าตกลง ในขณะท่ีวิธี LIFO จะให้เปอร์เซ็นต์ของกำไร
ขนั้ ต้นค่อนข้างจะคงท่ีแทนท่จี ะมีราคาข้ึน ๆ ลง ๆ ตรงกันข้ามวิธี Weighted Average Method จะให้ผล
ที่เคยี งเมอ่ื เทียบกบั วิธี FIFO

ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
26. จดั เตรยี มอปุ กรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมคี วามถูกต้อง ทนั ถว่ งทตี ่อการใช้ข้อมูล
(จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นร้ขู ้อที่ 4)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมินผลกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น โดยทำแบบทดสอบ
2. นำเข้าสบู่ ทเรียนโดยทบทวนความรู้เดิม
3. กิจกรรมการเรยี น

3.1 ผ้สู อนและผู้เรยี นร่วมกันอภปิ รายเรือ่ งการตรี าคาสินค้าคงเหลือ
3.2 แบ่งกลุม่ ผเู้ รียนมารายงานหนา้ ชนั้ เรียนเร่อื งการตีสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุนและวิธีตา่ งๆ
3.3 ซักถามผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล

สื่อการเรยี นรู้

- หนังสือเรียนวชิ าการบัญชีสินคา้

การวัดผล/ประเมนิ ผล

13. การสังเกต
- ความต้ังใจและสนใจของผู้เรียน
- ความรว่ มมอื ในการอภปิ ราย
- การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

14. การตรวจผลงานภาคปฏิบัติ
- กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
- แบบทดสอบเพอื่ ประเมนิ ผลหลังการเรียนรู้

15. การทดสอบด้วยวาจาและข้อเขียน
- ตรวจแบบทดสอบ
- ตง้ั คำถามใหต้ อบและอธบิ าย

การบรู ณาการ / ความสัมพันธก์ ับวชิ าอืน่

21. ความสัมพันธ์กับวชิ าภาษาไทย เพอื่ รณรงคก์ ารใชภ้ าษาไทยอยา่ งถกู ตอ้ ง
22. ความสมั พันธ์กบั วชิ าเศรษฐศาสตร์ เพอื่ ตระหนกั ถงึ การใชท้ รัพยากรให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด
23. ความสมั พันธก์ ับวิชาเทคโนโลยี เพื่อนำมาประยกุ ตใ์ ชอ้ ย่างเหมาะสม ชว่ ยให้การทำงานสะดวก รวดเร็ว

มากยิ่งขน้ึ
24. ความสัมพนั ธ์ทางด้านบุคลิกภาพ เพอ่ื พฒั นาและฝกึ ฝนบุคลกิ ภาพของผเู้ รียนให้ดีย่ิงขึ้น
25. ความสมั พันธ์กับแมบ่ ทการบญั ชีและมาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่เี กีย่ วขอ้ ง เพ่อื จัดทำบญั ชใี หเ้ ป็นไปตาม

หลักการบัญชที ีร่ ับรองท่วั ไป

26. แบบบนั ทึกการสงั เกตการณท์ ำงานรว่ มกับผู้อน่ื

พฤติกรรม/ รบั ผิดชอบ ประสาน ร่วมแสดง
สามคั คใี น แนะนำวิธี ความ
ระดับ งานท่ี
ได้รบั รว่ มมอื ใน กลมุ่ ขณะ ทำงาน
ลำดบั คะแนน มอบหมาย การดำเนิน ทำงาน และ คิดเห็นที่ รวม
ท่ี ช่วยเหลอื เป็น คะแนน
กิจกรรม ร่วมกนั
ประโยชน์
เพอื่ น ต่องาน
ชอื่ -สกลุ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18

19
20
21

คำชแ้ี จง ให้สงั เกตและพจิ ารณาพฤตกิ รรมของผู้เรยี นแต่ละคน และเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในช่องว่าง

ระดบั คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มพี ฤตกิ รรมในระดับสงู
ระดบั 2 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ปานกลาง
ระดบั 1 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดบั ต่ำ

บนั ทึกหลังการสอน

บันทกึ ข้อคิดเหน็ ของผู้สอน

13. แผนการสอน

เวลาสอนทีก่ ำหนดไว้

 มาก  น้อย  เหมาะสม

เน้อื หาสาระ

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม

1.3 ผลท่ไี ดห้ ลงั จากการสอนตามแผน

 มาก  น้อย  เหมาะสม

ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม ................................................................................................

14. ผเู้ รียน

พฤตกิ รรมความสนใจในการเรียน

 มากขึน้  เท่าเดมิ  นอ้ ยลง

ความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ ................................................................................................

เปรยี บเทยี บผลการเรยี นจากเดิม

 เปลย่ี นแปลงมากขึน้  เปลีย่ นแปลงน้อยลง  ไม่เปลี่ยนแปลง

ความคดิ เห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................................

15. ผสู้ อน

3.1 สอนไดม้ น่ั ใจ  มากข้ึน  เท่าเดมิ  น้อยลง

3.2 สอนทันเวลา  มาก  นอ้ ย  ไม่ทันเวลา

3.3 สอนเนือ้ หา  มากข้นึ  เทา่ เดมิ  น้อยลง

ลงช่ือ...............................................ผู้สอน
(..................................................)

แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน หน่วยท่ี 4

เลอื กคำตอบข้อท่เี หน็ ว่าถกู ต้องที่สุด เพยี งคำตอบเดียว

1. ถา้ กจิ การตอ้ งการแสดงราคาสินค้าคงเหลือในงบดุลใหร้ าคาใกล้เคยี งกับราคาสินค้าในตลาดปัจจุบนั
กิจการตอ้ งใช้ระบบ
ก. FIFO
ข. Specific Identification
ค. Weighted Average
ง. LIFO

2. ถ้ากิจการต้องการให้ต้นทุนสินค้าขายสินค้าของกิจการตัวเลขใกล้เคียงกับราคาสินค้า ในปัจจุบัน
กจิ การจะตอ้ งใชว้ ธิ ีคำนวณหาสนิ ค้าระบบ
ก. FIFO
ข. LIFO
ค. Retail
ง. Weighted Average

3. บริษัท มหาชัย จำกัด เร่ิมดำเนินกจิ การค้าในปี 2550 โดยมีสินค้าคงเหลือมาลงทุนในวนั ต้นงวด
140,000 บาท ยอดซ้ือตลอดงวด 3 เดือน เป็นเงิน 300,000 บาท ยอดขายในช่วงเดียวกัน
จำนวน 500,000 บาท กำไรขน้ั ตน้ ถัวเฉลี่ย 45% ของยอดขาย ถ้ากิจการใช้วิธีการตีราคาสินค้า
โดยอาศัยกำไรขน้ั ต้น สินค้าคงเหลือในวนั ที่ 31 มนี าคม 2551 จะมีจำนวนเงนิ เทา่ กบั
ก. 165,000 บาท
ข. 225,000 บาท
ค. 275,000 บาท
ง. 215,000 บาท

4. ร้านสุรศกั ดิ์ สง่ คืนสินค้าท่ีซ้อื เชื่อมา 60,000 บาท กิจการใชร้ ะบบสินค้าแบบต่อเน่ือง การบันทึก
รายการในสมดุ รายวนั ทางดา้ นเครดิต คือ
ก. บัญชซี ้ือ
ข. บญั ชสี นิ ค้าส่งคนื และส่วนลด
ค. บัญชีสนิ ค้า
ง. บัญชีเจา้ หนี้ – การคา้

บริษัท เอกสยาม จำกัด แสดงยอดซ้ือสำหรับงวด 6 เดือน ส้ินสุด 30 มิถุนายน 2551

มรี ายการดงั ตอ่ ไปน้ี

จำนวนหนว่ ย ต้นทนุ รวม (บาท)

มกราคม 25 70 1,540

มีนาคม 8 50 1,200

เมษายน 18 90 2,200

พฤษภาคม 30 40 960

มถิ ุนายน 30 100 2,500

รวมซอ้ื สนิ ค้า 350 8,400

หมายเหตุ 1. สนิ ค้าคงเหลือ ณ 1 มกราคม 2551 มีจำนวน 50 หน่วย ราคาตน้ ทุนหนว่ ย
ละ 20 บาท

2. สินค้าคงเหลือ ณ 30 มิถนุ ายน 2551 มีจำนวน 140 หน่วย
3. ยอดขายท้ังหมดระหว่างงวดขายไปในราคาหน่วยละ 30 บาท
สมมติวา่ กจิ การใชว้ ิธกี ารบันทกึ บญั ชีแบบสน้ิ งวด
5. ต้นทุนสินค้าท้งั หมดทมี่ ีเพอื่ ขายของกิจการ ณ 30 มิถุนายน 2551 จะมียอดเทา่ กบั
ก. 400 หน่วย ตน้ ทุน 10,400 บาท
ข. 400 หน่วย
ค. 350 หน่วย ตน้ ทุนรวม 8,400 บาท
ง. 400 หนว่ ย มตี ้นทุนรวม 9,400 บาท
6. ถ้ากิจการใช้วิธีตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุนแบบถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ต้นทุนสินค้าคงเหลือ ณ
30 มิถนุ ายน 2551 จะมยี อดเทา่ กับ
ก. 3,080 บาท
ข. 3,640 บาท
ค. 3,360 บาท
ง. 3,290 บาท
7. ถ้ากิจการใชว้ ิธีตีราคาสินคา้ คงเหลอื ในราคาทนุ แบบ FIFO (เขา้ ก่อน – ออกกอ่ น) แล้วตน้ ทนุ สินคา้
คงเหลือ ณ 30 มถิ ุนายน 2551 จะมยี อดเท่ากบั
ก. 3,228 บาท

ข. 3,460 บาท
ค. 4,020 บาท
ง. 3,020 บาท

8. ถ้ากิจการใช้วิธีตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุนแบบ FIFO (เข้าก่อน – ออกก่อน) แล้ว ต้นทุน
สินคา้ ทข่ี ายจะเทา่ กับ
ก. 6,172 บาท
ข. 5,940 บาท
ค. 5,380 บาท
ง. 6,320 บาท

9. ถ้ากิจการใช้วิธีตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุนแบบเข้าหลัง – ออกก่อน (LIFO) ยอดต้นทุนสินค้า
คงเหลอื ของกิจการ ณ 30 มถิ นุ ายน 2551 มยี อดเท่ากับ
ก. 3,020 บาท
ข. 3,460 บาท
ค. 4,020 บาท
ง. 3,460 บาท

10. ถา้ กิจการใชว้ ิธกี ารตรี าคาสินคา้ คงเหลือในราคาทุนแบบเขา้ หลงั – ออกก่อน (LIFO) แลว้ ต้นทนุ
สนิ คา้ ทีข่ ายจะมียอดเทา่ กบั
ก. 6,380 บาท
ข. 5,540 บาท
ค. 5,380 บาท
ง. 5,940 บาท

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 4

1. ก.
2. ข.
3. ก.
4. ค.
5. ง.
6. ค.
7. ข.
8. ข.
9. ก.
10. ก.

