The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

plan-ebook63

plan-ebook63

การจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้มุ่งเน้นสมรรถนะ

วชิ า การบญั ชีสินค้าและระบบในสำคญั รหสั วชิ า ๒๐๒๐๑-๒๑๐๑
ทฤษฎี ๑ ปฏบิ ตั ิ ๔ หน่วยกติ ๓

หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวชิ าการบญั ชี
สาขางานการบญั ชี

จดั ทำโดย

นางสาวสิรนิ ทร์ทิพย์ ศิรบิ ตุ ร

วิทยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

กระทรวงศึกษาธิการ

แผนการสอน/การเรยี นรู้

รหสั วชิ า ๒๐๒๐๑-๒๑๐๑ วิชาการบญั ชีสินคา้ และระบบใบสำคญั

จดั ทำโดย
ช่อื นางสาวสริ ินทร์ทิพย์ ศิรบิ ุตร
วุฒิปริญญาตรี สาขาบัญชีบณั ฑติ

แบบคำขออนุมตั ใิ ชแ้ ผนการสอน

แผนการสอน/การเรยี นรู้มุ่งเนน้ สมรรถนะอาชีพ
และบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง/คณุ ลกั ษณะ 3 D

รายวิชา บญั ชีสนิ คา้ และระบบใบสำคญั รหัสวิชา 20201-2101

ความเหน็ หัวหนา้ แผนกการบัญชี ลงชอ่ื ...........................................
………………………….……………….. (นางสาวสิรินทร์ทพิ ย์ ศิริบุตร)

ครพู ิเศษสอน
ผู้จดั ทำ
ความเห็นหวั หนา้ งานพัฒนาหลักสูตรฯ
……………………………………….……….

(นางประไพศรี วงศ์ปรดี ี) (นายคุมดวง พรมอินทร์)
หวั หนา้ แผนกวชิ าการบญั ชี หวั หนา้ งานพฒั นาหลักสตู รการเรยี นการสอน

ความเหน็ รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ
…………………..……………………………
(นายทินกร พรหมอินทร์)
รองผู้อำนวยการฝา่ ยวิชาการ

ความเหน็ ผูอ้ ำนวยการวิทยาลัยเทคนคิ สวา่ งแดนดิน

O อนมุ ตั ิ O ไม่อนมุ ตั ิ

......................................
(นางวรรณภา พว่ งกลุ )
ผู้อำนวยการวทิ ยาลยั เทคนิคสว่างแดนดิน



คำนำ

แผนการสอนวิชาการบัญชีสินค้า รหัส 20201-2101 เล่มน้ีได้เรียบเรียงตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ(ปวช.) พุทธศักราช 2562 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จดั ทำโดยมวี ัตถุประสงคเ์ พ่ือให้ผูส้ อน
รายวิชา การบัญชีสินค้า ได้มีเอกสารเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้เกิดผลสัมฤทธ์ิที่ดี ท้ังด้านผู้สอน
และผเู้ รยี น

แผนการสอนเล่มนี้ มีท้ังหมด 6 หน่วย ใช้เวลาสอน 18 สัปดาห์ใน 1 ภาคเรียน สัปดาห์ละ 3 คาบ
รวมท้ังสิ้น 90 คาบ แบง่ เป็นภาคทฤษฎี 18 คาบ ภาคปฏิบัติ 72 คาบ โดยใช้วิธีการสอนหลากหลาย โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง วิชาการบัญชีสินค้า เน้นในการฝึกทักษะของผู้เรียนจะต้องฝึกฝนทำแบบฝึกหัดซ้ำจนเกิดทักษะการ
ทำงาน ทำใหผ้ ู้เรียนสามารถทำไดอ้ ย่างถูกต้องและรวดเร็ว ข้าพเจ้าจึงพยายามเลือกวิธีการสอนทเ่ี หมาะสมมาก
ท่ีสุดมาบรรจุไว้ในแผนการสอน เพอ่ื ทำใหก้ ารเรียนการสอนมปี ระสิทธภิ าพยิ่งขึน้ สว่ นกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ข้าพเจ้าเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในงานที่มอบหมาย มีความสามัคคี กล้าแสดงความคิดเห็น และมีมนุษยสมั พันธ์
สื่อการสอนท่ีใช้ในวิชา การบัญชีสินค้า ได้แก่ สื่อแผ่นภาพ ส่ือสิ่งพิมพ์ และส่ือประเภทของจริง ประกอบการ
เรียนการสอน มีการวัดผลและประเมินผล โดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียน
แบบฝกึ หดั ในการปฏบิ ัติ แบบทดสอบย่อย แบบทดสอบกลางภาคและปลายภาค

คุณงามความดที ไ่ี ด้จากการจดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้เลม่ นี้ ผจู้ ัดทำขอมอบให้กบั การศึกษาไทยต่อไป

นางสาวสิรนิ ทร์ทิพย์ ศริ ิบุตร
วิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ

สารบญั ข

เรื่อง หนา้
แบบคำขออนมุ ัตใิ ช้แผนการสอน
คำนำ ก
สารบัญ ข
แผนการสอน/แผนจดั การเรียนร้รู ายวชิ า 1
วิเคราะห์หวั ข้อเรื่อง 2
รายการวเิ คราะห์ เน้อื หาวชิ า จุดประสงค์รายวชิ า มาตรฐานรายวิชา 4
ตารางวิเคราะห์ระดับ พทุ ธพิ สิ ยั ทกั ษะพิสัย จติ พิสัย 5
สมรรถนะและจดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 6
หนว่ ยการสอน/การเรียนรู้ทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ 7
กำหนดการเรยี นรู้ 8
แผนสอนหนว่ ยที่ 1 เรอ่ื ง ความร้ทู วั่ เกย่ี วกับสินคา้ 9
แผนสอนหน่วยท่ี 2 เรอ่ื ง การตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือ 20
แผนสอนหนว่ ยท่ี 3 เรื่อง การบนั ทกึ บญั ชเี กย่ี วกบั สินค้า 31
แผนสอนหนว่ ยท่ี 4 เร่ือง การตีราคาสนิ คา้ คงเหลือราคาทนุ 44
แผนสอนหน่วยที่ 5 เรือ่ ง การตีราคาสนิ ค้าคงเหลือและโดยการประมาณการ 55
แผนสอนหนว่ ยท่ี 6 เรื่อง การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาด 70

แผนการสอน/แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวชิ า

ช่ือรายวชิ า การบญั ชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ รหัสวชิ า 20201-2101 (ท-ป-น) 1-4-3

ระดบั ช้นั ปวช.2 สาขาวชิ า/กลุ่มวิชา/แผนกวชิ า การบัญชี

หน่วยกติ 3 จำนวนคาบรวม 90 คาบ

ทฤษฎี 5 คาบ/สัปดาห์

ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

จดุ ประสงค์รายวชิ า
1. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับหลักการ และกระบวนการปฏบิ ัตงิ านบญั ชีเกย่ี วกับสนิ คา้
2. มีทักษะปฏิบัติงานบญั ชี ท้งั ในการควบคุม และการตรวจสอบการปฏิบัติงานเพิม่ มากขึน้
3. มีกจิ นิสยั ความมีระเบยี บ ละเอียดรอบคอบ มีวนิ ยั ตรงตอ่ เวลา มีเจตคติที่ดตี ่อวิชาชีพบัญชีและ

จรรยาบรรณในวิชาชพี

มาตรฐานรายวิชา
1. เขา้ ใจหลักการ วิธีการและข้ันตอนการปฏบิ ตั ิงานบัญชีเกี่ยวกับสินค้า
2. บันทึกบัญชีเก่ียวกับสนิ ค้าแบบสิน้ งวดและสนิ คา้ แบบตอ่ เนอื่ ง
3. คำนวณราคาสินค้าคงเหลือแต่ละวธิ ี

คำอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏบิ ัตเิ กยี่ วกบั ระบบการควบคุมสินค้า โดยการทำบัญชคี วบคมุ สนิ คา้ ตามมาตรฐานการ

บญั ชี การตรวจนับและควบคมุ สินคา้ คงเหลือในวันสิน้ งวดบญั ชี การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื การบันทึกรายการ
เก่ียวกับสินค้าแบบสนิ้ งวด (Periodic) และแบบต่อเนอื่ ง (Perpetual)

วเิ คราะหห์ ัวข้อเรอ่ื ง

รหัสวิชา 20201-2101ช่ือวิชา การบัญชีสนิ ค้าและระบบใบสำคัญ หนว่ ยกติ 3 (ชว่ั โมง) 5

หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทรายวิชาพาณิชยกรรม

สาขาวิชาการบญั ชี สาขางานการบัญชี

หัวขอ้ เร่ือง (Topic) แหล่งข้อมูล
A BC D E

1 ความรู้ทัว่ ไปเก่ียวกบั สนิ คา้ √ √√
2
3 การตรวจนับและควบคุมสินค้าคงเหลือ √ √√
4
การบนั ทกึ บญั ชีเกยี่ วกับสินค้า √ √√
5
การตีราคาสินค้าคงเหลือราคาทนุ และจดั ทำงบเสนองบ √ √√
6
การเงนิ
หมายเหตุ
การตีราคาสนิ ค้าคงเหลอื และโดยการประมาณการและ √ √√
ระบบใบสำคญั

การแก้ไขข้อผิดพลาด √ √√
ทดสอบทกุ จดุ ประสงค์

A : คำอธบิ ายรายวิชา
B : ผู้เช่ยี วชาญ
C : ผชู้ ำนาญการ
D : ประสบการณข์ องครูผู้สอน
E : เอกสาร/ตำรา/คมู่ ือ

วิเคราะหห์ วั ข้อเรอื่ ง

รหัสวิชา 20201-2101ช่ือวชิ า การบัญชีสนิ คา้ และระบบใบสำคญั หน่วยกติ 3 (ชัว่ โมง) 3

หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชพี ประเภทรายวิชาพาณิชยกรรม

สาขาวิชาการบัญชี สาขางานการบัญชี

หวั ขอ้ หลกั (Main Element) / หัวขอ้ ยอ่ ย (Element)
หนว่ ยการเรยี นรู้ (Learning Unit)

1. ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกับสนิ ค้า 1.1 ความหมายของสินค้า

1.2 ประเภทของสินคา้

1.3 รายการทค่ี วรนบั รวมเปน็ สนิ คา้ คงเหลอื

1.4 ระบบการควบคมุ สนิ ค้าคงเหลอื

1.5 จำนวนสง่ั ซื้อทปี่ ระหยัด

1.6 การจดั ทำบัญชีควบคุมสินค้า

1.7 วธิ ีการลงรายการในบัญชีสนิ คา้

2. การตรวจนับและควบคุมสินค้าคงเหลือ 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการตรวจนบั และควบคุมสนิ ค้าคงเหลอื

2.2 การวางแผนการตรวจนบั และควบคุมสินคา้ คงเหลอื

2.3 ขัน้ ตอนในการตรวจนับและควบคุมสินคา้ คงเหลอื

2.4 ขอ้ ควรระวังในการตรวจนบั และควบคมุ สินคา้ คงเหลอื

2.5 วิธกี ารตรวจนับและควบคมุ สินค้าคงเหลอื

3. การบนั ทกึ บญั ชเี กี่ยวกบั สนิ ค้า 3.1 วธิ ีการบนั ทึกบัญชีเก่ียวกับสนิ ค้า

3.2 เปรียบเทียบการบันทกึ บัญชสี ินคา้ คงเหลือแบบสนิ้ งวด และแบบตอ่ เนอ่ื ง

4. การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือราคาทุนและ 4.1 วธิ ีการตีราคาสินค้าคงเหลอื

จดั ทำงบเสนองบการเงนิ 4.2 การตีราคาสนิ คา้ คงเหลือตามราคาทุน

4.3 เปรียบเทียบผลของการตีราคาสนิ คา้ คงเหลือตามวธิ ีตา่ งๆ

5. การตีราคาสนิ คา้ คงเหลอื และโดยการ 5.1 การตรี าคาสินค้าคงเหลือตามราคาทนุ หรอื ราคาตลาดที่ตำ่ กว่า

ประมาณการและระบบใบสำคัญ 5.2 วิธกี ารคำนวณราคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกวา่

5.3 ผลของการใช้ราคาทุนหรือราคาตลาดทตี่ ่ำกว่า

5.4 การบันทกึ บัญชีสนิ ค้าคงเหลอื ในราคาทนุ หรอื ราคาตลาดที่ต่ำกว่าในบญั ชี

5.5 สนิ คา้ ที่เสอื่ มคุณภาพ สินค้าลา้ สมยั สินคา้ ทร่ี ับแลกเปลี่ยน และสนิ คา้ ท่ยี ึดคืน

มา

5.6 ผลขาดทุนจากข้อตกลงในการซื้อ

5.7 วิธกี ารตรี าคาสินค้าคงเหลอื ตามราคาขาย

5.8 การตีราคางานกอ่ สร้าง

5.9 การประมาณราคาสินค้าคงเหลอื

5.10 การประมาณการราคาสนิ ค้าคงเหลอื โดยใชร้ าคาขายปลีก

6. การแกไ้ ขข้อผิดพลาด 6.1 ข้อผิดพลาดเกี่ยวกบั สนิ คา้ คงเหลือ

รายการวเิ คราะห์ เนือ้ หาวิชา จดุ ประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวิชา

