The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กลุ่มธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า รวมไฟล์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

กลุ่มธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า รวมไฟล์

กลุ่มธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า รวมไฟล์

ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

นางสาวชญาฎา พจิ ติ ร
นางสาวณัฐณชิ า แกว้ สีนอ
นางสาวธิญาดา อาวะสานต์
นางสาวณฐั ชา ไชยแสง
นางสาวอรปรยี า พิรณุ รัตน์

โครงการนี้เป็นส่วนหนงึ่ ของวิชาการศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ
สาขางานการบญั ชี สาขาวชิ าการบัญชี ประเภทวิชาพาณชิ กรรม
วิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดนิ
ปีการศึกษา 2563

ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

นางสาวชญาฎา พจิ ติ ร
นางสาวณัฐณชิ า แกว้ สีนอ
นางสาวธิญาดา อาวะสานต์
นางสาวณฐั ชา ไชยแสง
นางสาวอรปรยี า พิรณุ รัตน์

โครงการนี้เป็นส่วนหนงึ่ ของวิชาการศกึ ษาหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ
สาขางานการบญั ชี สาขาวชิ าการบัญชี ประเภทวิชาพาณชิ กรรม
วิทยาลัยเทคนิคสวา่ งแดนดนิ
ปีการศึกษา 2563

ใบรับรองโครงการ

หัวขอ้ เรื่องโครงการ ธุงศรอี ีสานจากผา้ ขาวม้า

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

ผู้ดาเนนิ โครงการ นางสาวชญาฎา พจิ ติ ร 6122010009

นางสาวณัฐณิชา แกว้ สนี อ 6122010010

นางสาวธิญาดา อาวะสานต์ 6122010011

นางสาวณัฐชา ไชยแสง 6122010019

นางสาวอรปรียา พริ ุณรตั น์ 6122010199

ครผู ู้สอนรายวชิ าโครงการ นางสาวสิรินทร์ทพิ ย์ ศริ ิบตุ ร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปกี ารศึกษา 2563

……………………………………………………………………………………………………………………………………....

ครูที่ปรึกษาโครงการและคณะกรรมการสอบโครงการ ได้พิจารณาโครงการฉบับน้ีแล้ว

เห็นสมควรเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของวิทยาลัยเทคนิค

สว่างแดนดนิ

ครูทปี่ รกึ ษาโครงการ …………………………………………..…………………

( นางสาวสิรนิ ทร์ทิพย์ ศริ บิ ุตร )

…………………………………………..…………………

( นางสาวกลุ นาถ สมาทอง )

กรรมการสอบโครงการ …………………………………………..…………………ประธานกรรมการ

( นางประไพศรี วงศ์ปรดี ี )

…………………………………………..…………………กรรมการ

(………………………………………………..)

…………………………………………..…………………กรรมการ

(………………………………………………..)

ใบมอบลขิ สิทธิ์

หัวขอ้ เร่ืองโครงการ ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

ผดู้ าเนนิ โครงการ นางสาวชญาฎา พิจิตร 6122010009

นางสาวณฐั ณิชา แก้วสนี อ 6122010010

นางสาวธญิ าดา อาวะสานต์ 6122010011

นางสาวณฐั ชา ไชยแสง 6122010019

นางสาวอรปรียา พิรณุ รัตน์ 6122010199

ครูผสู้ อนรายวชิ าโครงการ นางสาวสริ นิ ทรท์ ิพย์ ศิรบิ ุตร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปีการศกึ ษา 2563

……………………………………………………………………………………………………………………………………....

ผลงานที่ได้รบั จากการทาโครงการนี้ข้าพเจา้ ยินยอมมอบให้เปน็ ลิขสทิ ธิ์ของวทิ ยาลัยเทคนคิ

สวา่ งแดนดนิ เปน็ ระยะเวลา 5 ปี นบั จากวันท่รี ะบใุ นโครงการเล่มน้ี

ผู้สง่ มอบ ……………………………………. …………………………………….

( นางสาวชญาฎา พิจติ ร ) ( นางสาวณฐั ณชิ า แกว้ สีนอ )

……………………………………. …………………………………….

( นางสาวธญิ าดา อาวะสานต์ ) ( นางสาวณัฐชา ไชยแสง )

…………………………………….