บันทกึ หลังการสอน

ผลการใช้แผนการสอน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรยี น
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยที่ 5

ชือ่ วชิ า การบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคัญ สอนสัปดาห์ที่ 12-15

ช่อื หน่วย การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื และโดยการ คาบรวม 12
ประมาณการ

ชอ่ื เร่ือง. การตรี าคาสินค้าคงเหลือและโดยการประมาณการ จำนวนคาบ 12

หวั ขอ้ เรอ่ื ง

ดา้ นความรู้
3. ตรี าคาสนิ คา้ คงเหลือตามราคาทนุ หรือราคาตลาดทีต่ ่ำกวา่ ได้

ดา้ นทกั ษะ
11. คำนวณราคาสินค้าคงเหลอื ตามราคาทุนหรอื ราคาตลาดทีต่ ำ่ กว่าได้
12. บนั ทึกบัญชสี ินคา้ คงเหลอื ในราคาทุนหรือราคาตลาดทีต่ ่ำกว่าได้
13. ตรี าคาสินคา้ ทเ่ี สอื่ มคุณภาพ สินค้าล้าสมัย สนิ ค้ารับแลกเปล่ยี นและสนิ ค้าทย่ี ดึ คืนมาได้
14. ตรี าคาสินคา้ ในราคาขายได้
15. ตีราคางานก่อสร้างและบนั ทึกบัญชไี ด้

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
9. ประมาณราคาสนิ คา้ คงเหลอื ได้
10. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏบิ ัติงาน ขอ้ มูลมีความถูกตอ้ ง ทนั ถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

สาระสำคัญ

จากข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เราอาจจะสังเกตได้คือ ราคาของสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
เพราะฉะนั้นสินค้าแต่ละช้ินจะได้มาในราคาต้นทุนท่ีแตกต่างกันผลก็คือนักบัญชีต้องเผชิญกับปัญหาในการ
คำนวณต้นทุนของสินค้าท่ีได้ขายไปและต้นทุนของสินค้าคงเหลือ ณ วันส้ินงวดบัญชีโดยต้องยึดถือหลักความ
ถูกตอ้ งทส่ี ดุ เปน็ สำคญั

สำหรับวิธีการคำนวณราคาสินค้าคงเหลือตามวิธีราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกว่าน้ัน ราคาทุนของ
สนิ ค้าคงเหลือจะเป็นท่ียอมรบั อย่างไม่มีเงื่อนไขหรือข้อยกเว้นแต่อยา่ งไรเลย ถ้าราคาตลาดของสนิ ค้าคงเหลือมี
ราคาสูงกวา่ ราคาทุน

การท่ีสินค้าเกิดความเสียหายอันเกิดจากลา้ สมัย เส่ือมคุณภาพน้ัน เกิดจากความไม่ระมัดระวังในการ
เก็บรักษาทำให้สินค้าเกิดความเสียหายหรือล้าสมัยได้ สินค้าเหล่านี้จะไม่นับรวมเข้าเป็นสินค้าคงเหลือแต่ถ้า

สนิ ค้าเหล่านั้นสามารถนำออกขายได้โดยขายลดราคา ก็ให้ตีราคาสินค้าคงเหลอื น้ันตามราคาที่คาดว่าจะขายได้
จริงนั้น ส่วนสินค้าท่ีไม่สามารถขยายเนื่องจากการเสียหายหรือล้าสมัย ให้นำมาปรับปรุงตัดออกในงวดที่เกิด
การเสียหายนัน้ ๆ ถอื เป็นผลขาดทนุ โดยจะนำมาหักในงวดทีส่ นิ ค้าถูกขายไปมไิ ด้

บางครั้งสถานการณ์ต่าง ๆ เกิดข้ึน ทำให้กิจการไม่สามารถตรวจนับสินค้าคงเหลือของกิจการได้ตาม
ระยะเวลาทต่ี ้องการจัดทำงบกำไรขาดทุน คือ เมื่อต้องการจัดทำงบกำไรขาดทุนปีละหลายคร้ัง ถ้ากิจการต้อง
หยุดทำการซอ้ื ขายสนิ คา้ เพื่อทำการตรวจนับสินค้าปีละหลายคร้ัง กอ่ ให้เกดิ ปญั หาทางดา้ นเวลาและจำนวนเงิน
คา่ ใช้จ่ายท่ีต้องจา่ ยไป

สาระการเรียนรู้

21. การตีราคาสนิ คา้ คงเหลือตามราคาทุนหรอื ราคาตลาดที่ต่ำกว่า
22. วิธกี ารคำนวณราคาสนิ ค้าคงเหลือตามราคาทนุ หรือราคาตลาดทตี่ ่ำกว่า
23. การบนั ทึกบญั ชสี ินค้าคงเหลือในราคาทุนหรอื ราคาตลาดที่ตำ่ กว่า
24. การตรี าคาสินค้าทีเ่ สอ่ื มคณุ ภาพ สินค้าล้าสมัย สินคา้ รบั แลกเปลีย่ นและสินค้าทีย่ ดึ คนื มา
25. การตรี าคาสินคา้ ในราคาขาย
26. การตรี าคางานก่อสร้างและวธิ กี ารบนั ทกึ บัญชี
27. การประมาณราคาสนิ คา้ คงเหลือ

จุดประสงคพ์ ฤติกรรมการเรยี นรู้

27. ตีราคาสินคา้ คงเหลือตามราคาทนุ หรอื ราคาตลาดที่ต่ำกว่าได้ (ดา้ นความร้)ู
28. คำนวณราคาสนิ ค้าคงเหลือตามราคาทนุ หรือราคาตลาดทต่ี ำ่ กวา่ ได้ (ด้านทกั ษะ)
29. บนั ทกึ บญั ชีสินคา้ คงเหลอื ในราคาทนุ หรือราคาตลาดท่ีต่ำกว่าได้ (ดา้ นทักษะ)
30. ตีราคาสนิ คา้ ท่เี สื่อมคณุ ภาพ สนิ ค้าล้าสมัย สนิ คา้ รับแลกเปลย่ี นและสินค้าทย่ี ดึ คืนมาได้ (ดา้ นทักษะ)
31. ตีราคาสินค้าในราคาขายได้ (ดา้ นทกั ษะ)
32. ตีราคางานกอ่ สรา้ งและบนั ทึกบญั ชีได้ (ดา้ นทกั ษะ)
33. ประมาณราคาสนิ คา้ คงเหลือได้ (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม)
34. จดั เตรียมอปุ กรณ์ใหเ้ หมาะสมกบั การปฏิบัติงาน ข้อมลู มคี วามถกู ตอ้ ง ทนั ถ่วงทีตอ่ การใช้ข้อมลู

(ด้านคุณธรรม จริยธรรม)

เนื้อหาสาระการสอน / การเรียนรู้

ด้านความรู้
27. การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุนหรอื ราคาตลาดท่ีตำ่ กวา่ (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นรู้ข้อท่ี 1)
ราคาทุนของสินคา้ คงเหลือ คอื จำนวนรวมของคา่ ใชจ้ ่ายทกี่ ิจการต้องจา่ ยไปในการซื้อต้นทุน

แปลงสภาพ และต้นทุนอื่น ๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้น เพ่ือให้สินค้าคงเหลือนั้นอยู่ในสภาพและในสถานที่ท่ีพร้อมจะ
ขายได้

ราคาตลาด หมายถงึ ราคาต้นทุนของสนิ คา้ คงเหลอื ท่กี จิ การคาดวา่ จะซอื้ หามาทดแทนสินคา้ ท่มี ีอยไู่ ด้
การใช้วิธีการตีราคาสินค้าโดยพิจารณาว่าราคาทุนหรือราคาตลาดท่ีต่ำกว่าเป็นพื้นฐานนั้นเป็นท่ียอมรับกัน
แล้วว่าเป็นวิธีท่งี ่ายวธิ ีหนึ่ง สำหรับการบันทึกบัญชีตามแบบเกา่ ซึ่งส่วนมากถือว่ายอดกำไรไม่สามารถคาดการณ์
ได้ล่วงหนา้ ว่าเท่ากับเท่าไร และการแบ่งผลขาดทนุ กย็ ่อมเปน็ ไปไม่ได้ ดังน้ันในปจั จุบันได้เลง็ เห็นความสำคัญใน
การจัดทำงบดุลแบบ Conservation เกี่ยวกับการตีราคาสินค้าแบบราคาทุนหรือราคาตลาดท่ี ต่ำกว่าโดย
ต้องการเพียงว่าตน้ ทุนของสินคา้ คงเหลือควรจะตีในราคาตลาดหรือ Replacement cost ถึงแมว้ ่าราคาตลาด
ในขณะนน้ั จะมีราคาต่ำกว่าราคาทุนก็ตาม โดยจะไม่คำนงึ ถึงวา่ ราคาทุนมีแนวโน้มลดลงต่ำลงไปดว้ ย

ด้านทักษะ
28. วธิ ีการคำนวณราคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุนหรือราคาตลาดท่ีต่ำกว่า (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการ
เรยี นรู้ข้อที่ 2)
วิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือโดยการเปรียบเทียบราคาทุนหรือราคาตลาดสินค้าที่ต่ำกว่าอาจใช้วิธีการ