รหัสวิชา 20201-2101ชอ่ื วิชา การบญั ชีสนิ คา้ และระบบใบสำคัญ หนว่ ยกิต 3

(ชั่วโมง) 5

หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ ประเภทรายวิชาพาณิชยกรรม

สาขาวชิ าการบญั ชี สาขางานการบัญชี

หัวข้อหลกั / จุดประสงค์ มาตรฐาน
หนว่ ยการ
เรียนรู้ เนอื้ หาวิชา รายวิชา รายวชิ า

1 123123
2
3 ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกบั สนิ คา้ √√√√√√
4
การตรวจนับและควบคุมสินคา้ คงเหลอื √√√√√√
5
การบันทกึ บญั ชีเก่ยี วกับสนิ คา้ √√√√√√
6
การตีราคาสินค้าคงเหลอื ราคาทนุ และจดั ทำงบเสนอ √ √ √ √ √ √

งบการเงิน

การตีราคาสนิ ค้าคงเหลือและโดยการประมาณการ √ √ √ √ √ √

และระบบใบสำคัญ

การแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาด √√√√√√

ตารางวิเคราะหร์ ะดบั พุทธิพสิ ยั ทักษะพสิ ัย จติ พิสยั

รหสั วิชา 20201-2101 ช่ือวชิ า การบัญชีสินค้าและระบบใบสำคญั หนว่ ยกิต 3 (ชัว่ โมง) 5

หลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ประเภทรายวิชาพาณิชยกรรม

สาขาวชิ าการบญั ชี สาขางานการบัญชี

หน่วย ชอ่ื หน่วย ระดับพฤตกิ รรมท่พี ึง่ ประสงค์ เวลา
ท่ี พุทธพิ สิ ยั ทกั ษะพสิ ยั จิตพิสัย (ชม.)
1 2 3 4 5 61 23 45 1 2 3 4 5

1 ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั สินค้า √ √ √√√√ √√√ 10

2 การตรวจนับและควบคุมสนิ คา้ √ √ √ √ √ √ √√√ 15

คงเหลือ

3 การบันทกึ บัญชีเกยี่ วกบั สินคา้ √ √ √ √ √ √ √√√ 20

4 การตีราคาสินค้าคงเหลอื ราคาทนุ √ √ √ √ √ √ √√√ 15

และจดั ทำงบเสนองบการเงนิ

5 การตรี าคาสินค้าคงเหลอื และโดย √ √ √ √ √ √ √√√ 15

การประมาณการและระบบ

ใบสำคัญ

6 การแก้ไขข้อผิดพลาด √ √ √√√√ √√√ 15

พทุ ธพิ สิ ยั ทักษะพสิ ัย จติ พสิ ยั
1= ความรู้ 1= เลยี นแบบ 1= รบั รู้
2= ความเข้าใจ 2= ทำไดต้ ามแบบ 2= ตอบสนอง
3= การนำไปใช้ 3= ทำได้ถูกต้อง 3= เหน็ คณุ คา่
4= การวิเคราะห์ แม่นยำ 4= จัดระบบคุณค่า
5= การสังเคราะห์ 4= ทำไดต้ ่อเนอ่ื ง 5= พัฒนาเป็นลกั ษณะ
6= การประเมนิ ค่า ประสานกัน นิสยั
5= ทำได้อยา่ งเป็น
ธรรมชาติ

นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาปฏบิ ัติ

ช่อื เรอื่ งและงาน สมรรถนะท่พี งึ ประสงคข์ องแผนการสอน

ชอ่ื เรื่องและงาน สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์

หน่วยที่ 1 ความรูท้ ว่ั ไปเกย่ี วกับสนิ ค้า 1.1 ความหมายของสินคา้
1.2 ประเภทของสินคา้
หน่วยท่ี 2 การตรวจนบั และควบคุมสินคา้ คงเหลอื 1.3 รายการที่ควรนบั รวมเปน็ สนิ คา้ คงเหลอื
1.4 ระบบการควบคมุ สินคา้ คงเหลอื
หน่วยท่ี 3 การบันทึกบัญชเี กี่ยวกับสนิ ค้า 1.5 จำนวนสง่ั ซือ้ ทปี่ ระหยดั
หนว่ ยท่ี 4 การตีราคาสินค้าคงเหลือราคาทนุ และจัดทำ 1.6 การจดั ทำบญั ชีควบคมุ สินคา้
งบเสนองบการเงิน 1.7 วธิ ีการลงรายการในบัญชสี ินค้า
หน่วยท่ี 5 การตีราคาสินค้าคงเหลอื และโดยการ 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของการตรวจนับและควบคุมสินค้าคงเหลือ
ประมาณการและระบบใบสำคญั 2.2 การวางแผนการตรวจนับและควบคุมสินคา้ คงเหลือ
2.3 ขนั้ ตอนในการตรวจนับและควบคุมสนิ ค้าคงเหลอื
หนว่ ยที่ 6 การแกไ้ ขขอ้ ผิดพลาด 2.4 ข้อควรระวงั ในการตรวจนบั และควบคุมสนิ คา้ คงเหลือ
2.5 วิธกี ารตรวจนับและควบคุมสินคา้ คงเหลอื
3.1 วิธีการบันทึกบญั ชเี กี่ยวกับสินคา้
3.2 เปรียบเทียบการบนั ทึกบญั ชสี ินคา้ คงเหลือแบบสิน้ งวด และแบบตอ่ เนอ่ื ง
4.1 วิธีการตีราคาสนิ ค้าคงเหลือ
4.2 การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ตามราคาทนุ
4.3 เปรียบเทียบผลของการตรี าคาสนิ คา้ คงเหลอื ตามวิธีต่างๆ
5.1 การตีราคาสินคา้ คงเหลอื ตามราคาทุนหรอื ราคาตลาดท่ตี ่ำกวา่
5.2 วธิ กี ารคำนวณราคาสินคา้ คงเหลอื ตามราคาทุนหรือราคาตลาดที่ต่ำกว่า
5.3 ผลของการใชร้ าคาทุนหรอื ราคาตลาดท่ีต่ำกว่า
5.4 การบันทึกบญั ชสี ินคา้ คงเหลือในราคาทุนหรอื ราคาตลาดทต่ี ่ำกวา่ ในบัญชี
5.5 สินคา้ ทีเ่ ส่อื มคุณภาพ สินคา้ ลา้ สมัย สนิ คา้ ท่รี บั แลกเปลยี่ น และสนิ คา้ ทย่ี ดึ คนื มา
5.6 ผลขาดทุนจากข้อตกลงในการซอ้ื
5.7 วธิ กี ารตรี าคาสนิ ค้าคงเหลือตามราคาขาย
5.8 การตีราคางานก่อสร้าง
5.9 การประมาณราคาสนิ ค้าคงเหลือ
5.10 การประมาณการราคาสนิ ค้าคงเหลอื โดยใชร้ าคาขายปลกี
6.1 ขอ้ ผดิ พลาดเกย่ี วกับสินค้าคงเหลือ

หนว่ ยการสอน/การเรยี นรูท้ ฤษฎแี ละปฏบิ ัติ
รหัส 20201-2101 วิชา การบัญชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ

ทฤษฎี 1 คาบ/สปั ดาห์ ปฏิบัติ 4 คาบ/สัปดาห์

หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ย จำนวนคาบทฤษฎี
1 ความรทู้ ่วั ไปเกี่ยวกับสินค้า 1
2 การตรวจนบั และควบคมุ สนิ คา้ คงเหลอื 2
3 การบนั ทึกบัญชเี กย่ี วกับสินค้า 3
4 การตรี าคาสินค้าคงเหลือราคาทนุ และจดั ทำงบเสนองบการเงนิ 3
5 การตีราคาสินค้าคงเหลือและโดยการประมาณการและระบบ 3
ใบสำคัญ 3
6 การแกไ้ ขข้อผิดพลาด 3
สอบปลายภาค

รวม 18

กำหนดการเรยี นรู้

รหัสวิชา 20201-2101ชอื่ วิชา การบญั ชีสินค้าและระบบใบสำคญั หน่วยกิต 3 (ช่วั โมง) 5

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ประเภทรายวิชาพาณิชยกรรม

สาขาวชิ าการบญั ชี สาขางานการบัญชี

หนว่ ยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สัปดาหท์ ี่ ช่วั โมงท่ี

1 ความรู้ท่วั ไปเกีย่ วกบั สินคา้ 1-2 1-6
7-24
2 การตรวจนับและควบคุมสินค้าคงเหลอื 3-4 25-45
34-46
3 การบันทึกบัญชเี กีย่ วกับสนิ ค้า 5-8
46-54
4 การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื ราคาทุนและจัดทำงบเสนองบการเงินและ 9-11
55-72
จดั ทำงบเสนองบการเงนิ

5 การตรี าคาสนิ ค้าคงเหลอื และโดยการประมาณการและระบบใบสำคัญ 12-15

และระบบใบสำคัญ

6 การแก้ไขขอ้ ผดิ พลาด 16-19

สอบปลายภาค

รวม 18 72

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 1

ชอ่ื วิชา การบัญชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ สอนสปั ดาหท์ ี่ 1-2
ช่อื หนว่ ย ความร้ทู ัว่ ไปเกย่ี วกบั สนิ ค้า คาบรวม 6
ชือ่ เรือ่ ง ความรทู้ ั่วไปเกีย่ วกับสินคา้ จำนวนคาบ 6

หวั ขอ้ เร่ือง

ด้านความรู้
1. บอกความหมายของคำวา่ “สนิ ค้า” ได้

2. บอกประเภทของสนิ คา้ ได้

ด้านทกั ษะ
1. บอกรายการทีค่ วรนับรวมเป็นสนิ คา้ คงเหลือได้
2. อธิบายระบบการควบคุมสินค้าได้

ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. บอกวธิ กี ารทำบัญชคี วบคุมสินค้าตามมาตรฐานการบญั ชไี ด้
2. จดั เตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ขอ้ มลู มีความถกู ตอ้ ง ทันถ่วงทีต่อการใช้ขอ้ มูล

สาระสำคัญ

สนิ ค้าหรอื สินค้าคงเหลอื ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับท่ี 31 หมายถงึ สินทรพั ย์ ซ่ึง (1) มีไว้เพ่ือขาย
ตามลักษณะการประกอบการทางธุรกิจโดยปกติ หรือ (2) อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิต เพ่ือให้เป็นสินค้า
สำเร็จรูปเพ่อื ขาย หรือ (3) มีไวเ้ พ่ือใช้ในการผลิตสนิ ค้าหรอื ให้บริการ

สินค้าคงเหลือ แบ่งตามประเภทของกิจการได้เป็น 2 ประเภท คือ กิจการซ้ือมาขายไป สินค้า
คงเหลือ คือสินค้าสำเร็จรูป ส่วนกิจการอุตสาหกรรม หรือกิจการผู้ผลิตสินค้า สินค้าคงเหลือมี 4 ชนิด
ด้วยกันคือ วัตถดุ บิ คงเหลือ สินค้าระหว่างผลิตคงเหลือ สนิ ค้าสำเร็จรปู คงเหลอื และวัสดโุ รงงานคงเหลอื

รายการที่ควรนับเป็นสินค้าคงเหลือ ได้แก่ สินค้าระหว่างทางท่ีซ้ือด้วยเงื่อนไข F.O.B. Shipping
Point สินค้าระหว่างทางที่ขายด้วยเงื่อนไข F.O.B. Destination สินค้าฝากขาย ด้านผู้ฝากขาย และสินค้า
ขายผ่อนชำระด้านผู้ขาย การควบคุมสินค้าคงเหลือให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมไม่ให้มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซ้ือ
คา่ ใช้จา่ ยในการเก็บรกั ษา และต้นทุนสินค้ามากเกินไป โดยการคำนวณหาปริมาณการสั่งซ้ือที่ประหยัด (EOQ
= Economic Order Quantity) และเวลาในการสง่ั ซ้อื ท่ีเหมาะสม (Lead Time)

โดยปกติในการทำบัญชีควบคุมสินค้านั้น ต้องทำบัญชีอย่างน้อย 3 เล่มด้วย คือ ทะเบียนรับสินค้า

ทะเบียนจ่ายสินค้า และบัญชีแยกประเภทสินค้า ในธรุ กิจที่ใช้ระบบบัญชสี ินค้าแบบตอ่ เนื่องจะใช้ทะเบียนสนิ ค้า
เปน็ บญั ชีสินค้าในบัญชีแยกประเภทก็ได้

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของสนิ คา้
2. ประเภทของสินคา้
3. รายการทค่ี วรนับรวมเปน็ สนิ ค้าคงเหลือ
4. ระบบการควบคุมสินค้า
5. การทำบญั ชีควบคมุ สินคา้ ตามมาตรฐานการบญั ชี

จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนรู้

1. บอกความหมายของคำวา่ “สนิ คา้ ” ได้ (ด้านความร)ู้
2. บอกประเภทของสินคา้ ได้ (ดา้ นความร)ู้
3. บอกรายการทคี่ วรนบั รวมเป็นสนิ คา้ คงเหลอื ได้ (ดา้ นทักษะ)
4. อธบิ ายระบบการควบคมุ สนิ คา้ ได้ (ด้านทักษะ)
5. บอกวธิ กี ารทำบัญชคี วบคมุ สินค้าตามมาตรฐานการบญั ชไี ด้ (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม)
6. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

(ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม)