( นางสาวอรปรยี า พริ ณุ รตั น์ )

ผรู้ ับมอบ ……………………………….รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ

( นายทินกร พรหมอนิ ทร์ )

……………………………….ครูท่ีปรึกษาโครงการ

( นางสาวสริ นิ ทรท์ ิพย์ ศริ ิบุตร )

พยาน ……………………………….หวั หน้าแผนกวิชาการบัญชี

( นางประไพศรี วงศป์ รีดี )

ใบเสนออนมุ ัตโิ ครงการ

หัวขอ้ เรอ่ื งโครงการ ธงุ ศรอี สี านจากผา้ ขาวม้า

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

ผ้ดู าเนินโครงการ นางสาวชญาฎา พิจิตร 6122010009

นางสาวณฐั ณิชา แก้วสนี อ 6122010010

นางสาวธญิ าดา อาวะสานต์ 6122010011

นางสาวณัฐชา ไชยแสง 6122010019

นางสาวอรปรยี า พิรุณรตั น์ 6122010199

ครผู สู้ อนรายวิชาโครงการ นางสาวสริ ินทรท์ ิพย์ ศิริบตุ ร

สาขาวชิ า การบัญชี

ปีการศึกษา 2563

……………………………………………………………………………………………………………………………………....

เสนออนุมัติโครงการให้รับโครงการฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร

ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ ของวทิ ยาลยั เทคนิคสวา่ งแดนดิน

…………………………………………หัวหนา้ แผนกวิชาการบัญชี

( นางประไพศรี วงศป์ รดี ี )

……………………………………………หวั หนา้ งานวัดผลและประเมินผล

( นางสาวนิภาภรณ์ สทุ ธโิ คตร )

…………………………………………หัวหนา้ งานพฒั นาหลกั สตู รการเรียนการสอน

( นายคุมดวง พรมอนิ ทร์ )

…………………………………………รองผ้อู านวยการฝา่ ยวชิ าการ

( นายทนิ กร พรหมอินทร์ )

-ก-

หวั ขอ้ เร่ืองโครงการ ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวมา้

TUNG SRILSAN FROM LOINCLOTH

ผดู้ าเนนิ โครงการ นางสาวชญาฎา พจิ ติ ร 6122010009

นางสาวณัฐณิชา แกว้ สนี อ 6122010010

นางสาวธิญาดา อาวะสานต์ 6122010011

นางสาวณัฐชา ไชยแสง 6122010019

นางสาวอรปรยี า พิรุณรตั น์ 6122010199

ครูผู้สอนรายวชิ าโครงการ นางสาวสิรินทรท์ พิ ย์ ศริ ิบุตร

สาขาวชิ า การบญั ชี

ปกี ารศึกษา 2563

……………………………………………………………………………………………………………………………………....

บทคัดย่อ

การจัดทาโครงการธงุ ศรีอีสานจากผ้าขาวม้า จัดทาขึ้นเพอื่ สง่ เสริมและตอ่ ยอดสินค้าทมี่ ีอยู่ใน

ทอ้ งถิ่น เพือ่ เพิ่มมูลคา่ ใหก้ ับผ้าขาวมา้ และผ้าขาวม้ายังเป็นผา้ พื้นถนิ่ ของภาคอสี านผ้จู ัดทาโครงการได้

จัดทาแบบสอบถามเพ่ือวัดระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามธุง ศรีอีสานจากผ้าขาวม้า

ประชากรท่ีใช้ในการประเมินคร้งั น้ีคือ ประชากรที่อยู่ในเขตพื้นท่ี บ้านโพนใหม่ หมู่ท่ี 11 ตาบลบ้าน

เหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร มีประชากรทั้งสิ้น 400 คน โดยกาหนดกลุ่มตัวอย่างแบบไม่

เจาะจงจานวน 50 คน

ผลการประเมินพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุต่ากว่า 20 ปีระดับ

การศึกษานักเรียน/นักศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจเมื่อจาแนกเป็นรายข้อพบว่า

ผ้ตู อบแบบสอบถามมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมากในด้านผลิตภัณฑ์ เปน็ อบั ดับที่ 1 รองลงมาคือดา้ น

ประโยชนเ์ ชิงพาณิชยแ์ ละอนั ดับที่ 3 คือด้านบรรจุภัณฑ์ และดา้ นราคา

ตน้ ทนุ การผลติ ธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้าทงั้ หมด 1,740 บาท ผลติ ได้ 4 ชน้ิ การกาหนดราคา

ขายตน้ ทุนต่อชนิ้ 435 บาท + คา่ แรง 108.75 บาท + กาไร 108.75 บาท = ราคาขาย 699 บาท ต้อง

ขายผลติ ภัณฑใ์ หไ้ ดจ้ านวน 3 ช้นิ ถงึ จะคุม้ ทุน

คาสาคัญ: ธุงศรอี สี านจากผา้ ขาวมา้

-ข-

กติ ติกรรมประกาศ

การศกึ ษาความพงึ พอใจของประชากรทมี่ ีต่อผลติ ภัณฑธ์ ุงศรีอสี านจากผา้ ขาวม้าในเขตชมุ ชน
บา้ นโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหลา่ อาเภอเจรญิ ศิลป์ จงั หวดั สกลนคร ในคร้ังนส้ี าเรจ็ ไปไดด้ ้วยดีโดย
ได้รบั ความอนุเคราะห์จากท่านผอู้ านวยการวิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ

ขอขอบคุณนางสาวกุลนาถ สมาทอง ครทู ่ปี รึกษาโครงการ นางสาวสริ นิ ทรท์ พิ ย์ ศริ ิบุตร ครทู ี่
ประจาวิชาโครงการ ท่ีคอยชี้แนะนาเน้ือหาและปรับปรุงแก้ไขเครื่องมือเครื่องใช้ในโครงการจน
ครบถ้วนสมบูรณ์ซ่ึงทาให้การดาเนินโครงการสามารถเป็นไปตามที่กาหนดการวางแผนการดาเนิน
โครงการได้ดว้ ยดี

ขอบพระคุณผู้ทใี่ ห้ความร่วมมือในการตอบแบบสอบถามในเขตชมุ ชน บ้านโพนใหม่ หมู่ 11
ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร ทุกท่านที่กรุณาตอบแบบสอบถาม คณะครู
อาจารย์สาขาการบัญชีที่ให้ความร่วมมืออานวยความสะดวกในการเก็บรวบรวมข้อมูล ตลอดจน
ผปู้ กครองทกุ ทา่ นและเพ่ือนนักเรยี นทกุ คนทใ่ี ห้กาลังใจตลอดเวลาในการจดั ทาโครงการ

ชญาฎา พจิ ิตร
ณัฐณิชา แกว้ สนี อ
ธิญาดา อาวะสานต์
ณฐั ชา ไชยแสง
อรปรียา พริ ุณรตั น์

ผูจ้ ดั ทาโครงการ

-ค- หน้า

สารบัญ ก

เรอ่ื ง ค-ง
บทคัดยอ่ ภาษาไทย จ
กติ ติกรรมประกาศ ฉ
สารบญั
สารบัญตาราง 1
สารบญั รูป 1
บทที่ 1 บทนา 2
2
1.1 หลกั การและเหตุผล 2
1.2 วัตถุประสงคข์ องโครงการ 3
1.3 เปา้ หมาย 3
1.4 ขอบเขตของโครงการ 4
1.5 ความสอดคล้อง 5
1.6 ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั 5-6
1.7 การติดตามและการประเมินผล
1.8 วธิ กี ารดาเนินงาน 7
1.9 งบประมาณคา่ ใช้จา่ ย 7
1.10 นิยามศพั ท์เฉพาะ 8-9
บทที่ 2 หลักการและทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง 10
2.1 ความหมายของธุง 11-12
2.2 ความหมายของผ้าขาวม้า
2.3 ความหมายของความพงึ พอใจ 13
2.4 แนวคดิ เก่ียวกบั ความพึงพอใจ 14
2.5 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 15
บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการโครงการ 15
3.1 ประชากร 15
3.2 เครือ่ งมือทใี่ ช้ในการจดั ทาโครงการ 16
3.3 การสร้างและหาคุณภาพเครื่อง 17-18
3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
3.5 การวิเคราะห์ข้อมลู
3.6 สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
3.7 คานวณหาต้นทุนสนิ ค้าและหาจดุ คุ้มทุน

-ง-

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

เรอ่ื ง

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

4.1 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เกย่ี วกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม 19-20

4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู เกย่ี วกบั ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีผลต่อ

ธุงศรีอสี านจากผา้ ขาวม้า 21-22

4.3 ผลการวเิ คราะหเ์ นือ้ หาจากแบบสอบถามปลายเปดิ เป็นขอ้ เสนอแนะของผตู้ อบ

แบบสอบถาม 23

บทที่ 5 สรปุ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรุปผลการจัดทาโครงการ 24

5.2 อภิปรายผล 25-27

5.3 ข้อเสนอแนะ 28

บรรณานุกรม

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก : แบบสอบถาม

ภาคผนวก ข : อุปกรณท์ ใ่ี ชท้ าธุงศรอี สี านจากผ้าขาวมา้

ภาคผนวก ค : ขั้นตอนการทาธุงศรอี ีสานจากผา้ ขาวม้า

ภาคผนวก ง : ผลิตภณั ฑ์ธงุ ศรอี สี านจาก้าขาวม้า

ภาคผนวก จ : แผน่ พับ,ตราสนิ ค้า,โปสเตอร์

ประวตั ผิ ู้จัดทาโครงการ

-จ- หนา้

สารบญั ตาราง 4
5
ตารางท่ี 17
ตารางท่ี 1 ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน 18
ตารางท่ี 2 แสดงงบประมาณและค่าใชจ้ ่าย 19
ตารางที่ 3 แสดงตน้ ทุนผลิตภัณฑ์ 20
ตารางท่ี 4 แสดงจุดคมุ้ ทุน 20
ตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ในดา้ นเพศ 21
ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลในด้านอายุ 22
ตารางท่ี 7 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ในดา้ นอาชพี
ตารางที่ 8 คา่ ความพึงพอใจของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางที่ 9 คา่ เฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจ

-ฉ- หน้า

สารบญั รปู

รปู ท่ี
1. วสั ดแุ ละอุปกรณ์ในการทาธงุ ศรอี สี านจากผ้าขาวม้า
2. ขน้ั ตอนในการทาธุงศรีอีสานจากผา้ ขาวม้า
3. ผลติ ภัณฑ์ธุงศรีอสี านจากผ้าขาวม้า
4. แผน่ พับ,ตราสนิ คา้ ,โปสเตอร์

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 หลักกำรและเหตผุ ล

ปัจจุบันน้คี วามเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นับว่าเป็นสาเหตุหนง่ึ ให้สง่ ผลกระทบต่อวิถีการ
ดาเนินชีวิต ต่อศิลปะวัฒนธรรมท่ีมีคุณค่ามาต้ังแต่โบราณได้เปล่ียนแปลงไป เน่ืองจากเทคโนโลยี
สมัยใหม่ได้เข้ามามีบทบาทในปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่หันมาใช้ธุงน้อยลงส่งผลให้ไม่มีผู้อนุรักษ์
วิธกี ารทาธุง และธุงทเ่ี กิดจากฝมี อื วถิ ชี วี ิตชาวบ้านคอ่ ยๆจางหายไป

ธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า ในอดีตบรรพบุรุษของชาวบ้านได้ประดิษฐ์สิ่งต่างๆ ด้วยฝีมือ เช่น
การทาธุงจากด้าย เพอื่ ไวใ้ ชใ้ นงานหรอื ประกอบพธิ กี รรม คณะผจู้ ัดทาจึงไดค้ ิดนาผ้าขาวม้าทหี่ าได้ง่าย
ตามท้องถ่ินมาประยุกต์ใช้ทาธุงเพื่อให้เกิดความแปลกใหม่และยังเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์ได้ จาก
การทท่ี กุ บา้ นได้มีการทาธุงดว้ ยตนเองนน้ั เป็นการแสดงออกถงึ การอนุรกั ษ์ศลิ ปะ ภมู ปิ ัญญาให้สืบทอด
มาสูค่ นสมัยใหม่

ดังนนั้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาไดม้ แี นวคิดในการจดั ทาโครงการ ธุงศรีอีสานจากผา้ ขาวม้า เพอื่ ใหเ้ ห็น
คุณค่าของวัฒนธรรม ใช้ผ้าขาวม้าที่หาได้ง่ายตามท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และเพิ่มมูลค่าให้กับ
ผลิตภัณฑ์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นเอกลักษณ์ของภาคอีสาน และความเชื่อของชาวบ้านต้ังแต่อดีตไปจนถึง
ปัจจุบันและยังสามารถสร้างรายได้ให้กับชุมชน สร้างอาชีพระหว่างเรียนและนามาประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจาวันได้

1.2 วัตถุประสงค์ของโครงกำร

1.2.1 เพ่อื ให้คณะผู้จดั ทามคี วามรคู้ วามสามารถในด้านการจดั ทาโครงการและสง่ เสริมความ
รกั ความสามคั คใี นกลุ่มสมาชิก

1.2.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มประชากรตัวอย่างในเขตพ้ืนท่ีบ้านโพนใหม่ ตาบล
บา้ นเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวดั สกลนคร

1.2.3 เพ่ือให้นักเรียนมีความคิดสร้างสรรค์ริเร่ิมและเป็นความรู้ในการประกอบอาชีพใน
อนาคต

-2-

1.3 เป้ำหมำยของโครงกำร

1.3.1 เชิงปริมาณ

1.3.1.1 นักเรียนจานวน 5 คน

1.3.1.2 ชน้ิ งานจานวน 4 ช้ิน

1.3.2 เชงิ คุณภาพ

สง่ เสริมนกั เรียนใหม้ คี วามร้คู วามสามารถทักษะประสบการณ์ และพัฒนา
งานประดษิ ฐแ์ ลว้ นาไปประยกุ ตใ์ ช้เปน็ อาชพี ในอนาคตได้

1.4 ขอบเขตของโครงกำร

1.4.1 ขอบเขตด้านเนอื้ หา

ขอบเขตด้านเนอ้ื หาการประเมนิ คร้ังน้ี นกั เรียนมีจดุ มุ่งหมายในการสอบถามความพึง
พอใจของประชาชนทม่ี ตี อ่ การทาโครงการของนักเรียนแผนกการบัญชีวิทยาลัยเทคนคิ สวา่ ง
แดนดนิ