อย่างใดหนึ่ง ดงั น้ี
1. โดยการเปรียบเทียบระหว่างราคาทุนและราคาตลาดช่องสินคา้ คงเหลือแตล่ ะรายการและใชต้ วั เลขที่

ตำ่ กว่าในแต่ละรายน้ัน

การคำนวณหาราคาทุนหรือราคาตลาดท่ีตำ่ กว่าของแตล่ ะรายการ (3)
(1) (2) ราคาทุนหรอื ราคา
ราคาตอ่ หน่วย
ตลาดท่ีตำ่ กวา่
แผนกสภุ าพบุรุษ จำนวน ราคาทนุ ราคาตลาด
สนิ คา้ ก. 7,400
สนิ ค้า ข. 200 40 37 3,100
100 31 35

แผนกสุภาพสตรี

สนิ ค้า ค. 300 10 12 3,000
32 2,400
สนิ คา้ ง. 80 30 15,900

สินคา้ คงเหลือตามราคาทุนหรือราคาตลาดท่ีต่ำกวา่

2. โดยการเปรียบเทียบยอดรวมของราคาตลาดหรือราคาทุนสำหรับสินค้าในแผนกสำคัญ ๆ และใช้

ตวั เลขทต่ี ่ำกว่าสำหรบั แต่ละแผนกงาน

การคำนวณหาราคาทุนหรือราคาตลาดทีต่ ่ำกวา่ ของสินคา้ ระหวา่ งแผนก

(1) (2) (3) (4)

ราคาต่อหนว่ ย จำนวนเงนิ ราคาทุนหรือราคา

จำนวน ราคาทนุ ราคาตลาด ราคาทุน ราคาตลาด ตลาดทต่ี ่ำกว่า

แผนกสภุ าพบรุ ษุ

สินคา้ ก. 200 40 37 8,000 7,400

สนิ คา้ ข. 100 31 35 3,100 3,500

11,100 10,900 10,900

แผนกสภุ าพสตรี

สินคา้ ค. 300 10 12 3,000 3,600

สนิ ค้า ง. 80 30 32 2,400 2,500 5,400

สินค้าคงเหลอื ตามราคาทนุ หรือราคาตลาดที่ตำ่ กวา่ 5,400 6,100 16,300

3. โดยการเปรียบเทียบยอดรวมของราคาทุนและราคาตลาดสำหรับสินค้าคงเหลือทั้งส้ิน และให้ใช้

ตัวเลขข้างล่างน้ี

การคำนวณราคาสนิ ค้าคงเหลือทั้งสนิ้ ด้วยราคาทุน หรอื ราคาตลาดที่ตำ่ กว่า

(1) (2) (3) (4)

ราคาต่อหน่วย จำนวนเงนิ ราคาทุนหรอื ราคา

จำนวน ราคาทนุ ราคาตลาด ราคาทนุ ราคาตลาด ตลาดที่ต่ำกวา่

แผนกสุภาพบรุ ษุ

สินคา้ ก. 200 40 37 8,000 7,400

สินคา้ ข. 100 31 35 3,100 3,500

แผนกสภุ าพสตรี

สินค้า ค. 300 10 12 3,000 3,600
2,400 2,560
สนิ คา้ ง. 80 30 32 6,500 7,060

สินค้าคงเหลอื ตามราคาทนุ หรอื ราคาตลาดท่ีต่ำกว่า 16,500

วธิ กี ารเปรียบเทียบราคาทนุ และราคาตลาดของแตล่ ะรายการเป็นวิธีทนี่ ยิ มใช้และยอมรบั กันเปน็ เวลานาน
แต่ใน ปั จจุบั น ยอ ม รับ วิ ธี ก าร เป รีย บ เที ยบ ยอ ด ขอ งร าค าทุ น และ ราคาตล าดว่ า ร าค าใดจะ มี ร าค าต่ ำก ว่ า
อย่างไรก็ตามเม่ือกิจการค้าเลือกใช้วิธีการตีราคาสินค้าแบบไหนก็ต้องใช้วิธีการนั้นตลอดทั้งปี ทั้งน้ีเพราะเรื่อง
ความสม่ำเสมอนับว่าเป็นประโยชน์ต่อการตีราคาสินคา้ คงเหลือโดยไม่จำกัด เฉพาะวธิ รี าคาทนุ หรือราคาตลาดที่
ตำ่ กวา่ เท่านนั้
ผลของการใชร้ าคาทุนหรอื ราคาตลาดท่ีต่ำกว่า (Evaluation of Lower of cost or Market Procedure)

ในทางปฏิบัติ การตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกว่านั้นเป็นท่ีนิยมใช้กันอย่าง
แพร่หลายข้นึ ซ่ึงวิธีนีเ้ ปน็ วิธีทแ่ี ตกตา่ งไปจากวธิ ีบันทกึ บญั ชสี ินค้าคงเหลือในราคาทุน ทงั้ นเี้ พราะทำใหเ้ กิดความ
ไมส่ ม่ำเสมอ (inconsistencies) ในการคำนวณหาผลกำไร กล่าวคือเมื่อราคาตลาดลดลงต่ำกว่า (decreases)
ราคาทุนกใ็ หใ้ ชร้ าคาตลาด แต่ถา้ ราคาตลาดสงู ขนึ้ (increases) กวา่ ราคาทุนกใ็ ช้ราคาทนุ อย่างไรกด็ ีเมอื่ มีการ
เปล่ียนแปลงในราคาตลาดสินค้าโดยตรง การตีราคาสนิ คา้ ในราคาทนุ หรือราคาตลาด ณ วนั สิ้นปหี นึง่ ก็จะมีผล
โดยตรงต่อราคาทนุ สนิ ค้าในปีถัดไปด้วย และเป็นทน่ี ่าสังเกตว่าการท่ียอดรายได้มยี อดบิดเบือนจากความจริงนั้น
อาจเกิดจากข้อสมมติฐานอนั เกดิ จากการ ท่รี าคาตลาดของสินค้าทีไ่ ม่สามารถแสดงให้เห็นถึงสาระสำคญั ของมัน
ได้ นอกจากนั้นถ้าราคาขายไม่ได้ลดต่ำลงดังที่คาดไว้แต่เดิมจะทำให้กำไรสุทธิที่คำนวณได้มียอดห่างจากความ
เปน็ จริงมากข้นึ

29. การบนั ทกึ บญั ชสี นิ ค้าคงเหลือในราคาทนุ หรือราคาตลาดทตี่ ่ำกว่า(จดุ ประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ข้อที่3)
ถา้ กิจการแสดงราคาสนิ ค้าคงเหลือยกมาตน้ งวดและปลายงวดซ่ึงจะแสดงในงบกำไรขาดทุนในราคาท่ี

ต่ำกว่าทุนแล้วก็จะมีผลทำให้ตน้ ทุนสินคา้ ท่ีขาย (the cost of goods sold) แสดงท้ังในราคาทุนของสนิ ค้า
ท่ขี ายและผลเปล่ียนแปลงของราคาตลาดของสินคา้ ซึ่งลดลงในราคาทีต่ ่ำกว่าราคาทุนดว้ ย เหตุนี้นักบัญชีจงึ นยิ ม
แสดงวิธีการบันทึกบัญชีเก่ียวกับสินค้าคงเหลือแยกไว้ต่างหากให้เห็นว่าสินค้า ในราคาท่ีต่ำกว่าทุนนั้นมีจำนวน
เท่าไรไวต้ า่ งหากจากราคาทุน เพ่ือให้ผอู้ ่านงบการเงนิ ของกจิ การคา้ ทราบวา่ ราคาทนุ ของสินคา้ คงเหลือท่ีแท้จริง
นั้นมีจำนวนเท่าไร ส่วนที่ขายไปมีจำนวนเท่าไร เพื่อจะใช้ในการคำนวณหากำไรข้ันต้นได้จากการเปรียบเทียบ
ราคาขายและราคาทุนของสินค้าจำนวนที่ขายไปว่าเท่ากับเท่าไร แต่ถ้าเกิดผลขาดทุนจากการท่ีสินค้ามีราคา
ลดลงต่ำกว่าทุนให้ถือเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานหรือค่าใช้จ่ายอ่ืนๆ แล้วแต่การวิเคราะห์ประเภทค่าใช้จ่าย
น้นั ๆ

30. การตีราคาสนิ คา้ ท่ีเส่อื มคุณภาพ สินค้าลา้ สมัย สินค้ารับแลกเปล่ียนและสนิ ค้าท่ียึดคนื มา (จุดประสงค์
พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ขอ้ ที่ 4)
การท่ีสินคา้ เกดิ ความเสยี หายอันเกิดจากสนิ ค้านัน้ เป็นสนิ ค้าท่เี ก็บไวจ้ นกลายเป็นสนิ ค้าล้าสมัยหรือเสอื่ ม

คุณภาพซึ่งเกิดจากการไม่ระมัดระวงั ในการเก็บรกั ษาจึงทำให้สินค้าเกิดความเสียหายได้ สินค้าเหล่าน้ีกิจการค้า
จะไม่นับรวมเข้าเป็นสินค้าคงเหลือ แต่ถ้าสินค้าเหล่านั้นสามารถนำออกขายได้ โดยการขายลดราคาสินค้าลง
โดยมีราคาต่ำกว่าทุนก็ให้ตีราคาสินค้าคงเหลือน้ันตามราคาท่ีคาดว่าจะขายได้จริง เหตุน้ีอาจกล่าวได้ว่าการตี
ราคาสินคา้ คงเหลอื ในราคาตลาดที่ตำ่ กว่าน่ันไม่ใช่เกิดจากสาเหตทุ ่ีราคาสินค้าในตลาดลดลงเท่าน่ัน แตอ่ าจเกิด
จากการที่สินค้าเสื่อมคุณภาพ ชำรุด ล้าสมัยก็ย่อมได้ ซึ่งในกรณีเช่นน้ีอาจใช้วิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือ
เหล่าน้ีในราคาตลาดที่ต่ำกว่าทุนก็อาจทำได้ แต่อย่างไรก็ดีถ้าเกิดวิกฤตการณ์ท่ีทำให้ราคาสินค้าเหล่าน้ีลดลง
มากผู้บรหิ ารของกจิ การค้าไม่ควรแสดงราคาสินค้าทีล่ ดลงในกรณนี ีร้ วมอยูใ่ นต้นทุนสินค้าทข่ี าย แตค่ วรใชว้ ิธีแยก
ผลขาดทนุ นอี้ อกตา่ งหากเพือ่ นำไปแสดงในงบกำไรขาดทนุ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยหรือผลขาดทุนแล้วแต่กรณี