เนอื้ หาสาระการสอน / การเรียนรู้

ด้านความรู้
1. ความหมายของสินคา้ (จดุ ประสงคพ์ ฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ที่ 1)
สินค้าหรือสินค้าคงเหลือ (Inventories) ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 ได้ให้ความหมายของ

สินค้าคงเหลือไวด้ ังน้ี
สนิ คา้ คงเหลือ หมายถงึ ทรพั ยส์ ิน ซึง่
(ก) มีไว้เพ่ือขาย ตามลกั ษณะการประกอบธรุ กิจโดยปกติ หรือ
(ข) อยใู่ นระหว่างกระบวนการผลติ เพื่อใหเ้ ปน็ สนิ ค้าสำเรจ็ รูปเพ่ือขาย หรือ
(ค) มไี ว้เพื่อใชใ้ นการผลิตสินค้าหรอื ใหบ้ ริการ
แต่ความหมายของสินค้าคงเหลือตามศัพท์บัญชี หมายถึง สินค้าสำเร็จรูป งาน หรือสินค้า

ระหว่างทำ วัตถดุ ิบและวสั ดุใชใ้ นการผลิตเพือ่ ขายตามปกตขิ องกิจการ

จากความหมายของสินค้าคงเหลอื ตามมาตรฐานการบัญชี ประกอบดว้ ย
1. สินค้าที่ซื้อและถือไว้เพือ่ ขาย ตวั อย่างเช่น สินค้าท่ีผ้ขู ายปลีกซ้ือไว้เพื่อขาย หรอื ท่ีดินและ
สินทรพั ยอ์ ื่น ๆ ที่ซือ้ ไว้เพ่อื ขาย
2. สนิ ค้าสำเร็จรปู งานระหว่างทำ รวมทัง้ วัตถุดิบทใ่ี ชใ้ นการผลติ
3. ตน้ ทุนงานให้บรกิ ารในสว่ นทีส่ ัมพนั ธก์ บั รายไดท้ ีย่ งั ไมร่ ับรขู้ องกจิ การที่ให้บรกิ าร
2. ประเภทของสินค้า (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนรู้ข้อท่ี 2)
สนิ คา้ คงเหลือ แบ่งตามประเภทของกิจการไดเ้ ป็น 2 ประเภท ใหญ่ ๆ คือ
1. กิจการซ้อื มาขายไป
สินค้าคงเหลือของกิจการประเภทนี้ ได้แก่ สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods) ตามความหมาย
ของคำศพั ท์บญั ชี สนิ คา้ สำเร็จรูปหมายถึงของท่ีทำหรือผลิตสำเร็จไว้เผ่อื ขาย โดยมุง่ หวังกำไรเพ่อื เป็นการตอบแทน
2. กิจการอตุ สาหกรรม
เป็นกิจการที่ทำการผลิตสินค้าข้ึนมาเพ่ือจำหน่าย ซึ่งจะดำเนินกิจการในรูปแบบของกิจการ
เจ้าของคนเดยี ว หรือหา้ งหุ้นส่วน หรือบรษิ ทั กไ็ ด้

สินคา้ คงเหลือของกิจการอุตสาหกรรม มี 4 ชนดิ คือ
(1) วัตถุดิบคงเหลือ (Material Inventories) หมายถึง มูลค่าของวัตถุดิบที่มีไว้เพ่ือผลิต
สินค้าท่คี งเหลอื อยู่ในวนั สนิ้ งวดบญั ชี ซงึ่ วัตถดุ บิ จำนวนนจี้ ะนำไปใช้ในการผลติ ของงวดต่อไป
(2) สนิ ค้าระหว่างผลิตคงเหลือ (Work in Process Inventories) หมายถึง สนิ ค้าที่ยัง
ผลิตไมเ่ สร็จสมบูรณ์ในวันสิ้นงวดบัญชี และจะต้องทำการผลิตต่อในงวดบัญชีตอ่ ไป เพ่ือให้เปน็ สินค้าสำเรจ็ รูปท่ี
พรอ้ มจะเสนอขายได้
(3) สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (Finished Goods Inventories) หมายถึง สินค้าท่ีผลิต
เสร็จสมบรู ณ์แล้ว แตย่ งั ขายไดไ้ ม่หมดในวันสนิ้ งวดบัญชี
(4) วัสดโุ รงงานคงเหลือ (Factory Supplies) หมายถงึ วสั ดุหรอื ของใช้ส้ินเปลืองทก่ี ิจการ
นำมาใชใ้ นการผลติ นอกเหนอื ไปจากวตั ถุดบิ เชน่ สี ตะปู น้ำมันหล่อลื่น
3. รายการทีค่ วรนบั รวมเป็นสินค้าคงเหลือ (จุดประสงคพ์ ฤติกรรมการเรยี นรู้ขอ้ ที่ 3)
(1) สนิ คา้ อยรู่ ะหว่างทาง (Goods in Transit)
(2) การฝากขาย (A Consignment)
(3) สนิ ค้าทแี่ ยกไวต้ า่ งหาก (Segregated Goods)
(4) สนิ คา้ ท่ขี ายโดยมีเงอื่ นไขและสนิ คา้ ท่ีขายโดยการผ่อนชำระ (Conditional and Installment
Sales)

4. ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงเหลอื (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรียนรขู้ อ้ ที่ 4)
การวางระบบการควบคุมสนิ ค้าคงเหลือ ควรกำหนดวิธกี ารดังนี้ คือ
1. ให้มีผู้รับผิดชอบในคลังสินค้าแต่ละแห่งอย่างชัดเจน การอนุมัติให้มีการเบิกจ่ายรับสินค้า

ส่งคนื หรอื รบั คืน
2. ใหม้ รี ะบบการรักษาความปลอดภยั อย่างเพียงพอ
3. ให้มีทะเบียนหรือบัตรบันทึกการรับ จ่ายสินค้า ตลอดจนใบเบิกสินค้า ใบรับสินค้า ใบคืน

ใบยืมสินค้า
4. ให้มีการตรวจนับสินค้าคงเหลอื อยา่ งน้อยปีละ 1 ครง้ั
5. การบนั ทึกและจัดทำรายงานสินคา้ ท่ีชำรดุ เสยี หาย เสื่อมสภาพ หรือลา้ สมัย และสนิ ค้าท่ี

ไมม่ กี ารเคลือ่ นไหว
6. การบันทึกการส่งสินค้าไปฝากขาย ให้จดั ทำรายงานแยกต่างหาก เพื่อควบคุมสนิ ค้าที่สง่ ไป

ฝากขาย และตดั สตอ็ กสินค้าในแต่ละแหง่
7. ให้บุคคลท่ีทำหน้าที่ตรวจนับควรเป็นบุคคลคนละคนกับผู้ออกหรือจัดทำเอกสารเบิกจ่าย

สินคา้
8. ให้มีการประกนั ภยั สนิ ค้า ไม่ว่าจะเป็นการประกันอคั คีภยั หรอื โจรกรรม
9. กรณีที่มีการตรวจนับแล้วพบว่า ยอดตรวจนับกับยอดสินค้าคงเหลือตามบัญชี ไม่ตรงกันให้

กำหนดวิธกี ารและระเบียบให้ชดั เจน รวมถึงการจัดทำรายงานสนิ คา้ และวตั ถุดิบ

5. การจดั ทำบัญชีควบคมุ สินคา้ (จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรขู้ อ้ ที่ 5)
กิจการจะจัดทำบัญชีสินค้าแยกตา่ งหากอีกชดุ หน่ึง เพอื่ ใชใ้ นการควบคมุ เก่ียวกบั ตวั สนิ ค้าท่ีกจิ การมีไว้

ในครอบครองในทางบัญชี และเพอื่ ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย บญั ชคี มุ สนิ ค้าตอ้ งจัดทำอย่างน้อย 3 เล่ม คอื
1. ทะเบียนรับสนิ ค้า
2. ทะเบยี นจ่ายสินค้า
3. บัญชแี ยกประเภทสินค้า
1. ทะเบียนรับสินค้า เป็นสมุดบัญชีที่ใช้สำหรับลงรายการเกี่ยวกับการรับสินค้า ซ่ึงถือว่าเป็น

สมุดบนั ทกึ รายการขั้นต้นเก่ียวกับการรับสินค้า โดยการบันทึกบัญชีจะบนั ทกึ ตามลำดับวันทกี่ ่อนหลัง แล้ว
ผ่านรายการไปยงั บญั ชีแยกประเภทสนิ ค้า และจะปิดยอดทกุ วนั สิ้นเดอื น

2. ทะเบียนจ่ายสินค้า มีลักษณะคล้ายคลึงกับทะเบียนรับสินค้า หลักฐานในการนำมา
ประกอบการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการจ่ายในทะเบียนจ่ายสินค้า คือ ใบเบิกภายใน และใบส่งคืนสินค้า
การบันทึกบัญชีจะบันทึกตามลำดับวันท่ีก่อนหลัง แล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทสินค้า เช่นเดียวกับ

ทะเบียนรับสินค้า
3. บัญชีแยกประเภทสินค้า สมุดบัญชีเล่มนี้จะใช้เป็นทะเบียนคุมยอดสินค้าในแต่ละชนิดของ

กิจการ ว่ามีการรับเข้าจ่ายออก และมียอดคงเหลือในแต่ละวันเป็นจำนวนเท่าใด โดยจะนำรายการรับและจ่าย
มาจากทะเบียนรับสินค้าและจ่ายสินค้า ซ่ึงบัญชีแยกประเภทสินค้าจะเปน็ บัญชีท่ีใช้ในการบันทึกข้ันปลาย หรือ
ขน้ั สดุ ทา้ ย

6. จดั เตรียมอุปกรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏบิ ตั ิงาน ข้อมลู มคี วามถูกต้อง ทนั ถ่วงทีตอ่ การใชข้ อ้ มูล
(จดุ ประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ขอ้ ที่ 6)

กจิ กรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมนิ ผลก่อนเรยี น-หลังเรยี นโดยทำแบบทดสอบ
2. นำเข้าสบู่ ทเรยี นโดยกล่าวถงึ ความหมาย ประเภทของสนิ คา้
3. กจิ กรรมการเรียน

3.1 ผ้สู อนและผ้เู รียนร่วมกันอภิปรายเร่ืองรายการท่คี วรนบั เปน็ สินค้าคงเหลอื
3.2 แบ่งกลมุ่ ผูเ้ รยี นมารายงานหนา้ ช้ันเรยี นเร่อื งระบบการควบคุมสนิ ค้า
3.3 ซกั ถามผู้เรียนเปน็ รายบุคคล

สอื่ การเรียนรู้

- หนงั สือเรียนวชิ าการบญั ชสี นิ ค้า

การวัดผล/ประเมนิ ผล

1. การสงั เกต
- ความตง้ั ใจและสนใจของผูเ้ รียน
- ความร่วมมือในการอภิปราย
- การแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมเี หตผุ ล

2. การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
- กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
- แบบทดสอบเพอ่ื ประเมินผลหลงั การเรียนรู้

3. การทดสอบดว้ ยวาจาและข้อเขียน
- ตรวจแบบทดสอบ
- ตั้งคำถามใหต้ อบและอธิบาย

การบรู ณาการ / ความสมั พันธ์กับวชิ าอื่น

1. ความสัมพนั ธก์ บั วชิ าภาษาไทย เพอ่ื รณรงคก์ ารใชภ้ าษาไทยอยา่ งถูกต้อง
2. ความสัมพนั ธก์ บั วชิ าเศรษฐศาสตร์ เพ่ือตระหนักถงึ การใชท้ รพั ยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุด
3. ความสมั พันธก์ บั วชิ าเทคโนโลยี เพือ่ นำมาประยุกตใ์ ช้อย่างเหมาะสม ช่วยให้การทำงานสะดวก รวดเร็ว

มากย่ิงขน้ึ
4. ความสมั พันธ์ทางดา้ นบคุ ลกิ ภาพ เพ่ือพัฒนาและฝกึ ฝนบุคลิกภาพของผเู้ รียนให้ดยี งิ่ ขึ้น
5. ความสัมพันธ์กบั แมบ่ ทการบญั ชแี ละมาตรฐานการบัญชฉี บบั ที่เกีย่ วข้อง เพ่ือจัดทำบัญชใี หเ้ ป็นไปตาม

หลักการบัญชที ร่ี บั รองท่ัวไป

แบบบันทึกการสังเกตการณ์ทำงานรว่ มกับผอู้ ่ืน

พฤตกิ รรม/ รบั ผิดชอบ ประสาน รว่ มแสดง
สามัคคีใน แนะนำวธิ ี ความ
ระดบั งานที่
ไดร้ ับ ร่วมมือใน กลมุ่ ขณะ ทำงาน
ลำดบั คะแนน มอบหมาย การดำเนิน ทำงาน และ คดิ เห็นที่ รวม
ที่ ช่วยเหลอื เปน็ คะแนน
กจิ กรรม ร่วมกัน
ประโยชน์
เพื่อน ตอ่ งาน
ชอ่ื -สกุล

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16

17
18
19

คำชีแ้ จง ให้สังเกตและพจิ ารณาพฤติกรรมของผู้เรียนแต่ละคน และเขยี นเครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งวา่ ง

ระดบั คะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับสูง

ระดับ 2 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดบั ปานกลาง
ระดบั 1 หมายถงึ มพี ฤตกิ รรมในระดบั ตำ่

บันทกึ หลงั การสอน

บนั ทึกขอ้ คดิ เหน็ ของผู้สอน

1. แผนการสอน

เวลาสอนทกี่ ำหนดไว้

 มาก  น้อย  เหมาะสม

เนือ้ หาสาระ

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม

1.3 ผลที่ไดห้ ลงั จากการสอนตามแผน

 มาก  น้อย  เหมาะสม

ความคดิ เห็นเพิ่มเติม ................................................................................................