1.4.2 ขอบเขตด้านประชากร

ประชากรท่ใี ชใ้ นโครงการครง้ั นี้ ได้แก่ ประชาชน คนในเขตพื้นที่บา้ นโพนใหม่ หมู่ 11
ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจรญิ ศลิ ป์ จงั หวดั สกลนคร ชาย 180 คน หญิง 220 คน รวม 400 คน
(ท่ีมา:นายประภาส ปะโกทะสังข์ ) โดยกาหนดกลุ่มตวั อยา่ งแบบสมุ่ ตามสะดวก 50 คน

1.5 ควำมสอดคลอ้ ง

 นโยบายสานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา ขอ้ ……….

 ยทุ ธศาสตร์สกลนคร ข้อ……….

 ยุทธศาสตร์วิทยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดนิ ขอ้ ……….

 มาตรฐานการอาชวี ศกึ ษา / ประกันคุณภาพภายในมาตรฐานท่ี 3

-มาตรฐานที่ 3 ตวั บง่ ชี้ท่ี 31 ส่งเสรมิ ด้านวิชาการ

 คุณธรรม 8 ประการและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ของผสู้ าเร็จการศกึ ษา

 มาตรฐานคณุ ภาพศึกษา 3 ดี

-3-

1.6 ประโยชนท์ ีค่ ำดว่ำจะไดร้ ับ

1.6.1 นักเรียนนกั ศึกษามคี วามรู้ความสามารถในด้านการจัดทาโครงการและสง่ เสริม
ความรักความสามัคคีในกล่มุ สมาชิก
1.6.2 เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของกลุ่มประชากรในเขตพื้นที่บ้านโพนใหม่ ตาบล
บา้ นเหล่า อาเภอเจรญิ ศิลป์ จงั หวัดสกลนคร
1.6.3 นักเรียนนักศึกษามีความคิดสร้างสรรค์ริเร่ิมและเป้นความรู้ในการประกอบ
อาชพี ในอนาคต

1.7 กำรตดิ ตำมและประเมนิ ผล

1.7.1 เครื่องมือ
 แบบสอบถาม  แบบสงั เกต อืน่ ๆ……………………

1.7.2 วิธกี าร
 แจกแบบสอบถามให้แกผ่ ้ซู ื้อและผู้ตอบแบบสอบถาม

-4-

1.8 วิธีดำเนนิ งำน

ขั้นตอนการตอนเนินงานและสถานท่ี

กจิ กรรม ระยะเวลำ สถำนที่ ผ้รู บั ผดิ ชอบ
ดำเนินกำร ดำเนนิ งำน

1.8.1 ขัน้ เตรยี ม (P:Planing) เดอื นพฤศจกิ ายน วทิ ยาลยั เทคนคิ น.ส.ชญาฎา
น.ส.ณัฐณิชา
1.8.1.1 เสนอโครงการเพือ่ ขอ - สว่างแดนดิน
น.ส.ธิญาดา
อนมุ ัติ เดอื นธันวาคม น.ส.ณฐั ชา
น.ส.อรปรยี า
1.8.1.2 จัดทาคาสงั่ พ.ศ.2563

1.8.1.3ประชมุ มอบหมายงาน

1.8.2 ขัน้ ปฏบิ ตั ิงาน/ดาเนินการ เดือนธันวาคม 163/11 บ้านโพน น.ส.ชญาฎา
(D:Doing)
พ.ศ.2563 ใหม่ ต.บา้ นเหล่า น.ส.ณัฐณิชา
1.8.2.1 ประชาสัมพันธ์ -
1.8.2.2 ปฏิบตั ติ ามหนา้ ท่ี อ.เจรญิ ศิลป์ น.ส.ธญิ าดา
เดือนมกราคม
พ.ศ.2564 จ.สกลนคร น.ส.ณัฐชา

น.ส.อรปรียา

1.8.3ขั้นตรวจ/ติดตาม เดือนมกราคม 163/11 บา้ นโพน น.ส.ชญาฎา
(C:Cheking) -
ใหม่ ต.บ้านเหลา่ น.ส.ณฐั ณิชา
1.8.3.1 จดั ทาแบบสอบถาม เดือนกุมภาพนั ธ์
1.8.3.2 แจกแบบสอบถาม พ.ศ.2564 อ.เจรญิ ศิลป์ น.ส.ธิญาดา
1.8.3.3เก็บรวบรวม
จ.สกลนคร น.ส.ณัฐชา
แบบสอบถาม
น.ส.อรปรียา