ในทางปฏิบัตินิยมแสดงไว้ในต้นทุนสินค้าทข่ี าย หรือเป็นค่าใช้จ่ายในการขาย ในกรณีท่ีราคา
สินค้าลดลงเพราะเส่ือมคุณภาพอันเป็นปกติวิสัยของการดำเนินงาน ส่วนสินค้าที่ชำรุด เสื่อมคุณภาพ ล้าสมัย
ส่วนที่ไม่สามารถขายได้ให้ใช้วิธีนำมาปรับปรุงตัดออกในงวดท่ีเกิดการเสียหายน้ัน ๆ ถือเป็นผลขาดทุนอ่ืน ๆ
โดยจะนำมาหกั ในงวดทีส่ นิ ค้าถูกขายไปมิได้ ท้ังนเี้ พราะถือว่ากรณนี ้เี กดิ จากความผิดพลาดของฝ่ายบรหิ ารเอง

สำหรับสนิ ค้าที่ได้รบั มาโดยการมคี นนำสินคา้ มาแลกเปล่ียน หรอื ยึดคืนมาควรจะทำการบันทึก

สนิ คา้ ทไ่ี ด้มาในลกั ษณะนใี้ นราคาโดยประมาณทกี่ ิจการอาจจะซอ้ื หามาไดใ้ นราคาเงินสดหักด้วยกำไรปกติ

31. การตรี าคาสินคา้ ในราคาขาย (จุดประสงคพ์ ฤติกรรมการเรยี นรู้ข้อที่ 5)

ในทางปฏิบัติบางคร้ังกิจการค้าอาจจะใช้วิธีการตีราคาสินค้าบางชนิดในราคาขายหักด้วยต้นทุน หรือ

ค่าใช้จ่ายที่อาจจะเกิดข้ึนนั้นได้จากการขายสินค้านั้น ถึงแม้ว่าราคาสินค้าดังกล่าวจะมีราคาสูงกว่าราคาต้นทุน

สนิ คา้ กต็ าม ซึ่งสินคา้ เหลา่ น้ีควรจะมลี ักษณะเฉพาะอย่างใดอย่างหนง่ึ ดังน้ี

1. มีตลาดทแ่ี น่นอน ซึ่งทำให้ขายสินค้าน้ัน ๆ ได้ในราคาที่ต้ังไว้คงท่ี เช่น ทอง เงิน และ

แรธ่ าตอุ ่นื ๆ

2. เปน็ สินคา้ ทมี่ ีมาตรฐานแน่นอน และมีตลาดขายสินคา้ น้ันแนน่ อน (ไมส่ ามารถหาราคาทุน

ไดโ้ ดยถูกตอ้ ง) สินค้าประเภทนีไ้ ดแ้ กผ่ ลติ ผลทางเกษตรกรรม

อย่างไรกด็ ีวิธีการตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาขายเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันมากสำหรับกจิ การร้าน

สรรพสินคา้ และรา้ นขายปลกี ตา่ ง ๆ เป็นวธิ ีท่เี หมาะสมสำหรับการขายส่งอีกดว้ ย วิธีการขายปลีกสินค้าคงเหลือ

ไดน้ ำมาประยกุ ต์ใช้โดยมีความจำเป็นทจี่ ะตอ้ งทราบรายการดงั น้ี

ซื้อ (รวมสง่ คืน) – ทั้งราคาต้นทุนและราคาขาย

ขาย (รวมส่งคนื )– ราคาขาย

32. การตรี าคางานกอ่ สร้างและวธิ ีการบันทึกบญั ชี (จดุ ประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ที่ 6)
วธิ ีการบันทึกบัญชีเก่ียวกับงานประเภทรับเหมาก่อสร้างซ่ึงจะมีการทำสัญญาก่อสร้างสำหรับประเภทนี้

เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยอาจจะเป็นระยะเวลาท่ียาวนานจนกระท่ังคาบเก่ยี วระหว่างงวดบัญชี ซ่ึงจะทำให้เกิด
ปัญหาข้ึนได้ในตอนคิดต้นทุนของงานท่ีทำเสร็จและงานส่วนที่ยังไม่เสร็จ ท้ังน้ีเพื่อนำมาคำนวณหาผลกำไรจาก
การก่อสร้าง แต่ในทางปฏิบัติวิธีการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับงานรับเหมาก่อสร้าง ซึ่งนิยมใช้กันมีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี
คือ

1. Completed – contract Method
สำหรับงานรับเหมาก่อสร้างซึ่งได้มีการตกลงทำสัญญาก่อสร้างระหว่างบุคคล 2 ฝ่ายนั้น
งานส่วนที่ผู้รับเหมาก่อสร้างยังทำไม่แล้วเสร็จเราเรียกว่างานระหว่างทำ (Work in Process) สำหรับงาน
ระหว่างทำนี้ ผรู้ ับเหมาจะต้องแสดงในราคาต้นทนุ ไวก้ ่อนจนกระทง่ั งานนั้นเสร็จสมบูรณ์ และมีการส่งมอบให้ผู้
จ้างจึงจะทำการคำนวณหาผลกำไรขาดทุนจากการก่อสร้างช้ินนี้ วิธีการบันทึกบัญชีแบบนี้เป็นวิธีที่กระทำตาม
แนวความคิดที่ว่ารายได้จะเกิดข้ึนได้เมอื่ มีการขายเกิดข้ึน และผลกำไรจะเกิดขนึ้ จากการขายเท่าน้ัน ไม่ใช่เกิด
จากการผลิต
อย่างไรก็ตามวิธปี ฏิบัตทิ ่ีว่ารายได้เกิดจากการขายอาจทำให้กำไรขาดทุนสำหรบั งวด ท่หี าไดผ้ ิด
ไปในงวดท่ีงานก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จกำไรจะมีน้อย และกำไรจะสูงไปในงวดที่งานก่อสร้างตามสัญญาเสร็จสิ้น
และส่งมอบให้ผู้วา่ จ้าง นอกจากน้ีอาจจะมีค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับต้นทุนของงานก่อสร้างเกิดขึ้นได้ในงวดท่ี
การก่อสรา้ งยงั ไม่แลว้ เสรจ็ ซึง่ นบั ว่าเป็นอตั ราสว่ นที่มากกว่าในงวดที่ งานก่อสร้างตามสัญญาเสร็จส้นิ และทำการส่ง
มองให้ผู้ว่าจ้างแล้วก็ย่อมเป็นได้ ดังนั้นการบันทึก ผลกำไรจากงานก่อสร้างจึงมิได้ถือตามแนวความคิดที่ว่า
รายได้ยอ่ มเกิดจากการขายเทา่ นั้นอย่างเขม้ งวดนัก เหมอื นกจิ การค้าประเภทท่ีทำการซื้อสินคา้ มาขายไป แต่จะ
ใช้วธิ ียอมรับร้แู ละบันทกึ กำไรตามสว่ นของงานที่ทำเสร็จแล้ว
2. Percentage of – Completion Method
การคำนวณกำไรตามส่วนของงานท่ีทำเสร็จ ทั้งนี้เพ่ือถือเป็นรายได้ของงวดบญั ชีหนึ่ง ๆ ซ่ึงมี
วิธีคำนวณอยู่ 2 วธิ ีดังนค้ี ือ
คำนวณตามอัตราส่วนของงานท่ีทำเสร็จแล้ว จากการเปรียบเทียบต้นทุนที่เกิดข้ึนทั้งหมดกับ
ราคาทนุ ท้ังสิ้นของงานก่อสร้างชนิ้ น้ันโดยประมาณ แล้วจงึ นำเอาอัตราส่วนท่คี ำนวณได้น้ไี ปคณู กับยอดกำไรสทุ ธิ
โดยประมาณเพอ่ื จะคำนวณหาจำนวนกำไรท่เี ป็นงวดปจั จบุ นั นั้น
ให้สถาปนิกและวิศวกรเป็นผู้ทำการประมาณงานที่ทำสำเร็จแล้ว จงึ คำนวณดวู ่าเป็นอัตราสว่ น
เท่าใดของงานท้ังสิ้น เสร็จแล้วให้เอาอัตราส่วนที่หาได้นี้ไปคูณกับราคาจ้างตามสัญญาเสียก่อนแล้วจึงทำการ
คำนวณหากำไรท่ีควรจะเป็นของงานในงวดปัจจบุ ันได้ โดยการนำเอาราคางานตามสัญญาเฉพาะสว่ นทที่ ำเสร็จ
ซง่ึ หาได้ข้างตน้ หักด้วยราคาทนุ ทเี่ กิดข้ึนทัง้ หมดของงานน้ี

ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
33. การประมาณราคาสนิ ค้าคงเหลอื (จดุ ประสงคพ์ ฤติกรรมการเรียนรู้ข้อที่ 7)
การประมาณราคาสินคา้ คงเหลือแทนการตรวจนบั สินค้าคงเหลอื จากตัวจริง ทำได้ 2 วิธี คอื
1. การประมาณราคาสินคา้ คงเหลือ โดยวิธคี ำนวณจากกำไรขน้ั ตน้ (Gross profit method)
2. การประมาณราคาสินค้าคงเหลือ โดยวิธใี ช้ราคาขายปลกี (Retail inventory method)
การประมาณราคาสินค้าคงเหลือ โดยวิธีคำนวณกำไรข้ันต้น ทำได้โดยสมมติให้ขายสุทธิเป็น 100%

กำไรขั้นต้นในอดีตที่ผ่านมาเป็นกี่เปอร์เซ็นต์ของขาย เมื่อหาได้แล้วจึงจะสามารถหาจำนวนสินค้าคงเหลือ
โดยประมาณได้