2. ผ้เู รยี น

พฤตกิ รรมความสนใจในการเรยี น

 มากข้นึ  เทา่ เดมิ  นอ้ ยลง

ความคดิ เห็นเพ่มิ เตมิ ................................................................................................

เปรียบเทียบผลการเรียนจากเดมิ

 เปลย่ี นแปลงมากขึ้น  เปลี่ยนแปลงนอ้ ยลง  ไมเ่ ปลี่ยนแปลง

ความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม ................................................................................................

3. ผู้สอน

3.1 สอนได้มั่นใจ  มากขน้ึ  เท่าเดมิ  น้อยลง

3.2 สอนทนั เวลา  มาก  น้อย ไมท่ นั เวลา

3.3 สอนเนอ้ื หา  มากข้นึ  เท่าเดิม  น้อยลง

ลงช่อื ...............................................ผ้สู อน
(..................................................)

แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน หน่วยท่ี 1

จงเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งทีส่ ุดเพยี งคำตอบเดยี ว

1. สนิ ค้าคงเหลอื ของกจิ การซอ้ื มาขายไป คอื ข้อใด
ก. วัตถุดิบ
ข. สนิ ค้าระหวา่ งผลติ
ค. สินค้าสำเร็จรปู
ง. วสั ดุโรงงาน

2. สนิ คา้ คงเหลอื ของกจิ การอตุ สาหกรรม มกี ช่ี นดิ
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนดิ
ค. 3 ชนดิ
ง. 4 ชนดิ

3. สนิ ค้าคงเหลอื แสดงไว้ในหมวดใดของงบดุล
ก. สินทรัพย์หมนุ เวยี น
ข. สนิ ทรัพยถ์ าวร
ค. หนี้สนิ ระยะส้นั
ง. สว่ นของเจ้าของ

4. รายการใดทีค่ วรนบั เป็นสนิ ค้าคงเหลือของกจิ การ
ก. สนิ คา้ ระหวา่ งทางทซี่ ือ้ ดว้ ยเงอื่ นไข F.O.B. Destination
ข. สินคา้ ระหว่างทางที่ซอื้ ดว้ ยเงื่อนไข F.O.B. Shipping Point
ค. สินค้าฝากขายด้านผู้รับฝากขาย
ง. สนิ ค้าขายผอ่ นชำระดา้ นผซู้ ื้อ

5. การกนั จำนวนสินคา้ สำรองไว้ไม่ใหข้ าดมือ เรียกวา่ อะไร
ก. Safety First
ข. Safety Cost
ค. Safety Stock
ง. Lead Time

6. สนิ คา้ คงเหลอื ถัวเฉลย่ี หาได้จากสูตรใด
ก. EOQ + สินค้าคงเหลือต้นงวด
ข. EOQ + สินค้าคงเหลือสำรอง
ค. EOQ + สนิ คา้ คงเหลอื ต้นงวด
2
ง. EOQ + สินค้าคงเหลอื สำรอง
2

7. กจิ การแห่งหน่งึ กำหนดจำนวนสนิ ค้าสงู สุดไว้ 1,200 หน่วย จำนวนสินค้าอย่างตำ่ 300 หนว่ ย
ปริมาณท่ใี ช้ระหว่างรอการรับของ 100 หนว่ ย ให้คำนวณหาจุดสั่งซื้อวา่ ควรมกี ีห่ นว่ ย
ก. 200 หนว่ ย
ข. 300 หนว่ ย
ค. 400 หนว่ ย
ง. 500 หน่วย

8. ถ้าระยะเวลาในการสั่งซ้ือจนกระท่ังสินค้าถึงมือผู้ซื้อ ใช้ระยะเวลา 4 วัน และควรเผื่อล่าช้า 2 วัน
ดงั นั้น Lead Time เทา่ กบั กีว่ ัน
ก. 2 วัน
ข. 4 วนั
ค. 6 วนั
ง. 8 วัน

9. การลงรายการในบัญชีสินคา้ ให้ลงรายการให้แล้วเสรจ็ ภายในก่ีวันนับแตว่ นั สนิ้ เดือนของเดือนทเ่ี กิด
รายการน้ันข้ึน
ก. 3 วนั
ข. 5 วนั
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน

10. ธรุ กิจที่ใชร้ ะบบบญั ชสี ินค้าแบบตอ่ เน่ือง ใช้ส่งิ ใดเป็นบญั ชสี ินค้าในบญั ชีแยกประเภท
ก. บญั ชคี ุมสนิ ค้า
ข. ใบเบิกสนิ ค้า
ค. ทะเบยี นสินคา้
ง. ใบแสดงรายละเอียดสนิ ค้า

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 1

1. ค.
2. ง.
3. ก.
4. ข.
5. ค.
6. ง.
7. ค.
8. ค.
9. ง.
10. ค.

บันทกึ หลังการสอน

ผลการใชแ้ ผนการสอน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

ผลการสอนของครู
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ 1

ชอื่ วชิ า การบญั ชสี ินค้าและระบบใบสำคัญ สอนสปั ดาห์ท่ี 1-2
ชอื่ หน่วย ความร้ทู ่วั ไปเก่ยี วกบั สนิ คา้ คาบรวม 6
ชื่อเรอื่ ง ความรู้ทั่วไปเก่ยี วกับสนิ ค้า จำนวนคาบ 6

หวั ขอ้ เรื่อง

ด้านความรู้
1. บอกความหมายของคำวา่ “สนิ ค้า” ได้

2. บอกประเภทของสนิ ค้าได้

ด้านทักษะ
3. บอกรายการท่ีควรนบั รวมเป็นสนิ ค้าคงเหลอื ได้
4. อธิบายระบบการควบคมุ สนิ ค้าได้

ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
3. บอกวิธกี ารทำบัญชีควบคุมสนิ ค้าตามมาตรฐานการบญั ชีได้
4. จดั เตรยี มอปุ กรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏบิ ตั ิงาน ขอ้ มลู มีความถกู ต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ขอ้ มูล

สาระสำคญั

สินค้าหรือสินคา้ คงเหลือ ตามมาตรฐานการบัญชีฉบบั ท่ี 31 หมายถึง สินทรัพย์ ซ่ึง (1) มีไว้เพ่อื ขาย
ตามลักษณะการประกอบการทางธุรกิจโดยปกติ หรือ (2) อยู่ในระหว่างกระบวนการผลิต เพ่ือให้เป็นสินค้า
สำเร็จรูปเพื่อขาย หรอื (3) มีไว้เพ่ือใช้ในการผลิตสนิ คา้ หรือใหบ้ ริการ

สินค้าคงเหลือ แบ่งตามประเภทของกิจการได้เป็น 2 ประเภท คือ กิจการซื้อมาขายไป สินค้า
คงเหลือ คือสินค้าสำเร็จรูป ส่วนกิจการอุตสาหกรรม หรือกิจการผู้ผลิตสินค้า สินค้าคงเหลือมี 4 ชนิด
ด้วยกนั คอื วตั ถุดบิ คงเหลือ สนิ ค้าระหว่างผลติ คงเหลือ สินค้าสำเร็จรูปคงเหลอื และวสั ดุโรงงานคงเหลอื

รายการท่ีควรนับเป็นสินค้าคงเหลือ ได้แก่ สินค้าระหว่างทางที่ซ้ือด้วยเงื่อนไข F.O.B. Shipping
Point สินค้าระหว่างทางท่ีขายด้วยเง่ือนไข F.O.B. Destination สินค้าฝากขาย ด้านผู้ฝากขาย และสินค้า
ขายผ่อนชำระด้านผู้ขาย การควบคุมสินค้าคงเหลือให้อยู่ในระดับท่ีเหมาะสมไม่ให้มีค่าใช้จ่ายในการสั่งซ้ือ
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรกั ษา และต้นทุนสินค้ามากเกินไป โดยการคำนวณหาปริมาณการสงั่ ซ้ือที่ประหยัด (EOQ

= Economic Order Quantity) และเวลาในการสัง่ ซอ้ื ท่ีเหมาะสม (Lead Time)
โดยปกติในการทำบัญชีควบคุมสินค้าน้ัน ต้องทำบัญชีอย่างน้อย 3 เล่มด้วย คือ ทะเบียนรับสินค้า

ทะเบียนจ่ายสินค้า และบัญชแี ยกประเภทสินค้า ในธุรกิจท่ีใช้ระบบบัญชสี ินค้าแบบตอ่ เนื่องจะใชท้ ะเบียนสนิ ค้า
เปน็ บญั ชสี นิ ค้าในบญั ชแี ยกประเภทกไ็ ด้

สาระการเรยี นรู้

6. ความหมายของสินค้า
7. ประเภทของสินคา้
8. รายการทีค่ วรนับรวมเป็นสินค้าคงเหลือ
9. ระบบการควบคุมสินค้า
10. การทำบญั ชีควบคุมสนิ ค้าตามมาตรฐานการบัญชี

จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนรู้

7. บอกความหมายของคำว่า “สินค้า” ได้ (ดา้ นความรู)้
8. บอกประเภทของสินคา้ ได้ (ด้านความรู้)
9. บอกรายการท่คี วรนับรวมเป็นสนิ คา้ คงเหลือได้ (ด้านทกั ษะ)
10. อธิบายระบบการควบคุมสนิ ค้าได้ (ด้านทกั ษะ)
11. บอกวธิ กี ารทำบัญชีควบคมุ สนิ คา้ ตามมาตรฐานการบัญชีได้ (ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม)
12. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

(ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม)

เนอื้ หาสาระการสอน / การเรียนรู้

ดา้ นความรู้
7. ความหมายของสินค้า (จดุ ประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นรูข้ อ้ ท่ี 1)
สินค้าหรือสินค้าคงเหลือ (Inventories) ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับท่ี 31 ได้ให้ความหมายของ

สนิ ค้าคงเหลอื ไว้ดงั น้ี
สนิ คา้ คงเหลือ หมายถึง ทรพั ยส์ นิ ซึง่
(ง) มีไวเ้ พ่ือขาย ตามลักษณะการประกอบธรุ กจิ โดยปกติ หรือ
(จ) อย่ใู นระหว่างกระบวนการผลิต เพอ่ื ให้เปน็ สินคา้ สำเร็จรูปเพอ่ื ขาย หรอื
(ฉ) มไี วเ้ พ่ือใช้ในการผลติ สินค้าหรอื ใหบ้ รกิ าร
แต่ความหมายของสินค้าคงเหลือตามศัพท์บัญชี หมายถึง สินค้าสำเร็จรูป งาน หรือสินค้า

ระหวา่ งทำ วตั ถุดบิ และวัสดุใช้ในการผลิตเพื่อขายตามปกตขิ องกจิ การ

จากความหมายของสินค้าคงเหลอื ตามมาตรฐานการบัญชี ประกอบด้วย
4. สินค้าที่ซ้ือและถือไวเ้ พ่อื ขาย ตวั อย่างเชน่ สินค้าท่ีผ้ขู ายปลีกซ้ือไว้เพ่ือขาย หรือท่ดี ินและ
สินทรพั ยอ์ ืน่ ๆ ทีซ่ อ้ื ไว้เพื่อขาย
5. สินค้าสำเร็จรูป งานระหว่างทำ รวมทงั้ วัตถุดบิ ท่ีใช้ในการผลิต
6. ต้นทุนงานให้บรกิ ารในส่วนทีส่ ัมพนั ธก์ บั รายไดท้ ีย่ ังไม่รับรขู้ องกิจการทใ่ี หบ้ รกิ าร
8. ประเภทของสนิ ค้า (จดุ ประสงค์พฤติกรรมการเรียนร้ขู ้อท่ี 2)
สนิ คา้ คงเหลือ แบ่งตามประเภทของกจิ การได้เปน็ 2 ประเภท ใหญ่ ๆ คอื
3. กิจการซือ้ มาขายไป
สินค้าคงเหลือของกิจการประเภทน้ี ได้แก่ สินค้าสำเร็จรูป (Finished Goods) ตามความหมาย
ของคำศพั ทบ์ ญั ชี สินคา้ สำเร็จรูปหมายถึงของท่ีทำหรือผลิตสำเร็จไวเ้ ผ่อื ขาย โดยมุ่งหวงั กำไรเพือ่ เป็นการตอบแทน
4. กจิ การอุตสาหกรรม
เป็นกิจการท่ีทำการผลิตสินค้าขึ้นมาเพื่อจำหน่าย ซึ่งจะดำเนินกิจการในรูปแบบของกิจการ
เจ้าของคนเดียว หรือห้างหนุ้ สว่ น หรอื บริษทั ก็ได้