1.8.4 ข้นั ประเมนิ ผล(A:Act) เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ วทิ ยาลัยเทคนคิ น.ส.ชญาฎา
1.8.4.1คัดเลือกแบบสอบถาม - สวา่ งแดนดิน น.ส.ณัฐณิชา
น.ส.ธญิ าดา
ฉบับสมบูรณก์ รอกขอ้ มลู ใช้ เดอื นมนี าคม น.ส.ณัฐชา
โปรแกรมสาเร็จรูป พ.ศ.2564
น.ส.อรปรียา
1.8.4.2ประมวลผลและสรุปผล
1.8.4.3เขา้ เล่มนาเสนอ
วิทยาลยั ฯ

ตารางที่ 1.1 แสดงข้นั ตอนการดาเนนิ งานและสถานท่ี

-5-

1.9 งบประมำณคำ่ ใชจ้ ำ่ ย

งบประมาณคา่ ใชจ้ ่าย ( ) งบประมาณ………….บาท ( ) รายไดส้ ถานศึกษา………บาท
( ) เงนิ อุดหนนุ …………บาท () อ่ืนๆได้รับเงนิ จากสมาชิก 5 คน คนละ 348 บาท
รวมทัง้ สนิ้ 1,740 บาท ( บาทถว้ น ) จาแนกรายละเอยี ดไดด้ ังน้ี

รำคำตอ่ รำคำรวม หมำยเหตุ
ลำดบั รำยกำร จำนวนนับ หน่วย ( บำท )

( บำท )

1 ผา้ ขาวมา้ 16 ผืน 60 960

2 ด้ายไหม 2 มว้ น 25 50

3 กระติบข้าวขนาดเลก็ 36 กล่อง 15 540

4 ไมไ้ ผ่ 4 แพ็ค 15 60

5 เชือกป่าน 72 เมตร 20 80

6 กาวแทง่ 2 แพ็ค 10 20

7 ลูกปัด 2 แพค็ 15 30

รวมท้งั สนิ้ 1,740
ตัวอกั ษร ( หนึ่งพนั เจ็ดรอ้ ยส่ีสบิ บาทถว้ น )

ตารางที่ 1.2 แสดงงบประมาณค่าใชจ้ ่าย

1.10 คำนยิ ำมศพั ท์เฉพำะ

ธุง คือ ธงุ ทีท่ าจากเส้นดา้ ยจากเสน้ ฝ้ายหรือเสน้ ไหม ผูกโยงกันคลา้ ยใยแมงมมุ นยิ มใช้แขวน
ตกแต่งไว้หน้าพระประธาน หรือโดยรอบในงานพิธีกรรม ใช้ในการปกป้องคุ้มครองคล้ายกับตุงไชย
เป็นท่ีแพร่หลายในภาคอีสาน การประดับธุงใยแมงมุมของวัดไชยศรี งานบุญเผวดบ้านสาวะถี และ
ประดับในงานร่วมสมัย ธงหรือ“ กุ้ง” ในภาษาอีสานเป็นส่ิงทอท่ีขาดไม่ได้ในงานบุญในภาคอีสานผู้
ศรัทธาล้วนเปรมปรดี ิ์ตกแต่งหมู่บ้านและวดั วาอารามด้วยศรัทธาดว้ ยธงหลากหลายสีลักษณะและสอ่ื
ความหมายเชงิ สัญลกั ษณ์ในพทุ ธศาสนาที่สืบทอดเรอ่ื งราวและความเช่ือมาหลายศตวรรษดังน้นั การท่ี

-6-

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ดร. ประทบั ใจสุวรรณธาดาได้ใชอ้ ุตสาหะและวริ ยิ ะในการทาวิจัยจนสามารถนามา
จัดพิมพ์เป็นหนงั สือเรือ่ ง“ ธงุ อสี าน” ได้อยา่ งละเอียดลออในหลากหลายมิติของการใช้ถงุ ไม่ว่าจะเป็น
ด้านศรัทธาความเชื่อฝีมือภมู ิปัญญาสญั ลักษณศ์ ิลปกรรม ฯลฯ และท่สี าคญั มากคอื ขอ้ มูลด้านลักษณะ
วสั ดุเทคนิควธิ ีการทอแหลง่ ผลิตและการรังสรรค์ลวดลายของผู้ทอเหล่านน้ี ับเป็นทรพั ย์สินทางปัญญา
ของผทู้ อเปน็ ส่ิงบ่งช้ที างภูมิศาสตรแ์ ละเปน็ ทุนทางวฒั นธรรมของภมู ิภาคอีสานโดยตรงซ่งึ ผู้สร้างสรรค์
ผลงานเหล่านต้ี า่ งกอปรด้วยทกั ษะและองคค์ วามรู้ แต่ลว้ นสงู วัยหากข้อมลู เหล่าน้ไี ม่ไดร้ บั การบันทกึ ไว้
ก็อาจสูญหายไปได้โดยง่ายตัวยธุงส่วนใหญ่เป็นผลงานใช้เฉพาะช่ัวคราวและมีอายุการใช้ งานผลงาน
ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร ประทบั ใจสุวรรณธาดาจึงนบั ได้ว่ามีคุณค่าอยา่ งยงิ่ และมิมผี ู้ใดเคยรวบรวม
ไว้โดยครบถ้วนมาก่อนเพื่อสืบทอดและสืบสานการใช้ถุงจากรากฐานการนามาใช้ในทางศาสนาผู้ชว่ ย
ศาสตราจารย์ดร. ประทับใจสุวรรณธาดายังได้เสนอแนะแนวทางการออกแบบและพฒั นาธุงอีสานไว้
อีกด้วยหนังสือเล่มน้ีจึงนับได้ว่ามีประโยชน์ท้ังในเชิงวิชาการและต่อวงการศิลป์ประยุกต์อย่างน่ายก
ย่อง