การประมาณค่าสินค้าคงเหลือแทนการตรวจนับ นอกจากวิธีคำนวณจากกำไรข้ันแล้ว อาจทำไดอ้ ีกวิธี
หนึ่งคือประมาณจากราคาขายปลีก วธิ ีนี้นิยมใช้ในกิจการทคี่ ้าปลีกหรือห้างสรรพสินค้า กิจการเหล่าน้ีจะทราบ
ราคาทนุ และราคาขายปลกี สินค้าทกุ ชนิด จึงสะดวกจะใชร้ าคาทั้งสองนี้ มาคำนวณหาราคาสินค้าคงเหลือ

34. จดั เตรียมอปุ กรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ข้อมูลมีความถกู ต้อง ทนั ถว่ งทีตอ่ การใช้ข้อมูล
(จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ อ้ ที่ 8)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมนิ ผลก่อนเรยี น-หลังเรียน โดยทำแบบทดสอบ
2. นำเข้าสู่บทเรียนโดยทบทวนความรู้เดมิ
3. กจิ กรรมการเรยี น

3.1 ผู้สอนและผูเ้ รียนรว่ มกันอภปิ รายเรื่องการตีราคาสินคา้ คงเหลอื ตามราคาทุนหรอื ราคาตลาดที่
ตำ่ กวา่

3.2 แบง่ กลุ่มผู้เรยี นมารายงานหน้าชน้ั เรยี นเร่อื งตรี าคาสนิ ค้าที่เส่ือมคณุ ภาพ สินค้าล้าสมัย สนิ ค้า
รับแลกเปล่ยี นและสนิ ค้าทีย่ ึดคนื มา

3.3 ซักถามผูเ้ รยี นเปน็ รายบคุ คล

สือ่ การเรียนรู้

- หนังสือเรยี นวชิ าการบญั ชสี นิ ค้า

การวัดผล/ประเมนิ ผล

16. การสงั เกต
- ความตั้งใจและสนใจของผูเ้ รยี น
- ความรว่ มมือในการอภิปราย

- การแสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผล
17. การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ

- กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
- แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลหลังการเรียนรู้
18. การทดสอบด้วยวาจาและขอ้ เขยี น

- ตรวจแบบทดสอบ
- ต้งั คำถามให้ตอบและอธบิ าย

การบูรณาการ / ความสมั พันธก์ ับวิชาอนื่

27. ความสมั พนั ธ์กับวชิ าภาษาไทย เพ่ือรณรงคก์ ารใช้ภาษาไทยอย่างถูกตอ้ ง
28. ความสมั พนั ธก์ ับวิชาเศรษฐศาสตร์ เพื่อตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
29. ความสมั พนั ธก์ บั วิชาเทคโนโลยี เพื่อนำมาประยุกต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ช่วยใหก้ ารทำงานสะดวก

รวดเร็ว มากย่ิงขึ้น
30. ความสัมพนั ธ์ทางดา้ นบุคลิกภาพ เพอ่ื พฒั นาและฝึกฝนบุคลิกภาพของผู้เรยี นให้ดียง่ิ ข้นึ
31. ความสมั พนั ธ์กับแมบ่ ทการบญั ชแี ละมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ท่ีเกี่ยวข้อง เพ่อื จัดทำบญั ชใี หเ้ ปน็ ไปตาม

หลกั การบัญชีทร่ี บั รองทวั่ ไป

แบบบันทึกการสังเกตการณ์ทำงานรว่ มกบั ผู้อนื่

พฤตกิ รรม/ รบั ผิดชอบ ประสาน ร่วมแสดง
สามัคคใี น แนะนำวิธี ความ
ระดบั งานที่ ทำงาน
ไดร้ ับ รว่ มมือใน กลุ่มขณะ และ
ลำดับ คะแนน มอบหมาย การดำเนิน ทำงาน ช่วยเหลอื คิดเห็นท่ี รวม
ท่ี เปน็ คะแนน
กิจกรรม ร่วมกนั
ประโยชน์
เพอ่ื น ต่องาน
ชอื่ -สกลุ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6

7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22

คำชีแ้ จง ให้สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรยี นแต่ละคน และเขยี นเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งว่าง

ระดบั คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั สูง
ระดบั 2 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมในระดับปานกลาง
ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดบั ตำ่

บันทึกหลังการสอน  น้อย  เหมาะสม
 นอ้ ย  เหมาะสม
บนั ทกึ ขอ้ คดิ เห็นของผู้สอน
16. แผนการสอน
เวลาสอนทก่ี ำหนดไว้

 มาก
เน้อื หาสาระ

 มาก

1.3 ผลทีไ่ ด้หลังจากการสอนตามแผน

 มาก  น้อย  เหมาะสม
ความคดิ เห็นเพ่ิมเติม ................................................................................................
17. ผเู้ รียน
พฤติกรรมความสนใจในการเรียน

 มากขึ้น  เท่าเดมิ  น้อยลง

ความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................................

เปรียบเทยี บผลการเรยี นจากเดมิ

 เปลย่ี นแปลงมากข้นึ  เปลีย่ นแปลงน้อยลง  ไม่เปลย่ี นแปลง

ความคดิ เห็นเพิม่ เติม ................................................................................................

18. ผสู้ อน

3.1 สอนได้ม่นั ใจ  มากขน้ึ  เทา่ เดิม  นอ้ ยลง

3.2 สอนทนั เวลา  มาก  นอ้ ย  ไม่ทนั เวลา

3.3 สอนเน้อื หา  มากขึ้น  เท่าเดิม  นอ้ ยลง

ลงชือ่ ...............................................ผ้สู อน
(..................................................)

แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน หนว่ ยที่ 5

จงเลอื กคำตอบขอ้ ทเ่ี หน็ ว่าถูกตอ้ งที่สุดเพียงคำตอบเดียว

จากโจทยข์ ้างล่างนี้ใชต้ อบคำถาม ขอ้ 1 – 2
บรษิ ทั ค. จำกดั มแี ผนกดำเนนิ งานอยู่ 2 แผนก จะมีสินค้าคงเหลือของทัง้ 2 แผนก ณ

31 ธ.ค. ดังตอ่ ไปน้ี
ต้นทนุ รวม (บาท)

จำนวนหน่วย ราคาทนุ ราคาตลาด
แผนกเสือ้ ชาย
เส้ือชดุ 10 520 540
กางเกง 20 290 260

810 800
แผนกเส้อื หญงิ
เสื้อชุด 12 640 630
กางเกง 18 230 250

870 880

กิจการใช้วธิ ีตรี าคาสินคา้ คงเหลอื ในราคาทุนหรือตลาดที่ตำ่ กว่า
1. สินค้าคงเหลือของกิจการค้าท่ีใช้วิธีการตีราคาสินค้าคงเหลอื แบบราคาทุน หรือราคาตลาดที่ต่ำกว่า

โดยนำสนิ ค้าแต่ละแผนกมาเปรียบเทยี บกันแลว้ ปรากฏว่ามยี อดเท่ากบั
ก. 1,670 บาท
ข. 1,690 บาท
ค. 780 บาท
ง. 1,680 บาท

2. สินค้าคงเหลือของกิจการค้าถ้าใช้วิธีตีราคาสินค้าคงเหลือในราคาทุน หรือราคาตลาดที่ต่ำกว่าโดย
นำสนิ คา้ ทั้งหมดของทั้งสองแผนกมาเปรียบเทียบกัน แล้วจะมียอดเทา่ กบั
ก. 1,680 บาท
ข. 1,690 บาท
ค. 800 บาท
ง. 1,670 บาท

3. บริษัทรับเหมาก่อสร้างอาคารราคา 750,000 บาท กำหนดระยะเวลาก่อสร้างเสร็จใน 3 ปี
นับตั้งแต่วันท่ี 1 ม.ค. 2548 ณ วันท่ี 31 ธ.ค. 2549 บริษัทมีต้นทุนก่อสร้าง 500,000 บาท
ประมาณว่าต้องใช้เงินทุนอีก 175,000 บาท งานจึงจะเสร็จ บริษัทได้รับเงินค่าก่อสร้างมาแล้ว
ทั้งส้ิน 485,000 บาท ณ 31 ธ.ค. 2550 มีต้นทุนก่อสร้างสำหรับปีนี้ 167,500 บาท และเก็บ
เงนิ จากผู้ว่าจ้างทั้งหมด ใหห้ ากำไรสำหรับปี 2550
ก. 42,500 บาท
ข. 52,000 บาท
ค. 45,000 บาท
ง. 42,000 บาท

4. สนิ ค้าช้นิ หน่ึงมีต้นทุน 50 บาท ราคาขาย 75 บาท มีค่าใช้จา่ ยในการขาย และกำไรปกติ 20
บาท และ 15 บาท ตามลำดบั สมมติว่า จำนวนเงินท่ีต้องจ่ายไปเพื่อได้สินคา้ ประเภทน้ีมาชดเชย
เทา่ กบั 60 บาท ใหห้ าราคาทุนหรือราคาตลาดที่ตำ่ กวา่ ของสินค้าชนดิ นี้
ก. 60 บาท
ข. 50 บาท
ค. 55 บาท
ง. 40 บาท

5. จากโจทย์ขอ้ 4 กรณีที่จำนวนเงินท่ีคาดว่าจะต้องจ่ายไปเพ่ือให้ได้สินค้ามาชดเชยเป็น 45 บาท ราคา
ทุนหรือราคาตลาดทีต่ ำ่ กวา่ จะเป็น
ก. 55 บาท
ข. 40 บาท
ค. 50 บาท
ง. 45 บาท

6. กจิ การแห่งหน่ึงทำการรบั เหมา กอ่ สรา้ งอาคารแห่งหนึง่ ในราคา 750,000 บาท กำหนดแลว้ เสร็จ

ในเวลา 2 ปี โดยเร่ิมสร้างต้งั แต่ 1 ก.ย. 2549 มีรายงานการก่อสรา้ งสรุปได้ดังนีค้ ือ ณ วนั สิ้น
ปี 2549 มีต้นทุนกอ่ สรา้ งไปแล้ว 50,000 บาท คาดว่าจะต้องมีค่าใช้จ่ายอีก 550,000 บาท จึง
จะแล้วเสร็จ กจิ การไดร้ ับเงินค่าก่อสร้างในปีนีม้ ูลค่า 60,000 บาท ฉะน้ันกำไรจากการก่อสร้างที่
จะบันทึกในปี 2549 เปน็ จำนวน