สนิ คา้ คงเหลือของกิจการอตุ สาหกรรม มี 4 ชนิด คือ
(5) วัตถุดิบคงเหลือ (Material Inventories) หมายถึง มูลค่าของวัตถุดิบท่ีมีไว้เพ่ือผลิต
สินค้าที่คงเหลืออยูใ่ นวันสน้ิ งวดบัญชี ซ่ึงวัตถุดิบจำนวนน้ีจะนำไปใชใ้ นการผลติ ของงวดตอ่ ไป
(6) สนิ ค้าระหว่างผลิตคงเหลือ (Work in Process Inventories) หมายถึง สนิ ค้าท่ียัง
ผลิตไมเ่ สร็จสมบูรณใ์ นวันสิน้ งวดบัญชี และจะต้องทำการผลิตต่อในงวดบญั ชีต่อไป เพื่อให้เป็นสินค้าสำเรจ็ รูปที่
พรอ้ มจะเสนอขายได้
(7) สินค้าสำเร็จรูปคงเหลือ (Finished Goods Inventories) หมายถึง สินค้าท่ีผลิต
เสร็จสมบรู ณ์แล้ว แตย่ ังขายไดไ้ มห่ มดในวันสิ้นงวดบญั ชี
(8) วสั ดโุ รงงานคงเหลือ (Factory Supplies) หมายถึง วัสดุหรอื ของใช้สิ้นเปลืองที่กจิ การ
นำมาใช้ในการผลติ นอกเหนือไปจากวัตถดุ บิ เช่น สี ตะปู น้ำมนั หล่อล่ืน
9. รายการทค่ี วรนบั รวมเปน็ สนิ คา้ คงเหลือ (จดุ ประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนร้ขู ้อที่ 3)
(5) สนิ ค้าอยู่ระหว่างทาง (Goods in Transit)
(6) การฝากขาย (A Consignment)
(7) สินคา้ ที่แยกไวต้ า่ งหาก (Segregated Goods)
(8) สินค้าท่ีขายโดยมเี ง่อื นไขและสนิ ค้าท่ีขายโดยการผ่อนชำระ (Conditional and Installment

Sales)
10. ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงเหลอื (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรียนรูข้ อ้ ที่ 4)

การวางระบบการควบคุมสนิ คา้ คงเหลอื ควรกำหนดวิธีการดังน้ี คอื
10. ให้มีผู้รับผิดชอบในคลังสินค้าแต่ละแห่งอย่างชัดเจน การอนุมัติให้มีการเบิกจ่ายรับสินค้า

ส่งคืน หรือรบั คนื
11. ใหม้ รี ะบบการรักษาความปลอดภยั อยา่ งเพยี งพอ
12. ให้มีทะเบียนหรือบัตรบันทึกการรับ จ่ายสินคา้ ตลอดจนใบเบิกสินค้า ใบรับสนิ ค้า ใบคืน

ใบยืมสนิ คา้
13. ให้มีการตรวจนับสินค้าคงเหลืออย่างน้อยปีละ 1 ครง้ั
14. การบนั ทึกและจัดทำรายงานสนิ ค้าท่ชี ำรดุ เสียหาย เส่อื มสภาพ หรือล้าสมัย และสนิ ค้าท่ี

ไมม่ กี ารเคลอ่ื นไหว
15. การบันทึกการสง่ สินค้าไปฝากขาย ใหจ้ ัดทำรายงานแยกต่างหาก เพ่อื ควบคุมสินคา้ ท่ีสง่ ไป

ฝากขาย และตัดสตอ็ กสนิ คา้ ในแต่ละแหง่
16. ให้บุคคลที่ทำหน้าที่ตรวจนับควรเป็นบุคคลคนละคนกับผู้ออกหรือจัดทำเอกสารเบิกจ่าย

สินค้า
17. ใหม้ ีการประกันภัยสินคา้ ไม่ว่าจะเป็นการประกนั อัคคีภยั หรือโจรกรรม
18. กรณีที่มีการตรวจนับแล้วพบว่า ยอดตรวจนับกับยอดสินค้าคงเหลือตามบัญชี ไม่ตรงกันให้

กำหนดวิธีการและระเบียบใหช้ ดั เจน รวมถึงการจัดทำรายงานสนิ คา้ และวตั ถดุ ิบ

11. การจัดทำบัญชีควบคมุ สินค้า (จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรียนรขู้ อ้ ที่ 5)
กิจการจะจดั ทำบัญชสี นิ คา้ แยกตา่ งหากอีกชดุ หน่งึ เพือ่ ใชใ้ นการควบคุมเก่ียวกับ ตวั สินค้าท่กี จิ การมไี ว้

ในครอบครองในทางบญั ชี และเพอ่ื ความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย บัญชคี ุมสนิ คา้ ต้องจดั ทำอย่างนอ้ ย 3 เล่ม คือ
4. ทะเบยี นรบั สินค้า
5. ทะเบยี นจ่ายสนิ ค้า
6. บญั ชแี ยกประเภทสนิ ค้า
4. ทะเบียนรับสินค้า เป็นสมุดบัญชีที่ใช้สำหรับลงรายการเกี่ยวกับการรับสินค้า ซึ่งถือว่าเป็น

สมุดบนั ทกึ รายการข้ันต้นเก่ียวกับการรับสินคา้ โดยการบันทึกบญั ชีจะบันทึกตามลำดับวันทีก่ ่อนหลงั แล้ว
ผา่ นรายการไปยงั บญั ชแี ยกประเภทสินคา้ และจะปดิ ยอดทุกวันสิน้ เดือน

5. ทะเบียนจ่ายสินค้า มีลักษณะคล้ายคลึงกับทะเบียนรับสินค้า หลักฐานในการนำมา
ประกอบการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับการจ่ายในทะเบียนจ่ายสินค้า คือ ใบเบิกภายใน และใบส่งคืนสินค้า

การบันทึกบัญชีจะบันทึกตามลำดับวันท่ีก่อนหลัง แล้วผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทสินค้า เช่นเดียวกับ
ทะเบยี นรับสินค้า

6. บัญชีแยกประเภทสินค้า สมุดบัญชีเล่มน้ีจะใช้เป็นทะเบียนคุมยอดสินค้าในแต่ละชนิดของ
กิจการ ว่ามีการรับเข้าจ่ายออก และมียอดคงเหลือในแต่ละวันเป็นจำนวนเท่าใด โดยจะนำรายการรับและจ่าย
มาจากทะเบียนรับสินค้าและจ่ายสินค้า ซ่ึงบัญชีแยกประเภทสินคา้ จะเปน็ บัญชีทใ่ี ช้ในการบันทึกข้ันปลาย หรือ
ขั้นสุดท้าย

12. จัดเตรยี มอุปกรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ขอ้ มูลมคี วามถูกตอ้ ง ทนั ถว่ งทตี ่อการใช้ขอ้ มูล
(จดุ ประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ข้อที่ 6)

กิจกรรมการเรยี นการสอน

4. ประเมินผลกอ่ นเรียน-หลงั เรียนโดยทำแบบทดสอบ
5. นำเข้าสูบ่ ทเรยี นโดยกล่าวถงึ ความหมาย ประเภทของสนิ ค้า
6. กจิ กรรมการเรยี น

3.1 ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกันอภิปรายเรื่องรายการท่คี วรนบั เปน็ สนิ คา้ คงเหลือ
3.2 แบ่งกลุ่มผู้เรียนมารายงานหน้าช้ันเรียนเรือ่ งระบบการควบคุมสินค้า
3.3 ซกั ถามผู้เรียนเป็นรายบุคคล

สอ่ื การเรียนรู้

- หนังสือเรยี นวชิ าการบญั ชสี ินคา้

การวัดผล/ประเมนิ ผล

4. การสงั เกต
- ความต้ังใจและสนใจของผ้เู รยี น
- ความร่วมมือในการอภปิ ราย
- การแสดงความคดิ เหน็ อย่างมเี หตุผล

5. การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
- กจิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ
- แบบทดสอบเพ่ือประเมินผลหลังการเรียนรู้

6. การทดสอบดว้ ยวาจาและขอ้ เขียน
- ตรวจแบบทดสอบ
- ต้งั คำถามให้ตอบและอธบิ าย

การบูรณาการ / ความสมั พันธ์กบั วชิ าอืน่

6. ความสมั พันธ์กับวชิ าภาษาไทย เพ่อื รณรงค์การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
7. ความสัมพนั ธ์กับวชิ าเศรษฐศาสตร์ เพอ่ื ตระหนักถึงการใชท้ รัพยากรใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สุด
8. ความสัมพันธก์ บั วิชาเทคโนโลยี เพ่ือนำมาประยุกต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ช่วยให้การทำงานสะดวก รวดเรว็

มากย่ิงข้ึน
9. ความสมั พันธ์ทางด้านบคุ ลิกภาพ เพอ่ื พัฒนาและฝกึ ฝนบคุ ลกิ ภาพของผเู้ รยี นให้ดียิง่ ขน้ึ
10. ความสัมพันธก์ ับแม่บทการบัญชแี ละมาตรฐานการบัญชฉี บบั ท่เี ก่ียวข้อง เพือ่ จัดทำบัญชใี หเ้ ปน็ ไปตาม

หลกั การบญั ชที ่รี บั รองทวั่ ไป

แบบบนั ทึกการสงั เกตการณท์ ำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่

พฤตกิ รรม/ รบั ผิดชอบ ประสาน รว่ มแสดง
สามัคคใี น แนะนำวธิ ี ความ
ระดบั งานท่ี ทำงาน
ไดร้ บั รว่ มมือใน กล่มุ ขณะ และ
ลำดบั คะแนน มอบหมาย การดำเนนิ ทำงาน ช่วยเหลอื คดิ เหน็ ท่ี รวม
ที่ เป็น คะแนน
กจิ กรรม รว่ มกัน
ประโยชน์
เพื่อน ตอ่ งาน
ชอื่ -สกลุ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6

7

8

9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22

คำชแ้ี จง ให้สังเกตและพจิ ารณาพฤติกรรมของผู้เรยี นแตล่ ะคน และเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งวา่ ง

ระดับคะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มพี ฤตกิ รรมในระดบั สูง
ระดับ 2 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดับปานกลาง
ระดับ 1 หมายถึง มีพฤติกรรมในระดับต่ำ

บนั ทกึ หลังการสอน  เหมาะสม
 เหมาะสม
บนั ทกึ ข้อคดิ เหน็ ของผู้สอน  เหมาะสม
4. แผนการสอน
เวลาสอนท่กี ำหนดไว้

 มาก  นอ้ ย
เน้อื หาสาระ

 มาก  น้อย
1.3 ผลทไ่ี ด้หลงั จากการสอนตามแผน

 มาก  นอ้ ย

ความคิดเหน็ เพ่ิมเติม ................................................................................................
5. ผู้เรียน
พฤตกิ รรมความสนใจในการเรียน

 มากขน้ึ  เท่าเดิม  น้อยลง

ความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................................

เปรียบเทยี บผลการเรยี นจากเดมิ

 เปลี่ยนแปลงมากข้ึน  เปลย่ี นแปลงนอ้ ยลง  ไม่เปลีย่ นแปลง

ความคิดเห็นเพิ่มเตมิ ................................................................................................

6. ผูส้ อน

3.1 สอนได้ม่นั ใจ  มากขึน้  เท่าเดิม  น้อยลง

3.2 สอนทนั เวลา  มาก  นอ้ ย ไม่ทันเวลา

3.3 สอนเน้อื หา  มากข้นึ  เทา่ เดิม  น้อยลง

ลงช่อื ...............................................ผู้สอน
(..................................................)

แบบทดสอบกอ่ น-หลังเรียน หน่วยท่ี 1

จงเลือกคำตอบท่ีถูกต้องทีส่ ุดเพียงคำตอบเดยี ว

11. สนิ คา้ คงเหลือของกิจการซือ้ มาขายไป คือขอ้ ใด
ก. วัตถดุ บิ
ข. สินคา้ ระหว่างผลิต
ค. สินค้าสำเรจ็ รูป
ง. วัสดุโรงงาน

12. สนิ ค้าคงเหลอื ของกิจการอตุ สาหกรรม มกี ี่ชนดิ
ก. 1 ชนิด
ข. 2 ชนิด
ค. 3 ชนดิ
ง. 4 ชนดิ

13. สินคา้ คงเหลือ แสดงไว้ในหมวดใดของงบดุล
ก. สนิ ทรัพยห์ มนุ เวยี น
ข. สินทรพั ย์ถาวร
ค. หน้ีสินระยะสน้ั
ง. สว่ นของเจา้ ของ

14. รายการใดทค่ี วรนบั เปน็ สินค้าคงเหลือของกจิ การ
ก. สนิ ค้าระหวา่ งทางที่ซอื้ ดว้ ยเงือ่ นไข F.O.B. Destination
ข. สนิ คา้ ระหวา่ งทางที่ซอ้ื ดว้ ยเงื่อนไข F.O.B. Shipping Point
ค. สินค้าฝากขายด้านผู้รบั ฝากขาย
ง. สินคา้ ขายผ่อนชำระด้านผซู้ อ้ื

15. การกนั จำนวนสินค้าสำรองไวไ้ มใ่ ห้ขาดมอื เรยี กวา่ อะไร
ก. Safety First
ข. Safety Cost
ค. Safety Stock
ง. Lead Time

16. สินค้าคงเหลอื ถวั เฉล่ียหาได้จากสูตรใด
ก. EOQ + สินคา้ คงเหลอื ต้นงวด
ข. EOQ + สินค้าคงเหลอื สำรอง
ค. EOQ + สินค้าคงเหลอื ตน้ งวด
2
ง. EOQ + สนิ ค้าคงเหลอื สำรอง
2

17. กิจการแห่งหนึง่ กำหนดจำนวนสนิ คา้ สูงสดุ ไว้ 1,200 หน่วย จำนวนสินค้าอย่างตำ่ 300 หนว่ ย
ปรมิ าณทใี่ ช้ระหว่างรอการรบั ของ 100 หนว่ ย ใหค้ ำนวณหาจุดส่ังซื้อวา่ ควรมกี ีห่ นว่ ย
ก. 200 หนว่ ย
ข. 300 หนว่ ย
ค. 400 หน่วย
ง. 500 หนว่ ย

18. ถ้าระยะเวลาในการส่ังซื้อจนกระท่ังสินค้าถึงมือผู้ซื้อ ใช้ระยะเวลา 4 วัน และควรเผื่อล่าช้า 2 วัน
ดังนนั้ Lead Time เท่ากับกว่ี นั
ก. 2 วัน
ข. 4 วัน
ค. 6 วัน
ง. 8 วนั

19. การลงรายการในบัญชีสินคา้ ใหล้ งรายการให้แล้วเสรจ็ ภายในกีว่ ันนับแตว่ นั สนิ้ เดือนของเดือนทเ่ี กิด
รายการนน้ั ขน้ึ
ก. 3 วัน
ข. 5 วนั
ค. 7 วนั
ง. 15 วัน

20. ธรุ กิจทใี่ ช้ระบบบญั ชสี นิ ค้าแบบต่อเนื่อง ใช้สิ่งใดเป็นบัญชสี นิ ค้าในบัญชีแยกประเภท
ก. บญั ชคี มุ สินค้า
ข. ใบเบกิ สินค้า
ค. ทะเบียนสนิ ค้า
ง. ใบแสดงรายละเอียดสินคา้

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 1

11. ค.
12. ง.
13. ก.
14. ข.
15. ค.
16. ง.
17. ค.
18. ค.
19. ง.
20. ค.

แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยท่ี 2

ชอื่ วชิ า การบญั ชสี นิ ค้าและระบบใบสำคัญ สอนสัปดาห์ท่ี 3-4
ชอื่ หนว่ ย การตรวจนบั สินค้าคงเหลือ คาบรวม 6

ชอื่ เรือ่ ง. การตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือ จำนวนคาบ 6

หวั ขอ้ เร่ือง

ด้านความรู้
1. บอกวัตถุประสงค์ของการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลอื ได้

ดา้ นทกั ษะ
5. วางแผนการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื ได้
6. บอกขั้นตอนในการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือได้

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
5. บอกวธิ กี ารตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลือให้ถกู ต้องตามมาตรฐานการบญั ชีได้
6. จดั เตรียมอุปกรณ์ใหเ้ หมาะสมกับการปฏิบัติงาน ขอ้ มลู มคี วามถูกต้อง ทนั ถว่ งทตี ่อการใช้ข้อมูล

สาระสำคัญ

วตั ถุประสงค์ของการตรวจนับสินค้าคงเหลือ เพื่อให้ทราบจำนวนที่แท้จริงของสินค้า เม่ือเปรียบเทียบ
กับทะเบียนคุมสินค้า ป้องกันความเสียหาย ข้อผิดพลาด การขาดแคลนสินค้า รวมท้ังการทุจริตที่อาจเกิดขึ้น
จึงจำเป็นตอ้ งมีการวางแผนการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื มแี ผนการตรวจสอบท่ีรัดกมุ

บางคร้งั สินค้าทตี่ รวจนบั ได้จำนวนไม่ตรงกับทบี่ ันทึกไว้ในบัญชี ก็จะต้องทำการเปรยี บเทียบท่นี บั ไดก้ ับท่ี
ปรากฏในบัญชี เพื่อให้ผู้รับผิดชอบสุดท้ายตัดสินใจให้ทำการตรวจนับใหม่หรือตรวจสอบการบันทึกรายการใน
บัญชอี ีกครงั้ ก็แลว้ แต่จะทำ

เมอื่ เราทราบถึงผลการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื ผิดจะมีผลกระทบต่อกำไรและต่อรายงานการเงินอย่างไรแล้ว จึง
ควรให้ความสำคัญกับการบนั ทึกรายการ การควบคุมและการตรวจนับสินค้าคงเหลือ การบันทึกรายการสินค้าคงเหลือ
ควรกำหนดใหช้ ัดเจน ว่าจะใช้ระบบบนั ทึกแบบตอ่ เน่ืองหรือใช้ระบบวันส้นิ งวด การจัดให้มกี ารบันทกึ รายการสินค้าแต่
ละชนิดในบัตรสินค้า (Inventory card) กำหนดหน้าท่ีผู้ควบคุมสินค้าในคลังสินค้า และผู้ทำหน้าที่บันทึกรายการ
สินค้านำเข้าจ่ายออกคงเหลือ เม่ือมีการตรวจนับสินค้าตัวจริงได้ แล้วสามารถนำไปเปรียบเทียบกับที่ได้บันทึกไว้ใน
บัญชีทำให้ ทราบว่าจำนวนสินค้าขาดหรือเกินเท่าใด ผลต่างที่เกิดจากการเปรียบเทียบน้ี จะทำให้ทราบถึง

ขอ้ บกพร่องในการบันทกึ รายการหรือการตรวจนบั ว่าถกู ต้องเชือ่ ถอื ไดเ้ พียงใด

สาระการเรยี นรู้

11. วตั ถปุ ระสงค์ของการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือ
12. การวางแผนการตรวจนับสินค้าคงเหลือ
13. ขั้นตอนในการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื
14. วิธกี ารตรวจนับสินค้าคงเหลือ

จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นรู้

13. บอกวตั ถปุ ระสงคข์ องการตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือได้ (ด้านความร)ู้
14. วางแผนการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื ได้ (ด้านทกั ษะ)
15. บอกข้ันตอนในการตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลอื ได้ (ดา้ นทกั ษะ)
16. บอกวธิ กี ารตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือได้ (ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม)
17. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

(ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม)

เนอื้ หาสาระการสอน / การเรียนรู้

ดา้ นความรู้
13. วตั ถปุ ระสงค์ของการตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลอื (จดุ ประสงค์พฤติกรรมการเรียนรู้ข้อท่ี 1)
การตรวจนบั สินคา้ คงเหลอื เปน็ วธิ กี ารตรวจสอบซ่ึงรวมถึงการวางแผน การควบคมุ การตรวจนับ

และการจดบันทึกรายการสนิ ค้า วัตถปุ ระสงค์ในการตรวจนับสินค้าและคงเหลอื มดี ังนี้
1. เพอ่ื ให้ทราบจำนวนที่แทจ้ ริง
2. เพอ่ื เปรียบเทียบจำนวนสนิ ค้าทตี่ รวจนับกบั สนิ ค้าในทะเบียนคุมสินค้า
3. ทำให้ทราบความเสยี หายและวธิ ปี ้องกนั ข้อผดิ พลาด และป้องกนั การทจุ รติ สูญหาย
4. ป้องกันการขาดแคลนสินค้าวตั ถดุ บิ เนือ่ งจากสินค้าส่งล่าช้า หรือสินคา้ ขาดสต็อก

เพอ่ื นำจำนวนสินคา้ คงเหลอื ท่ีตรวจนบั ไดแ้ สดงในงบการเงิน

ด้านทกั ษะ
14. การวางแผนการตรวจนบั สินค้าคงเหลือ (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนรขู้ ้อท่ี 2)
แผนการตรวจนบั ของกจิ การควรครอบคลุมถึงเรื่องต่อไปน้ี
ก. การจดั เตรยี มสินค้าคงเหลอื ใหม้ รี ะเบยี บงา่ ยต่อการนับ
ข. การระบุช่ือ เคร่ืองหมาย หรือคำอธิบายหรืออธิบายอ่ืนเพ่ือใหผ้ ู้นับทราบถึงชนดิ ของสินค้า

ไดอ้ ยา่ งชดั แจง้
ค. การแบ่งแยกสินค้าทีเ่ สือ่ มคณุ ภาพ เสียหาย ลา้ สมยั หรือรบั ฝากออกจากสินคา้ ทวั่ ไป
ง. มาตรการในการควบคุมใบตรวจนับ บัตรตรวจนับ หรือเอกสารอื่น ๆ ที่ใช้ในการนับ เช่น

การลำดับเลขที่ เปน็ ตน้
จ. วิธีการนับและการสอบยนั ยอดทนี่ บั ได้
ฉ. การตัดยอดสินค้าคงเหลือ การควบคุมการเคลื่อนไหวของสินค้าระหว่างการตรวจนับและ

เอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง
ช. การตรวจสอบสนิ คา้ ทีฝ่ ากไว้กับผู้อื่นโดยการตรวจนบั หรอื ขอคำยืนยันปรมิ าณคงเหลือ
การวางแผนควรทำเป็นลายลกั ษณอ์ ักษร และควรประชุมช้แี จงเพือ่ ให้พนักงานที่เกยี่ วข้องทราบ

ทว่ั ถงึ กนั กอ่ นการตรวจนับ แผนการตรวจสอบ ควรครอบคลุมเรอื่ งดงั ตอ่ ไปน้ี
1) การจัดเกบ็ สินค้าคงเหลือ สังเกตว่าการจัดเก็บสินค้าได้กระทำอย่างเป็นระเบียบพอท่จี ะทำ

การตรวจนบั ได้อย่างถูกต้องเพียงพอหรือไม่ ถ้าการจัดเก็บเป็นไปอยา่ งไมม่ ีระเบยี บจนไม่สามารถท่ีจะนับได้ ควร
แกไ้ ขให้เรยี บรอ้ ยเสียกอ่ น

2) ชื่อและลักษณะของสินค้า สังเกตดูว่า ชื่อ หรือลักษณะอย่างอื่นของสินค้าคงเหลือน้ัน
ได้เขยี นไวอ้ ยา่ งชดั แจง้

3) สินค้าท่ีควรแยกนับ สังเกตว่า ได้มีการแบ่งแยกสินค้าชำรุด สินค้าล้าสมัย หรือสินค้า
เสือ่ มคณุ ภาพ และสินค้ารับฝาก หรือไม่ ถ้าไม่มีการแบ่งแยกควรทำการแบ่งแยกเสียและให้ใช้ความระมัดระวัง
เปน็ พเิ ศษ เพราะอาจจะมสี นิ ค้าเหลา่ นั้นปะปนอยู่ในสินค้าท่ีตรวจนบั ทวั่ ไป

4) การควบคุมเอกสาร สอบถามและสังเกตวิธีควบคุมเอกสารการนับว่า ได้มีการจดบันทึก
ลำดับเลขหมายบตั รตรวจนบั หรือใบตรวจนับ ตลอดจนการจา่ ยเอกสารเหลา่ นน้ั ใหแ้ ก่ผูป้ ฏิบตั ิงาน และเมื่อการตรวจ
นบั เสร็จส้ินลงได้มกี ารคืนบัตรตรวจนบั หรือใบตรวจนับน้นั กลับมายังผู้ควบคุมการตรวจนับอย่างครบถ้วนให้จดเลข
บัตรตรวจนับหรอื ใบตรวจนับทีใ่ ช้ และทีเ่ หลือเพอื่ เปรยี บเทยี บกบั รายละเอียดสินคา้ ตอ่ ไปภายหลงั

5) วธิ ีทดสอบการนับ ทดสอบนับสินค้าโดยสงั เกตว่า จำนวนและชนิดของสินค้าได้บันทึกไว้
ในบัตรตรวจนับ หรือใบตรวจนับอย่างถูกต้อง ถ้ามีข้อแตกต่างกับสินค้าท่ีนับได้ให้พิจารณาว่าควรจะมีการนับ
สนิ ค้าใหม่เฉพาะรายการนั้นหรือนับใหม่ทั้งหมด ทั้งนี้ควรแจ้งให้ผู้ควบคุมการตรวจนับทราบทนั ทีในกรณีท่ีใช้ใบ

ตรวจนับใหเ้ ลือกรายการในใบตรวจนับและทำการตรวจนับสนิ คา้ ให้ตรงกับจำนวนที่ระบุไว้ และใหเ้ ลือก

นับสินค้าตัวจริงแล้วนำจำนวนที่นับได้มาเปรียบเทียบกับใบตรวจนับ ให้จดบันทึกรายการสินค้าตัวจริงแล้วนำ

จำนวนที่นับได้มาเปรียบเทียบกับใบตรวจนับ ให้จดบันทึกรายการสินคา้ ท่ีทดสอบในกระดาษทำการ ทั้งนี้ควร

จะมีข้อความทีช่ ัดเจนพอที่จะนำไปตรวจสอบไดใ้ นภายหลงั

15. ข้นั ตอนในการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรียนรู้ขอ้ ท่ี 3)
ขน้ั ตอนในการตรวจนับสินคา้ คงเหลอื ควรทำดงั น้ี
1. ออกคำสงั่ แตง่ ตงั้ ผมู้ ีหนา้ ทตี่ รวจนับสนิ ค้า โดยกำหนดหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบในการตรวจนับบุคคล

ทจี่ ะกำหนดไว้ในคำสงั่ ควรมบี ุคคล 2 ประเภทรวมอยู่ด้วย พนกั งานฝา่ ยบัญชีและเจา้ หนา้ ทแี่ ผนกคลังสินค้า พนกั งานบัญชี
เป็นผู้ที่มีความละเอียดรอบคอบ คอยดูแลให้การตรวจนับเป็นไปโดยถูกต้อง พนักงานในคลังสินค้าทราบว่า สินค้าอยู่ท่ีไหน
บา้ ง มีความรเู้ กีย่ วกับสนิ ค้าเปน็ อยา่ งดี และยงั เป็นผูท้ ่ตี ้องรบั ผิดชอบในสินค้าที่เหลอื โดยตรง นอกจากน้ีควรมบี ุคคลในแผนก
อนื่ ทไี่ ม่มีส่วนได้เสียกับสินค้าที่ขาดหรือเกินมารวมเปน็ กรรมการ เมื่อแตง่ ตง้ั ผ้มู ีหนา้ ทต่ี รวจนับสนิ ค้าเสร็จเรยี บร้อยแล้ว ผู้มี
หน้าที่ต้องมาประชุมกันเพ่ือกำหนดวันเวลาในการตรวจนับ ตลอดจนแบ่งงานในการตรวจนับให้กับเจ้าหน้าที่ที่มาช่วยทำการ
ตรวจนับ โดยใหแ้ ตล่ ะกลุ่มมเี จา้ หนา้ ท่คี ลังสินคา้ และเจา้ หนา้ ทีบ่ ัญชรี วมอยดู่ ว้ ย

2. จัดวางสินค้าให้เป็นระเบียบก่อนทำการตรวจนับ เพื่อให้การตรวจนับสะดวกและรวดเร็ว
ต้องพยายามประสานงานกับแผนกคลังสินค้า ขอให้ยุติการโยกย้ายสินค้ารับสินค้าเข้าหรือจ่ายสินค้าออกใน
ช่วงเวลาท่ีเริ่มทำการตรวจนับ ทั้งน้ีเพราะถ้ามีการเคลื่อนย้ายสินค้าอาจทำให้สินค้าขาดไปหรือมีการนับซ้ำ
เพราะมกี ารโยกย้ายจากโกดังหนงึ่ ไปยังอกี โกดังหน่ึง

3. ถ้าผู้สอบบัญชีแจ้งไว้ว่าจะขอมีส่วนร่วมในการตรวจนับสินค้า ให้แจ้งให้ผู้สอบบัญชีมาทำ
การตรวจนับร่วมกัน เน่ืองจากมาตรฐานการสอบบัญชไี ด้กำหนดให้ผู้สอบบัญชีต้องทำการสังเกตการณ์ตรวจนับ
สินค้าคงเหลือ

4. ในการตรวจนับสินค้าบางคร้ัง พบว่า สินค้าบางชนิดมีปัญหาไม่แน่ใจในเรื่องคุณภาพและ
ปรมิ าณ อาจต้องอาศยั ผู้เชี่ยวชาญให้ความเหน็ เป็นกรณพี ิเศษ กอ็ าจขอใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญมาช่วยด้วยได้

ด้านคุณธรรม จริยธรรม
16. วธิ กี ารตรวจนบั สินค้าคงเหลือ (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ข้อที่ 4)
การตรวจนับสินค้าคงเหลือโดยทั่วไปทำได้ 2 วิธี คือ ตรวจนับต่อเนื่องและตรวจนับเม่ือวันส้ินงวดปิด

บัญชีหาผลการค้า การตรวจนับแบบต่อเนื่อง อาจทำการตรวจนับสินค้าได้ตลอดปี ความถี่ในการตรวจนับ
แลว้ แตล่ ะกิจการกำหนด การตรวจนับแบบต่อเน่ืองน้ี เปน็ การช่วยแบ่งเบาภาระพนักงานตรวจนบั ของกิจการไม่
ต้องทำงานหนักในวันส้ินงวด ถ้ามีการบันทึกรายการในบัญชีผิดก็สามารถตรวจพบได้และสามารถแก้ไข

ขอ้ ผดิ พลาดนั้นไดร้ วดเรว็ กวา่ การตรวจนับวันสนิ้ งวด
การตรวจนับสินคา้ วันส้ินงวดเป็นการตรวจนับสนิ คา้ คงเหลือ ซ่งึ จัดให้มขี น้ึ ปลี ะครั้ง ซ่ึงตรวจนับในวนั สิ้น

งวดบัญชเี หมาะสำหรบั กิจการขนาดกลางหรอื ขนาดเล็กมสี ินค้าคงเหลือไมม่ ากนกั
จำนวนสินค้าคงเหลอื ไดม้ าโดยมาตรวจนับจากสถานท่ีที่เก็บสนิ ค้า จำนวนท่ีตรวจนับนีม้ ีความสำคัญต่อการ

ตีราคาสินค้าคงเหลือเป็นอย่างมาก ถ้ามีการตรวจนับผิดพลาดจะมีผลให้การตีราคาสินค้าคงเหลือผิดไป ซึ่งจะมี
ผลกระทบต่อกำไรข้ันต้น กำไรสุทธิผิดไป สินค้าคงเหลือแสดงในงบดุลผิด ยอดรวมสินทรัพย์หมุนเวียนและ
สนิ ทรัพย์ท้งั สิน้ ผดิ ตลอดจนสว่ นของเจา้ ของผดิ ดว้ ย ทำให้การวิเคราะห์งบการเงินผดิ พลาดเชน่ กัน

17. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงาน ขอ้ มูลมีความถูกต้อง ทนั ถว่ งทตี ่อการใช้ข้อมูล
(จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นรู้ข้อท่ี 5)

กิจกรรมการเรยี นการสอน

1. ประเมนิ ผลกอ่ นเรยี น-หลงั เรียน โดยทำแบบทดสอบ
2. นำเขา้ ส่บู ทเรยี นโดยทบทวนความรู้เดิม
3. กิจกรรมการเรยี น

3.1 ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกันอภิปรายเรอ่ื งวธิ กี ารตรวจนบั สินค้าคงเหลอื
3.2 แบง่ กลุ่มผเู้ รยี นมารายงานหน้าชน้ั เรยี นเรื่องข้ันตอนในการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือ
3.3 ซกั ถามผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล

ส่ือการเรียนรู้

- หนงั สือเรียนวชิ าการบัญชสี ินคา้

การวัดผล/ประเมินผล

7. การสังเกต
- ความตง้ั ใจและสนใจของผ้เู รยี น
- ความร่วมมอื ในการอภิปราย
- การแสดงความคิดเห็นอย่างมเี หตผุ ล

8. การตรวจผลงานภาคปฏิบตั ิ
- กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
- แบบทดสอบเพือ่ ประเมนิ ผลหลังการเรียนรู้

9. การทดสอบดว้ ยวาจาและข้อเขยี น
- ตรวจแบบทดสอบ

- ต้งั คำถามใหต้ อบและอธิบาย

การบูรณาการ / ความสมั พันธก์ ับวชิ าอืน่

11. ความสัมพันธก์ บั วิชาภาษาไทย เพื่อรณรงค์การใชภ้ าษาไทยอยา่ งถูกต้อง
12. ความสมั พนั ธก์ ับวชิ าเศรษฐศาสตร์ เพ่ือตระหนกั ถงึ การใชท้ รพั ยากรใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด
13. ความสมั พันธก์ บั วชิ าเทคโนโลยี เพอื่ นำมาประยกุ ต์ใช้อยา่ งเหมาะสม ช่วยใหก้ ารทำงานสะดวก รวดเร็ว

มากยิง่ ขนึ้
14. ความสมั พนั ธ์ทางดา้ นบุคลิกภาพ เพ่ือพัฒนาและฝกึ ฝนบคุ ลิกภาพของผู้เรยี นใหด้ ยี งิ่ ข้ึน
15. ความสมั พนั ธก์ บั แมบ่ ทการบญั ชีและมาตรฐานการบญั ชฉี บบั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพื่อจัดทำบัญชใี หเ้ ปน็ ไปตาม

หลกั การบญั ชีท่ีรบั รองท่ัวไป

แบบบนั ทกึ การสังเกตการณ์ทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื

พฤติกรรม/ รับผิดชอบ ประสาน ร่วมแสดง
สามัคคีใน แนะนำวธิ ี ความ
ระดบั งานที่
ได้รับ รว่ มมือใน กลุ่มขณะ ทำงาน
ลำดบั คะแนน มอบหมาย การดำเนิน ทำงาน และ คดิ เหน็ ท่ี รวม
ที่ ช่วยเหลอื เปน็ คะแนน
กิจกรรม ร่วมกัน
ประโยชน์
เพอื่ น ตอ่ งาน
ชอ่ื -สกลุ

3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 15

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22

คำชี้แจง ให้สังเกตและพิจารณาพฤติกรรมของผู้เรยี นแตล่ ะคน และเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในช่องวา่ ง

ระดับคะแนน
ระดบั 3 หมายถึง มพี ฤติกรรมในระดับสงู
ระดบั 2 หมายถึง มีพฤตกิ รรมในระดับปานกลาง
ระดับ 1 หมายถงึ มพี ฤติกรรมในระดับตำ่

บันทกึ หลงั การสอน

บนั ทึกข้อคดิ เหน็ ของผู้สอน
7. แผนการสอน
เวลาสอนท่ีกำหนดไว้

 มาก  น้อย  เหมาะสม
เนื้อหาสาระ

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม
1.3 ผลท่ไี ดห้ ลังจากการสอนตามแผน

 มาก  นอ้ ย  เหมาะสม
ความคิดเหน็ เพม่ิ เติม ................................................................................................
8. ผ้เู รียน

พฤตกิ รรมความสนใจในการเรียน

 มากขึ้น  เทา่ เดิม  นอ้ ยลง

ความคิดเหน็ เพมิ่ เติม ................................................................................................

เปรียบเทียบผลการเรียนจากเดมิ

 เปลย่ี นแปลงมากขน้ึ  เปลีย่ นแปลงน้อยลง  ไม่เปลย่ี นแปลง

ความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม ................................................................................................

9. ผู้สอน

3.1 สอนได้ม่นั ใจ  มากขึ้น  เทา่ เดิม  น้อยลง

3.2 สอนทนั เวลา  มาก  น้อย  ไม่ทนั เวลา

3.3 สอนเนอ้ื หา  มากขึน้  เทา่ เดิม  น้อยลง

ลงช่ือ...............................................ผสู้ อน
(..................................................)

แบบทดสอบกอ่ น-หลังการเรยี น หนว่ ยท่ี 2

จงเลอื กคำตอบข้อทีเ่ ห็นวา่ ถูกต้องท่สี ุดเพียงคำตอบเดียว

1. ข้อใดไม่อยู่ในแผนการตรวจสอบสินค้าคงเหลอื
ก. การจัดเก็บสินค้าคงเหลือ
ข. ชือ่ และลกั ษณะของสินค้า
ค. ช่ือและที่อยขู่ องผู้ตรวจ
ง. สนิ ค้าทตี่ รวจควรแยกนบั

2. เอกสารที่ใชใ้ นการตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื คือขอ้ ใด
ก. ใบกำกับสนิ ค้า
ข. ป้ายตรวจนับสนิ คา้
ค. ใบเบกิ สนิ ค้า
ง. ใบสงั่ ซอื้ สินคา้

3. การตรวจสอบสินค้าคงเหลือทฝี่ ากไว้กับผู้อน่ื กระทำโดยวิธีใด
ก. สุม่ ตัวอยา่ งนำมาตรวจ
ข. ดูจากยอดขายงวดก่อน
ค. ตรวจนบั หรอื ขอคำยืนยนั ปริมาณคงเหลือ
ง. ถามจากเจา้ หนา้ ท่ีคลงั สินค้าของบรษิ ัท

4. การวางแผนการตรวจนับสนิ ค้าคงเหลือ ควรกระทำในลักษณะใด
ก. ดว้ ยวาจา
ข. โดยการประชมุ
ค. เป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
ง. เป็นลายลักษณอ์ ักษรและประชมุ ชี้แจง

5. ในการตรวจนบั สินคา้ ควรประกอบดว้ ยบุคคลใดบา้ ง
ก. พนักงานฝา่ ยการเงิน และเจา้ หน้าท่แี ผนกบัญชี
ข. พนกั งานฝา่ ยการเงนิ และเจ้าหนา้ ทีแ่ ผนกคลังสนิ คา้
ค. พนักงานฝ่ายบัญชี และเจ้าหนา้ ที่แผนกคลังสนิ ค้า
ง. พนกั งานฝา่ ยบญั ชี และเจา้ หน้าทีบ่ ุคลากร

6. การตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลอื โดยทั่วไปทำได้ก่ีวิธี
ก. 2 วิธี
ข. 3 วธิ ี
ค. 4 วิธี
ง. 5 วธิ ี

7. การตรวจนับสินค้าคงเหลอื เมื่อสน้ิ งวด เปน็ การตรวจนับท่ีจัดทำขึ้นปีละกคี่ รงั้
ก. 1 คร้ัง
ข. 2 ครั้ง
ค. 3 ครั้ง
ง. ตลอดปี

8. การตรวจนบั สนิ คา้ คงเหลือเมื่อวันสิ้นงวด เหมาะสำหรับกจิ การใด
ก. กจิ การขนาดเล็ก และขนาดกลาง
ข. กจิ การขนาดเลก็ และขนาดใหญ่
ค. กิจการขนาดกลาง และขนาดใหญ่
ง. ทุกขนาดของกจิ การ

9. เงื่อนไขในการขนสง่ สนิ คา้ ท่ีผู้ซ้อื และผูข้ ายตกลงกัน ดไู ด้จากเอกสารใด
ก. ใบสง่ั ซื้อ
ข. ใบส่งของ
ค. ใบกำกับสนิ ค้า
ง. ใบเสร็จรับเงนิ

10. การตรวจนบั สนิ ค้าคงเหลือแบบตอ่ เนอ่ื ง กระทำการตรวจนบั ได้ปีละก่คี รัง้
ก. 1 ครั้ง
ข. 2 ครัง้
ค. 3 คร้ัง
ง. ตลอดปี

เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 2

1. ค.
2. ข.
3. ค.
4. ง.
5. ค.
6. ก.
7. ก.
8. ก.
9. ค.
10. ง.

แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยท่ี 3

ชื่อวชิ า การบญั ชีสนิ ค้าและระบบใบสำคัญ สอนสปั ดาหท์ ่ี 5-8
ชอ่ื หน่วย การบนั ทกึ บัญชเี ก่ียวกับสนิ ค้า คาบรวม 12

ชอ่ื เรอ่ื ง. การบันทึกบัญชีเก่ียวกบั สนิ ค้า จำนวนคาบ 12

หัวขอ้ เร่ือง

ด้านความรู้
1. วธิ กี ารบันทึกบัญชเี กีย่ วกับสินคา้

ด้านทักษะ
7. บนั ทกึ บัญชีสินค้าคงเหลือแบบสน้ิ งวดได้
8. บนั ทึกบญั ชีสินคา้ คงเหลอื แบบตอ่ เนือ่ งได้
9. เปรยี บเทยี บการบันทึกบญั ชสี นิ คา้ คงเหลือแบบสิ้นงวด และแบบต่อเน่ืองได้

ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
7. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมลู มีความถกู ตอ้ ง ทันถว่ งทีต่อการใช้ขอ้ มูล

สาระการเรยี นรู้

15. การบนั ทึกบัญชสี นิ คา้ คงเหลือแบบสนิ้ งวด
16. การบนั ทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนือ่ ง
17. การเปรยี บเทียบการบนั ทึกบญั ชีสนิ คา้ คงเหลือแบบสน้ิ งวด และแบบตอ่ เน่ือง

จุดประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรียนรู้

18. วธิ ีการบันทึกบัญชเี กี่ยวกบั สนิ ค้า (ดา้ นความร)ู้
19. บนั ทึกบัญชีสนิ ค้าคงเหลอื แบบสิน้ งวดได้ (ด้านทักษะ)
20. บนั ทึกบญั ชสี นิ ค้าคงเหลือแบบตอ่ เน่อื งได้ (ด้านทักษะ)
21. เปรยี บเทยี บการบนั ทกึ บัญชสี ินค้าคงเหลอื แบบสน้ิ งวด และแบบต่อเนอ่ื งได้ (ด้านทักษะ)
22. จัดเตรียมอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน ข้อมูลมีความถูกต้อง ทันถ่วงทีต่อการใช้ข้อมูล

(ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม)

เนือ้ หาสาระการสอน / การเรียนรู้

ด้านความรู้
18. วิธกี ารบันทึกบญั ชเี กย่ี วกบั สนิ ค้า (จุดประสงค์พฤตกิ รรมการเรยี นร้ขู อ้ ที่ 1)
วิธีการบันทึกบญั ชีเกี่ยวกับสนิ คา้ มี 2 วธิ ี คอื
1. วิธีบันทกึ บัญชีสนิ คา้ เมอื่ วันสิ้นงวด (Periodic Inventory System)
2. วธิ บี ันทึกบัญชสี ินค้าแบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory System)
1. วิธีบันทึกบญั ชีสนิ คา้ เมอ่ื วนั ส้ินงวด (Periodic Inventory System) วิธีน้ีบนั ทกึ บญั ชี

สินคา้ คงเหลอื เม่ือวนั สิ้นงวดบัญชี โดยกจิ การทำการตรวจนับและตีราคาสินคา้ คงเหลือ วิธีน้เี หมาะสำหรบั กิจการ
ท่ีจำหน่ายสินค้าหลายชนิด การบันทึกบัญชีตามวิธีนี้จะแยกรายการท่ีเกี่ยวข้องกับต้นทุนขายออกต่างหาก ทำให้
กจิ การไม่ทราบว่าในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีกิจการมีสินค้าคงเหลอื เท่าใด และมีตน้ ทุนสินค้าขายเป็นจำนวน
เทา่ ใด วิธีนเ้ี ปน็ วิธีง่ายและนยิ มใชโ้ ดยทว่ั ไป

2. วิธีบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเน่ือง (Perpetual Inventory System) วิธีน้ีบันทึก
บญั ชีสินค้าและบัญชีต้นทุนสินค้าขายตลอดเวลาที่มีรายการคา้ ทเี่ ก่ียวขอ้ งเกิดขึ้น ทำให้กิจการทราบยอดคงเหลือ
ของสินค้าและต้นทุนสินค้าขายตลอดเวลา วิธีนี้เหมาะสำหรับกิจการท่ีจำหน่ายสินค้าท่ีมีราคาสูงและมีปริมาณ
การขายไม่มากนัก วธิ ีน้ีจะยงุ่ ยากกว่าวิธแี รกและเสียค่าใช้จา่ ยมากกวา่ แตม่ ีข้อดตี รงท่ีกิจการสามารถทราบยอด
คงเหลือของสินค้า และต้นทุนสินค้าขายตลอดเวลา ทำให้กิจการสามารถวางแผนเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าได้
ทำใหเ้ พ่มิ ประสิทธภิ าพการดำเนนิ งาน

การบันทึกบัญชสี ินค้าแบบต่อเนื่อง ธุรกิจจะทำการบนั ทึกบัญชสี ินค้าและต้นทุนขายในบัญชีทำ
ให้ทราบถึงการเคลื่อนไหวของสินค้าคงเหลือว่าสินค้าแต่ละชนิดมีเหลือชนิดละเท่าไร และต้นทุนขายก็สามารถ
ทราบได้ทันท่วงที เช่น ในห้างสรรพสินค้าใหญ่ ถ้าเราเข้าไปซ้ือสินค้าใน Super Market เม่ือจะจ่ายเงิน
พนักงานขายจะใช้เครือ่ งมือเล็ก ๆ คล้ายไฟฉายขนาดเลก็ จี้ลงไปท่ีราคาสินค้าเป็นการบันทึกรายการตัด Stock
สินคา้ ชนิดนั้นทันทีโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ จะทำให้ผู้ควบคุมสินค้าทราบได้ทันท่วงทีวา่ สนิ ค้าชนดิ นั้นขายไปได้
แล้วเท่าไร คงเหลือเท่าไร เปน็ การชว่ ยใหฝ้ ่ายจัดการทราบว่าสินค้าชนิดนั้นขายจวนหมดจากทวี่ างไว้บนชั้นหรือ
ยัง ถ้าใกลห้ มดก็รีบนำมาใสใ่ หม่ หรอื ถา้ ใกล้หมดจะไดส้ งั่ ซ้ือไดท้ นั ทว่ งที

การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเน่ืองน้ี จะมีการบันทึกทั้งจำนวนหน่วยและราคาต่อหน่วยของ
สินค้าพร้อมกันไป ธุรกิจท่ีใช้ระบบนี้ส่วนใหญ่จะเป็นธุรกิจที่ทำการซื้อขายสินค้าท่ีจำนวนหน่วยต่ำแต่ราคาต่อ
หน่วยสูง (Low Volume of High Value) ตัวอย่าง กิจการซ้ือขายรถยนต์ ตู้เย็น โทรทัศน์ เป็นต้น
กจิ การขายยา จะใชร้ ะบบตอ่ เน่ืองไมไ่ ด้ ทงั้ นี้ต้นทุนการดำเนินงานคงจะสูงมาก

การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่องน้ี เม่ือมีการซื้อสินค้าจะบันทึกต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาใน

“บัญชีสินค้า” (Merchandise Inventory Account) บัญชีซื้อจะไม่มีเม่ือมีค่าขนส่ง สินค้าเมื่อซ้ือจะนำไป
บนั ทึกในบัญชสี ินค้าทันที (ถา้ ค่าขนส่งเมอ่ื ซือ้ มีไม่มากนกั บางกิจการอาจจะตอ้ งการนำไปลงไว้ในบัญชีค่าขนส่งเข้า
แล้วปิดไปเป็นส่วนหน่ึงของต้นทุนในงวดนั้นโดยตรงก็ได้) เมื่อมีการส่งคืนสินค้าและรับส่วนลดก็เช่นกันจะนำไป
บนั ทึกทางดา้ นเครดติ ของบัญชีสินคา้ โดยตรงเช่นกนั ระบบนี้บัญชสี ่งคนื สินคา้ และสง่ ลดรับ เมือ่ มีการขายสินคา้ จะมี
การบันทึกรายการ 2 บัญชี คือ บัญชีต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold) ทางด้านเดบิตแล้วเครดิตบัญชี
สนิ คา้ ออก การบนั ทกึ เช่นน้จี ะทำใหเ้ ราทราบวา่ ตน้ ทนุ สนิ ค้าขาย และสินคา้ คงเหลือในวันนัน้ ๆ มเี ทา่ ไร

ด้านทกั ษะ

19. บันทึกบัญชสี นิ ค้าคงเหลือแบบสนิ้ งวดได้ (จุดประสงค์พฤติกรรมการเรยี นร้ขู อ้ ที่ 2)

1. ถ้ากิจการใช้วิธีการบนั ทึกบัญชีสินค้าแบบ Periodic แล้วก็ไม่จำต้องใช้บัญชีสินค้าสำหรับบันทึกการ

เข้าออกของสินค้าเหมือนกับวิธีบันทึกบัญชีแบบ Perpetual ท้ังน้ีเพราะวิธีนี้จะบันทึกการซื้อสินค้าในบัญชีซื้อ

ด้านเดบิตในราคาทุน ส่วนรายการอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับรายการค้าที่เกิดขึ้นเช่น ส่งคืน ค่าขนส่งขาเข้า

สว่ นลดรับโดยเปิดบญั ชีเหล่านใี้ นสมดุ บัญชแี ยกประเภท

2. วิธีการบันทึกบัญชีแบบ Periodic Inventory น้ี เป็นวิธีท่ีใช้วิธีการตรวจนับสินค้าคงเหลือ ณ

วนั ปลายปแี ละตีราคาจึงบนั ทกึ ยอดสินคา้ คงเหลือปลายปีที่ตรวจนบั และตรี าคาได้โดยการ

เดบติ บัญชสี นิ ค้าคงเหลือ (ยกไป) xx

เครดิต บญั ชีตน้ ทนุ ขาย xx

สำหรบั บัญชีสินค้าคงเหลือยกไปนจ้ี ะถกู นำไปแสดงเป็นทรพั ย์สินหมุนเวยี นในงบดุลและแสดงเป็นรายการหักในงบ

กำไรขาดทุนตอนหาตน้ ทุนสนิ คา้ ที่ขายให้ โอนปิดบัญชีต่าง ๆ ที่เก่ียวกับการคำนวณหาสินค้าทง้ั หมดท่ีมีเพ่อื ขาย

เขา้ บัญชตี น้ ทุนขายและปดิ บญั ชีตน้ ทนุ ขายและบญั ชีขายเขา้ บัญชกี ำไรขาดทุน

20. บนั ทกึ บญั ชสี นิ ค้าคงเหลือแบบต่อเนอ่ื งได้ (จดุ ประสงคพ์ ฤตกิ รรมการเรยี นรู้ขอ้ ที่ 3)
สำหรับกิจการท่ีใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบ Perpetual นั้น จะใช้วิธีการบันทึกบัญชสี ินค้าท่ีซ้ือมาและขาย

ไปในการ์ดสินค้า และในบัญชีสินค้าเพ่ือแสดงการเปล่ียนแปลงเคล่ือนไหวของสินค้าตลอดเวลาทำให้กิจการค้าสามารถ
ทราบว่ากจิ การมีสนิ ค้าคงเหลือในเวลาน้ีเท่าใดโดยไม่จำต้องตรวจนบั สนิ ค้า โดยดจู ากบญั ชีสนิ ค้าและการ์ดสินค้า

แต่อย่างไรก็ดีในทางปฏิบัติกิจการจะต้องทำการตรวจนับและตีราคาสินค้า ณ วนั สิ้นงวดบัญชหี รือสิ้นปี
ทั้งนี้เพื่อนำยอดสินค้าท่ีตรวจนับและตีราคาได้มาทำการเปรียบเทียบกับยอดสินค้าคงเหลือตามบัญชี ถ้ายอดท้ัง
2 ตรงกันก็แสดงว่ายอดสินค้าคงเหลือตามบัญชีถกู ตอ้ ง แต่ถ้าปรากฏผลในทางตรงขา้ ม เหตุทีไ่ ม่ตรงกนั อาจเกิด
จากข้อผิดพลาดบางอย่าง เช่นมีการตรวจรับของจ่ายของผิดพลาด การคิดราคาผิด มีการสูญหาย หรือมีการ
เสื่อมส้ินไปโดยสภาพของสินค้าน้ัน ๆ ในกรณีนี้จะต้องทำการปรับปรุงยอดสินค้าคงเหลือตามบัญชีให้มียอด


Click to View FlipBook Version