ผ้าขาวมา้ คือ ผ้าสารพดั ประโยชน์ที่คนไทยใช้มาแต่โบราณ ส่วนใหญผ่ ใู้ ช้จะเป็นเพศชาย
สามารถใชน้ ุ่งอาบนา้ เชด็ ตัว คลุมหัวกนั แดด หรือทาเปลกไ็ ด้ บ้างก็เรียกว่า "ผ้าเคียนเอว ผ้าขาวม้ามี
ลักษณะเปน็ ผ้ารปู สีเ่ หลีย่ มผนื ผ้า ความกวา้ งประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก เป็นผ้าสาหรบั
ผูช้ ายใช้นงุ่ แบบลาลอง ความกวา้ งจึงเทา่ กับระยะจากเอวถงึ กลางหน้าแขง้ ความยาวเท่ากบั ระยะพัน
รอบตัวแล้วเหลอื เศษอีกเลก็ นอ้ ย โดยมากทอเปน็ ลายตารางเล็กๆ นิยมใช้ดา้ ยหลายสี อย่างไรกต็ าม ผ้า
สเี ดียว ที่มีขนาดเทา่ กบั ผ้าขาวม้าลายตารางหมากรกุ แบบนี้ หากนามาใช้นุ่งสาหรับผชู้ าย กน็ ิยมเรยี ก
ผา้ ขาวมา้ เช่นกนั ผ้าขาวม้าในประเทศไทยมีชอื่ เรียกแตกต่างกัน ขนึ้ อย่กู บั ทอ้ งถิน่ ซึ่งคาว่าผ้าขาวมา้
เป็นภาษาทางภาคกลาง ส่วนในภาคอีสานบางแหง่ เรียกว่าผ้าแพร ซงึ่ มักจะไดจ้ ากการทอด้วยเครอ่ื ง
ทอผา้ ทเ่ี รยี กว่า ก่ี และจะทอเป็นขนาดยาวประมาณ 20-30 เมตร ตอ่ การทอแต่ละครัง้ แลว้ จึงตัดแบง่
ออกเป็นผืน ผนื ละ 1 วา หรอื ประมาณ 1 เมตรคร่ึง ดังนน้ั บางท้องถน่ิ จึงเรียกว่าผา้ แพรวา เรียกตาม
ความยาวของละผืน

ความพึงพอใจในดา้ นผลิตภณั ฑ์ หมายถึง การดาเนนิ งานท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพเป็นไปตาม
ขอ้ กาหนดทีต่ อ้ งการ โดยสนิ คา้ นน้ั สร้างความพึงพอใจให้แก่ผ้บู รโิ ภค

ความพงึ พอใจในด้านราคา หมายถงึ ความรสู้ ึกชอบหรือความพึงพอใจที่มีต่อราคาของ
ผลติ ภัณฑ์ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า

ความพึงพอใจด้านตราสินค้า หมายถงึ ประโยชน์ คณุ สมบัตแิ ละเอกลักษณ์เฉพาะที่ดีเด่นของ
ตราสนิ ค้า ท่ีผู้ใช้บรกิ ารได้ตระหนกั ไดแ้ ก่ คุณภาพท่ีไดร้ ับ และการเช่อื มโยงกับตราสินค้า

ความพึงพอใจในดา้ นประโยชนแ์ ละเชิงพาณิชย์ หมายถึง แนวโนม้ ด้านการผลติ ธงุ ศรอี สี าน
จากผา้ ขาวม้าให้เปน็ สินค้าทส่ี ามารถขายไดแ้ ละเป็นท่ีรจู ักของประชาชนท่ัวไปท้ังนอกพ้นื ทีแ่ ละใน
พน้ื ท่ี