ก. 12,000 บาท
ข. 25,000 บาท
ค. 12,500 บาท
ง. 22,500 บาท

7. จากโจทย์ขอ้ 5 สมมติว่ามีต้นทุนก่อสร้างในปี 2550 เกิดขึ้นอีก 450,000 บาท และ ณ วัน
ส้นิ ปีน้ีคาดว่าจะมีค่าใช้จ่าย 175,000 บาท งานจึงจะแล้วเสร็จ กิจการไดร้ ับค่าก่อสรา้ งในงวดนี้
425,000 บาท กำไรจากการก่อสร้างที่จะบันทึกในงวดนี้เป็น
ก. 77,500 บาท
ข. 75,000 บาท
ค. 57,500 บาท
ง. 70,500 บาท

8. การตรี าคาสนิ ค้าตามราคาทนุ หรือราคาตลาดอนั ใดทต่ี ่ำกวา่ มหี ลักเกณฑ์ดังนค้ี อื
ก. ราคาตลาดที่เรานำมาใช้คือราคาสินค้าทเี่ ราคาดว่าจะขายออกไปใหล้ กู ค้าตามปกติ
ข. ราคาตลาดดังกล่าวต้องไม่สูงกว่าราคาขายสุทธิของสินค้าน้ัน แต่อาจต่ำกว่าราคาสุทธหิ ัก
ดว้ ยกำไรตามปกติ
ค. เม่อื ไดร้ าคาตลาดแล้วจงึ นำมาเปรียบเทยี บกับราคาทุนเพอ่ื หาราคาท่ีตำ่ กวา่
ง. ถูกทุกข้อ

9. การตีราคาสนิ ค้าในราคาทนุ หรือตลาดท่ีต่ำกว่า มีลกั ษณะเปน็ อย่างไร

ก. ราคาตลาดที่จะนำมาเปรียบเทียบต้องไม่สูงกว่าราคาขายสินค้านั้นหักด้วยค่าใช้จ่ายใน
การขาย

ข. ราคาทุนสินค้าที่นำมาเปรียบเทียบต้องหามาโดยวิธีการตีราคาไม่ว่า FIFO, LIFO,
Specific Indentification หรอื Average เสยี กอ่ น

ค. ราคาตลาดต้องไม่ตำ่ กว่าราคาตามขอ้ 1 หกั ดว้ ยกำไรขนั้ ต้น
ง. ถกู ทุกข้อ
10. ขอ้ ความในข้อใดเปน็ ขอ้ ความที่ไม่ถูกต้อง
ก. กจิ การสามารถตกแตง่ ดัดแปลงตวั เลขกำไรขาดทุนได้ถ้าใช้วิธีการตรี าคาสินค้าแบบวิธี LIFO
ข. การตีราคาสินค้าโดยวิธี FIFO จะช่วยให้ต้นทุนสินค้าที่ขายในงบกำไรขาดทุนมีจำนน

ใกล้เคยี งกับราคาสินค้าในทอ้ งตลาดในขณะน้นั
ค. กิจการสามารถตกแต่งดัดแปลงตัวเลขกำไรขาดทุนได้ถ้าใช้วิธีการตีราคาสินค้าแบบ

Specific Identification Method
ง. ในการใช้วิธีการตีราคาแบบราคาทุนหรือราคาตลาดอย่างใดที่ต่ำกว่าน้ัน กิจการก็ยัง

จำเป็นต้องเลือกวิธี FIFO, LIFO Specific Identification หรือวิธีเฉลี่ยอ่ืน ๆ มาใช้
เชน่ เดยี วกนั

แบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน หน่วยท่ี 5

1. ก.
2. ก.
3. ก.
4. ข.
5. ง.
6. ค.
7. ก.
8. ค.
9. ง.
10. ข.

บันทึกหลังการสอน

ผลการใชแ้ ผนการสอน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรยี น
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยที่ 6

ช่ือวิชา การบัญชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ สอนสปั ดาหท์ ่ี 16-18
ชอื่ หนว่ ย การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาด คาบรวม 9

ช่ือเรอ่ื ง. การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาด จำนวนคาบ 9

หวั ขอ้ เรื่อง

ดา้ นความรู้
4. บอกสาเหตขุ องการตรี าคาสินค้าผิดพลาด

ดา้ นทักษะ
16. ผลกระทบของการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ผดิ พลาด
17. การปรบั ปรุงบัญชีสินค้าผดิ พลาด

ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม

11. จัดเตรยี มอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ขอ้ มลู มีความถกู ตอ้ ง ทันถ่วงทีต่อการใช้ขอ้ มูล

สาระสำคัญ

สินค้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ประเภทหมุนเวียนท่ีมีความสำคัญต่อกิจการค้า ดังน้ันถ้ากิจการ

ใดลมื บันทกึ รายการสินค้าคงเหลือในงบการเงนิ (งบดุล และงบกำไรขาดทนุ ) กจ็ ะทำให้งบการเงินของกิจการ

นน้ั ๆ แสดงยอดไม่ตรงกบั ขอ้ เทจ็ จริง และข้อผิดพลาดน้จี ะมีผลกระทบกระเทือนต่องบการเงินในงวดถดั ไปด้วย

เพราะฉะนั้นด้านบัญชีของกิจการค้าจะต้องทำการบันทึกบัญชีราคาสินค้าท่ีซ้ือมาและขายไปในราคาทุนเสมอ

รวมท้งั บันทึกสินค้าคงเหลือ ณ วนั สนิ้ งวดดว้ ย

ขอ้ ผิดพลาดเก่ียวกบั สินค้าคงเหลือ

1. สนิ ค้าคงเหลอื ยกไปต่ำ ()

(1) ซ้ือปลายงวดโดย  ซ้อื (ไม่บันทึกบัญชีซอ้ื และเจ้าหน้ี)

 เจา้ หนี้

ปปี ัจจบุ ัน

งบกำไรขาดทนุ ซอ้ื  สินคา้ คงเหลอื   กำไรขาดทุน

งบดลุ สินทรพั ย์หมุนเวียน (สินคา้ คงเหลอื ยกไป) 

หนีส้ ินระยะสน้ั 

ปถี ดั ไป

งบกำไรขาดทนุ สินค้าคงเหลอื ยกไป  กำไรขาดทุน  เพราะว่าซื้อ 
งบดุล ไมก่ ระทบกระเทือน

(2) ตรวจนบั และตีราคาสินคา้ ยกไป  เนื่องจากไมน่ ำเอายอดสินค้าทีซ่ ื้อมาแล้วมานับ
รวมเป็นสินค้าคงเหลือของกิจการค้า หรือไม่ได้นำเอาสินค้าท่ีคงเหลือในมือผู้รับฝาก (กรณีส่งสินค้าไปฝาก

ขาย) มานบั รวมเป็นสินคา้ ของตน มีผลทำให้

ปีปัจจุบัน ปีถัดไป

งบกำไรขาดทุน ต้นทนุ ขาย  งบกำไรขาดทุน ตน้ ทนุ ขาย 

กำไรขาดทุน  กำไรขาดทุน 

งบดุล สนิ ค้าคงเหลอื ยกไป  ทุน  งบดุล ไม่กระทบ

2. สินค้าคงเหลอื มยี อดสูงไปเนื่องจาก
(2.1) ซื้อ บันทึกซื้อแล้วแต่ส้ินปีนับสินค้าผิด โดยนำเอาสินค้าท่ีไม่ใช่ของกิจการมานับ

รวมเป็นสนิ คา้ ของตน หรือเอาสินคา้ ท่ีขายไปแลว้ มานบั รวมเป็นสินคา้ คงเหลือ มีผลทำให้

ปีปจั จบุ นั ตน้ ทุนขาย 
งบกำไรขาดทุน กำไรขาดทุน 
สินค้าคงเหลือยกไป  ทุน 
งบดุล
ปถี ดั ไป ต้นทุนขาย 
งบกำไรขาดทนุ กำไรขาดทุน 
ไม่กระทบ
งบดุล

(2.2) ไม่บันทึกขายและลูกหน้ีท่ีเกิดตอนส้ินงวดทำให้ สินค้าคงเหลือยกไป  และมี

ผลกระทบงบการเงินดังนี้

ปีปจั จบุ ัน

งบกำไรขาดทุน ขาย  ไม่กระทบตน้ ทนุ ขาย สนิ คา้ คงเหลอื ยกไป  ทำให้

กำไรขัน้ ต้น  กำไรขาดทุน 

งบดลุ ลูกหน้ี  สนิ ค้าคงเหลอื ยกไป  สนิ ทรัพย์หมุนเวียน  ทนุ 

ปถี ัดไป เป็นจำนวน = กำไรขั้นต้นจากการขาย
งบกำไรขาดทนุ
งบดลุ ขาย  ต้นทุนขาย  กำไรขัน้ ต้นและกำไรสทุ ธิ 
 (ไมก่ ระทบ)

การตีราคาสินค้าคงเหลือมีความสำคัญอย่างย่ิงท่ีจะต้องทำได้ถูกต้อง เพราะสินค้าคงเหลือ
เป็นสินทรัพย์หมุนเวียนทจ่ี ะต้องแสดงในงบดุลซง่ึ จะมีราคามาก หากตีราคาผดิ พลาดก็จะทำใหย้ อดที่แสดงใน
งบการเงนิ ผดิ พลาดไปด้วย และจะเป็นผลทำใหก้ ารคำนวณหาต้นทนุ ของสินค้าท่ขี าย กำไร – ขาดทุนตลอด
ท้ังงบดุลในส่วนของเจ้าของกิจการผิดพลาดไปด้วย เนื่องจากสินค้าคงเหลือในวันส้ินงวดบัญชี ก็คือสินค้า
คงเหลือของตน้ ปีต่อไป อนั จะทำใหผ้ ลของงบการเงนิ ในปตี อ่ ไปผดิ พลาดเชน่ เดียวกนั

สาระการเรยี นรู้

28. สาเหตุของการตีราคาสินคา้ ผดิ พลาด
29. ผลกระทบของการตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือผดิ พลาด
30. การปรับปรุงบัญชสี ินคา้ ผิดพลาด

จดุ ประสงคพ์ ฤติกรรมการเรยี นรู้

35. บอกสาเหตขุ องการตรี าคาสินคา้ ผิดพลาดได้ (ด้านความร้)ู
36. บอกผลกระทบของการตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื ผิดพลาดได้ (ด้านทกั ษะ)
37. ปรบั ปรงุ บญั ชีสินคา้ ผดิ พลาด (ดา้ นทกั ษะ)
38. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัตงิ าน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล (ด้าน

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม)

เนือ้ หาสาระการสอน / การเรยี นรู้

ดา้ นความรู้
35. สาเหตุของการตีราคาสนิ คา้ ผิดพลาด (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ท่ี 1)
ข้อผิดพลาดเก่ียวกับสินค้าคงเหลือซึ่งเป็นผลจากการตรวจนับเป็นจำนวนสินค้าคงเหลือผิดพลาดโดย

การนำเอาสินค้าที่ไม่ควรนำมารวมในสินค้าคงเหลือก็นำมานับรวมไว้ในสินค้าคงเหลือด้วย เช่น เอาสินค้าท่ี
ขายไปแล้วหรือสินค้าของคนอ่ืนมานับรวมเป็นสินค้าของตนหรือไม่ได้นำเอาสินค้าท่ีควรจะนับรวมเป็นสินค้า
คงเหลอื ของกิจการมานับรวมไว้ซึ่งเป็นเหตุใหผ้ ลกำไรขาดทุนท่ีคำนวณได้ของกิจการค้าตามงบกำไรขาดทุนผิด

จากขอ้ เท็จจริง และยงั มีผลกระทบกระเทือนต่อฐานะการเงินของกิจการท่ีแสดงในงบดลุ กย็ อ่ มผิดพลาดไปดว้ ย

ดา้ นทกั ษะ
36. ผลกระทบของการตีราคาสินคา้ คงเหลือผดิ พลาด (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นรู้ขอ้ ที่ 2)
1. สนิ ค้าคงเหลือปลายงวดมีราคาต่ำไป เกิดขึ้นเนื่องจากตอนซื้อสินค้าไม่ได้บันทึกบัญชีซื้อ

สินค้าและเจ้าหน้ีซึ่งเกิดขึ้น ณ ตอนปลายงวด ซึ่งข้อผิดพลาดน้ีจะมีผลต่องบการเงินท้ังในปีปัจจุบันที่เกิด
ขอ้ ผิดพลาด และปีต่อไปดังน้คี ือ

ในปีปจั จุบัน
งบกำไรขาดทนุ ทำให้ยอดซ้ือลดลง และทำให้ยอดสินค้าคงเหลือปลายงวดลดลงไปด้วยแต่

ไม่กระทบกระเทือนต่องบกำไรขาดทุนของกจิ การ
งบดลุ ทำให้ทรัพย์สินหมุนเวยี น (สินคา้ คงเหลือ) และหน้ีสินหมุนเวียนแสดงยอด

ตำ่ กว่าความเป็นจริงไปด้วยจำนวนเท่ากัน จึงเป็นผลใหอ้ ัตราสว่ นสินทรพั ย์
หมนุ เวียนดีขนึ้
ในปตี ่อไป
งบกำไรขาดทุน ทำให้สินค้าคงเหลือต้นงวดลดลง แต่รายการน้ีไม่ทำให้งบกำไรขาดทุน
กระทบกระเทือน เพราะวา่ ถกู ชดเชยดว้ ยยอดซื้อในปนี ี้สูงข้ึน
งบดลุ ไม่ถกู กระทบกระเทือน

นอกจากนี้สนิ ค้าคงเหลือปลายปีจะมียอดต่ำกว่าความเป็นจริงได้อีกโดยเกิดจากการตรวจนับ
สินค้าผิด ตีราคาสินค้าต่ำไป ท้ังน้ีเนื่องจากไม่ได้นำเอาสินค้าที่ซ้ือมาแล้วมานับรวมเป็นสินค้าคงเหลือของ
กิจการค้า หรือไม่ได้นำเอาสินค้าท่ีอยู่ในมือของผู้อื่นที่ยังไม่ถือเป็นขาย เช่นสินค้าที่ส่งไปฝากขายแต่ผู้รบั ฝาก
ขายยังขายไม่ได้ ซ่ึงสินค้าท่ีเหลืออยู่ในมือของผู้รับฝากขายจำนวนนี้ถือว่ากรรมสิทธิ์ในตัวสินค้ายังเป็นของ
ผู้ฝากอยู่ ดังนั้นผู้ฝากจะต้องนับสนิ ค้าจำนวนดงั กลา่ วรวมเปน็ สนิ ค้าคงเหลือของตนด้วยตอนสนิ้ ปี แต่ผู้ฝากลืม
นับรวมเป็นสินค้าของตน กรณีน้ีทำให้ยอดสินค้าคงเหลือตอนส้ินปีของกิจการค้าต่ำเกินความเป็นจริง
ซึ่งข้อผิดพลาดเนื่องจากกรณนี ีม้ ีผลกระทบกระเทือนต่องบการเงนิ ของกจิ การทั้งงบกำไรขาดทุนและงบดลุ ทง้ั ใน
ปีปัจจุบัน และปถี ัดไปด้วยดงั น้ี

ปปี จั จบุ ัน

งบกำไรขาดทนุ ทำใหต้ น้ ทุนขายสงู กำไรตำ่ ไป
งบดุล สินคา้ ราคาต่ำ ทุนต่ำ

ในปีตอ่ ไป
งบกำไรขาดทุน ทำใหต้ น้ ทุนขายลดลง กำไรเพิม่ ขึน้
งบดลุ ไมก่ ระทบกระเทือน

2. เม่ือซื้อสินค้าได้ทำการบันทึกบัญชีซ้ือไว้ถูกต้อง แต่ตอนส้ินปีอาจเกิดข้อผิดพลาดได้โดย
แสดงยอดสินค้าคงเหลือปลายงวดในราคาที่สูงเกินความจริง ทั้งนี้เนื่องจากทำการตรวจนับผิดหรือตีราคา
สินค้าสูงเกิดไป หรือนำเอาสินคา้ ที่ไม่ใช่ของตนมานับรวมเป็นสินค้าของตน หรือนำเอาสนิ ค้าที่ขายไปแล้วมา
นับรวมเป็นสินค้าของตนก็จะมีผลทำให้ยอดสินค้าคงเหลือปลายงวดสูงขึ้นไป ข้อผิดพลาดข้อนี้จะทำให้งบ
การเงินถกู กระทบกระเทอื นไปด้วย ท้ังในปปี จั จบุ ันและปีถดั ไป กลา่ วคอื

ปปี ัจจบุ ัน
งบกำไรขาดทุน ต้นทุนขายลดลง กำไรเพ่ิมขนึ้
งบดุล ราคาสนิ คา้ เพมิ่ ขึน้ ทุนเพิม่ ขน้ึ

ปีถัดไป
งบกำไรขาดทนุ ต้นทุนขายเพ่มิ ข้ึน กำไรลดลง
งบดลุ ไมถ่ กู กระทบกระเทือน

นอกจากนี้ยังอาจเกิดข้อผิดพลาดได้ตอนส้ินงวดบัญชี โดยการไม่ได้บันทึกรายการขายและ
ลูกหนี้ทเี่ กิดขึ้นตอนส้นิ งวด ซง่ึ มผี ลทำใหส้ ินค้าคงเหลือในปลายปีมีราคาสูงเกินไป ซึ่งข้อผิดพลาดในกรณีน้ีจะ
ทำใหง้ บการเงนิ ถูกกระทบกระเทือนทง้ั ในปปี จั จุบนั และปตี ่อไปดงั น้ี

ปีปัจจุบัน
มีผลต่องบกำไรขาดทุน ยอดขายแสดงต่ำไปด้วยราคาขายของสินค้าท่ีลืมบันทึกบัญชี และ

ต้นทุนสินค้าที่ขายตำ่ ไปด้วยราคาทนุ ของสินค้าปลายงวดที่แสดงไว้
สูงไป และมีผลทำให้กำไรข้ันต้นต่ำเกินไปด้วย และกำไรสุทธิก็
ตำ่ ไป

มผี ลต่องบดลุ ยอดลูกหน้แี สดงตำ่ ไปเป็นจำนวนเท่ากับราคาขายของสินคา้ จำนวน
ท่ีลืมบันทึกบัญชีตอนสิ้นปี และยอดสินค้าคงเหลือปลายปีสูงไป

ปตี ่อไป ดว้ ยราคาทนุ ของสนิ คา้ ท่ีขายไปแลว้ แต่มิได้บันทกึ บัญชีออกไปเปน็ ขาย
มีผลตอ่ งบกำไรขาดทนุ เหตุน้ีทำให้ทรัพย์สินหมุนเวียนต่ำ และทุนต่ำเป็นจำนวนเท่ากับ
กำไรข้นั ตน้ จากการขาย
มีผลต่องบดลุ
ยอดขายเพิ่มขึ้น ต้นทุนสินค้าที่ขายเพิ่มข้ึน กำไรข้ันต้นและกำไร
สทุ ธิเพมิ่ ขึ้น
ไมก่ ระทบกระเทอื น

37. ปรบั ปรุงบญั ชีสินคา้ ผดิ พลาด (จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ อ้ ที่ 3)

การปรบั ปรงุ บญั ชสี นิ ค้า ในการปรับปรุงบัญชีสนิ ค้าทข่ี าดหรอื เกินบญั ชี มขี น้ั ตอน 2 ข้ันตอน ดังตอ่ ไปนี้
1. มีการแก้ไขทะเบียนสินค้าให้ถูกต้อง โดยถ้ามีสินค้าขาดบัญชจี ะบันทึกในช่องขาย และ

ตัดยอดออกไปตามวิธีการคิดต้นทุนสินค้าท่ีใช้ (เข้าก่อนออกก่อน หรือเข้าหลังออกก่อน หรือถัวเฉล่ียถ่วง
น้ำหนัก) สำหรบั กรณีสินค้าเกนิ จะบันทึกในช่องซ้อื และต้นทุนท่ใี ชบ้ ันทึกใหใ้ ชต้ น้ ทนุ คร้ังหลังสุด

2. มีการปรับปรุงบัญชีให้ถูกต้อง เช่น ถ้ามีสินค้าขาดบัญชีให้เดบิต บัญชีสินค้าขาดหรือ
เกิน (Inventory Over and Short) และเครดิต บัญชีสินค้า ถ้ามีสินค้าเกินให้บันทึกโดยเดบิต บัญชี
สนิ คา้ เครดติ บญั ชีสินคา้ ขาดหรอื เกนิ

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
38. จดั เตรยี มอปุ กรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏบิ ตั ิงาน ข้อมลู มีความถูกตอ้ ง ทันถว่ งทีตอ่ การใชข้ ้อมูล
(จุดประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ท่ี 8)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมินผลก่อนเรยี น-หลังเรยี น โดยทำแบบทดสอบ
2. นำเข้าส่บู ทเรยี นโดยทบทวนความรู้เดิม
3. กจิ กรรมการเรียน

3.1 ผู้สอนและผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายเรือ่ งผลกระทบของการตรี าคาสินคา้ คงเหลอื ผิดพลาด
3.2 แบ่งกลมุ่ ผ้เู รียนมารายงานหนา้ ช้ันเรียนเร่ืองปรับปรุงบัญชีสนิ ค้าผิดพลาด
3.3 ซกั ถามผู้เรียนเป็นรายบุคคล

สอื่ การเรยี นรู้

- หนงั สอื เรียนวิชาการบัญชีสินคา้

การวัดผล/ประเมินผล

19. การสังเกต
- ความตงั้ ใจและสนใจของผู้เรยี น
- ความรว่ มมือในการอภิปราย
- การแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล

20. การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
- กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
- แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผลหลังการเรยี นรู้

21. การทดสอบด้วยวาจาและขอ้ เขียน
- ตรวจแบบทดสอบ

- ตั้งคำถามใหต้ อบและอธิบาย

การบูรณาการ / ความสมั พันธ์กับวิชาอืน่

32. ความสัมพันธ์กับวชิ าภาษาไทย เพ่ือรณรงค์การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
33. ความสัมพันธ์กับวชิ าเศรษฐศาสตร์ เพอื่ ตระหนักถึงการใชท้ รัพยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ
34. ความสมั พนั ธก์ บั วชิ าเทคโนโลยี เพอื่ นำมาประยุกต์ใช้อยา่ งเหมาะสม ชว่ ยใหก้ ารทำงานสะดวก

รวดเร็ว มากย่ิงข้นึ
35. ความสัมพนั ธท์ างดา้ นบุคลิกภาพ เพอ่ื พฒั นาและฝกึ ฝนบคุ ลกิ ภาพของผู้เรียนให้ดยี ิง่ ข้ึน
36. ความสมั พันธก์ บั แมบ่ ทการบญั ชีและมาตรฐานการบญั ชีฉบบั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพื่อจัดทำบญั ชีใหเ้ ป็นไปตาม

หลกั การบญั ชีท่ีรบั รองทั่วไป

แบบบนั ทกึ การสงั เกตการณ์ทำงานรว่ มกับผู้อื่น

พฤติกรรม/ รับผดิ ชอบ ประสาน ร่วมแสดง
สามัคคีใน แนะนำวธิ ี ความ
ระดบั งานที่
ไดร้ บั รว่ มมอื ใน กลุม่ ขณะ ทำงาน
ลำดับ คะแนน มอบหมาย การดำเนนิ ทำงาน และ คดิ เหน็ ที่ รวม
ท่ี ชว่ ยเหลอื เป็น คะแนน
กจิ กรรม รว่ มกนั
ประโยชน์
เพ่อื น ตอ่ งาน
ชอ่ื -สกุล

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6

7

8
9
10

11
12

13
14
15
16
17
18
19

คำชี้แจง ให้สังเกตและพิจารณาพฤตกิ รรมของผู้เรียนแตล่ ะคน และเขียนเคร่อื งหมาย  ลงในช่องว่าง

ระดบั คะแนน
ระดับ 3 หมายถงึ มีพฤติกรรมในระดบั สงู
ระดบั 2 หมายถึง มพี ฤตกิ รรมในระดบั ปานกลาง
ระดบั 1 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดบั ต่ำ

บนั ทึกหลงั การสอน

บันทกึ ขอ้ คดิ เหน็ ของผู้สอน

19. แผนการสอน

เวลาสอนที่กำหนดไว้

 มาก  น้อย  เหมาะสม

เนือ้ หาสาระ

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม

1.3 ผลที่ได้หลงั จากการสอนตามแผน

 มาก  น้อย  เหมาะสม

ความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ ................................................................................................

20. ผู้เรียน

พฤติกรรมความสนใจในการเรยี น

 มากขึน้  เทา่ เดมิ  นอ้ ยลง

ความคดิ เห็นเพ่มิ เตมิ ................................................................................................

เปรียบเทียบผลการเรยี นจากเดิม

 เปลย่ี นแปลงมากขน้ึ  เปลยี่ นแปลงน้อยลง  ไมเ่ ปลย่ี นแปลง

ความคดิ เห็นเพิม่ เตมิ ................................................................................................

21. ผู้สอน

3.1 สอนได้มัน่ ใจ  มากขึ้น  เทา่ เดิม  นอ้ ยลง

3.2 สอนทันเวลา  มาก  น้อย  ไม่ทันเวลา

3.3 สอนเนื้อหา  มากขึน้  เท่าเดมิ  นอ้ ยลง

ลงชอื่ ...............................................ผู้สอน
(..................................................)

แบบทดสอบก่อน-หลังเรยี น หนว่ ยท่ี 6

จงเลอื กคำตอบข้อท่ีเห็นวา่ ถูกต้องทส่ี ุดเพยี งคำตอบเดียว

1. บริษัท เลอเลิศ จำกัด ได้ใช้นโยบายในการกำหนดราคาขายให้มีอัตรากำไรข้ันต้น 30% ของ

ราคาขายตอ่ ไปนคี้ อื ข้อมูลของปี 2550 :

สนิ คา้ คงเหลอื ต้นงวด 1 ม.ค. 2550 ราคาทุน 12,000 บาท

ซื้อ ราคาทุน 65,000 บาท

รวม 77,000 บาท

มูลค่าขายระหว่างปี 90,000 บาท

จากข้อมูลข้างต้นให้ท่านหามูลค่าสนิ คา้ คงเหลือ ณ วนั ท่ี 31 ธ.ค. 2550

ข. 35,100 บาท

ค. 23,100 บาท

ง. 27,000 บาท

จ. 14,000 บาท

2. ถา้ สนิ คา้ ปลายงวด ณ 31 ธ.ค. 2550 ตรี าคาสูงไป ใหท้ ่านเลอื กขอ้ ท่ีผิด

ก. ตน้ ทนุ ขายปี 2550 จะตำ่ ไปดว้ ย

ข. กำไรสทุ ธิปี 2551 จะต่ำไปด้วย

ค. กำไรสทุ ธิปี 2550 จะต่ำไปดว้ ย

ง. ตน้ ทนุ ขายปี 2551 จะสูงไปดว้ ย

3. สมมตุ ิว่ากจิ การแหง่ หนึ่งมีสินค้าต้นงวดยกมา 16,000 บาท ซื้อระหว่างปี 69,000 บาท และ

มีการขายระหว่างปี 100,000 บาท โดยมีอัตรากำไรข้ันต้น 40% ให้ท่านหามูลค่าสินค้า

คงเหลอื ปลายงวด

ก. 52,000 บาท

ข. 25,000 บาท

ค. 40,000 บาท

ง. 28,000 บาท

4. ถ้าสินค้าคงเหลือลายงวดมยี อดต่ำไป เนือ่ งจากตรวจนบั ผดิ จะมีผลให้
ก. กำไรสทุ ธใิ นปถี ัดไปจะต่ำไปดว้ ย
ข. ต้นทุนขายในปปี จั จบุ ันจะสูงไปด้วย
ค. บัญชีทนุ ในปีปัจจุบนั จะแสดงยอดตำ่ ไปดว้ ย
ง. ถกู ทั้งขอ้ ข. และขอ้ ค.

5. ในกรณีที่มีข้อผิดพลาดเน่ืองจากสาเหตุไม่ได้บันทึกลูกหน้ีและการขายตอนสิ้นงวดและยังได้นำ
สินค้าทีข่ ายมานบั รวมอยู่ในสินค้าปลายงวดด้วย จะมีผลให้
ก. ยอดขายและตน้ ทุนขายในปีปจั จุบันจะแสดงตำ่ ไป
ข. ลูกหนใ้ี นงบดุลจะแสดงยอดตำ่ ไป ส่วนสนิ คา้ คงเหลือจะแสดงยอดสูงไปในปีปัจจบุ นั
ค. ส่วนของผถู้ อื หุน้ ในปีปัจจุบันจะแสดงยอดต่ำไปเป็นจำนวนเท่ากับกำไรข้นั ต้นจากการขาย
สนิ คา้ ดงั กล่าวนัน้
ง. ถกู ทุกข้อ

6. ในการตีราคาสินค้าคงเหลือปลายงวดของกิจการซึ่งตั้งเป็นปีแรก พบว่าการตีราคาสินค้าโดยวิธี
LIFO จะใหค้ า่ สงู กว่าวธิ ี FIFO แสดงวา่
ก. ราคาสนิ ค้ามแี นวโนม้ สงู ข้ึน
ข. ราคาสนิ ค้ามีแนวโนม้ ต่ำลง
ค. ราคาสินคา้ ไม่มสี ่วนเก่ยี วขอ้ ง
ง. ถูกทกุ ขอ้

7. ในกรณีท่ีตรี าคาสินคา้ คงเหลือปลายงวดสงู ไป 100,000 บาท จะมีผลให้
ก. ตน้ ทุนขายสูงไป 100,000 บาท
ข. กำไรสทุ ธติ ำ่ ไป 100,000 บาท
ค. สินค้าตน้ งวดปถี ดั ไปตำ่ ไป 100,000 บาท
ง. กำไรสุทธจิ ะสูงไป 100,000 บาท


Click to View FlipBook Version