บทท่ี 2

หลักการและทฤษฎีทเี่ กย่ี วข้อง

ในการประเมินคร้ังนี้คณะผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารทฤษฎี แนวคิดที่เกี่ยวข้องความพึงพอใจ
ตา่ งๆ โดยเสนอเอกสารสาคัญเปน็ หัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้
2.1 ความหมายของธงุ
2.2 ความหมายของผ้าขาวมา้
2.3 ความหมายของความพึงพอใจ
2.4 แนวคิดเกย่ี วกับความพงึ พอใจ

2.4.1 ความพงึ พอใจในผลิตภณั ฑ์
2.4.2 ปัจจยั ที่ทาให้ลูกค้าเกิดความพงึ พอใจ
2.4.3 ผลิตภัณฑใ์ นการนาเสนอด้านบรกิ าร
2.4.4 ความพึงพอใจดา้ นราคา
2.5 งานวิจยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
- การสรา้ งมลู ค่าเพ่มิ ใหก้ ับวัสดทุ ้องถ่นิ สู่ผลิตภณั ฑใ์ หม่ท่ีเปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม
กรณศี กึ ษา: ผลิตภัณฑ์ตกแตง่ บา้ นจากผ้าขาวมา้

2.1 ความหมายของธงุ

ธงุ ใยแมงมมุ เป็นสื่อสัญลักษณ์ความเชื่อเรื่องโชคลางของชาวอีสาน โดยเช่อื กันว่าสามารถใช้
ปอ้ งกนั สง่ิ ร้ายๆ หรือส่งิ ไม่ดที ี่มองไมเ่ หน็ อย่างเชน่ ภตู ผวี ญิ ญาณต่างๆ ที่จะมารบกวนงานบุญนั่นเอง
ธุงทามาจากเส้นด้ายที่ได้มาจากฝ้าย หรือเส้นไหม ผูกโยงกันคล้ายใยแมงมุม นิยมใช้แขวนตกแต่ง
บริเวณหน้าพระประธาน หรือโดยรอบพ้ืนท่ีจัดงานพิธีกรรม เพราะฉะน้ันไม่ต้องแปลกใจหากไป
รว่ มงานเทศกาลต่างๆ ของภาคอสี าน ทกุ คนจะได้เห็นเจ้าธุงใยแมงมุมประดับตกแต่งอยู่ท่วั งาน

2.2 ความหมายของผา้ ขาวมา้

ผ้าขาวม้า เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่คนไทยใช้มาแต่โบราณ ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะเป็นเพศชาย
สามารถใชน้ ุ่งอาบนา้ เชด็ ตัว คลุมหวั กนั แดด หรือทาเปลกไ็ ด้ บา้ งกเ็ รยี กวา่ "ผา้ เคยี นเอว"

-8-

ผา้ ขาวมา้ มีลกั ษณะเปน็ ผ้ารูปสี่เหลีย่ มผนื ผ้า ความกวา้ งประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก เป็น
ผา้ สาหรับผู้ชายใช้นุง่ แบบลาลอง ความกว้างจึงเท่ากับระยะจากเอวถงึ กลางหนา้ แข้ง ความยาวเท่ากับ
ระยะพนั รอบตัวแลว้ เหลือเศษอกี เลก็ นอ้ ย โดยมากทอเปน็ ลายตารางเลก็ ๆ นยิ มใชด้ ้ายหลายสี อย่างไร
กต็ าม ผา้ สีเดียว ทีม่ ีขนาดเท่ากบั ผา้ ขาวม้าลายตารางหมากรุกแบบนี้ หากนามาใชน้ ่งุ สาหรบั ผชู้ าย ก็
นยิ มเรยี กผา้ ขาวม้าเช่นกัน ผ้าขาวม้าในประเทศไทยมชี ่อื เรียกแตกต่างกนั ขน้ึ อยู่กบั ทอ้ งถนิ่ ซึง่ คาวา่
ผ้าขาวมา้ เปน็ ภาษาทางภาคกลาง สว่ นในภาคอีสานบางแหง่ เรยี กวา่ ผา้ แพร ซง่ึ มกั จะไดจ้ ากการทอ
ด้วยเครื่องทอผา้ ทเี่ รียกว่า กี่ และจะทอเปน็ ขนาดยาวประมาณ 20-30 เมตร ต่อการทอแต่ละคร้งั แลว้
จงึ ตัดแบ่งออกเป็นผืน ผนื ละ 1 วา หรือ ประมาณ 1 เมตรคร่งึ ดังนน้ั บางท้องถ่นิ จงึ เรยี กว่าผ้าแพรวา
เรียกตามความยาวของผ้าแตล่ ะผนื สแี ละลวดลายของผ้าขาวม้าจะแตกตา่ งกนั ไปตามความนิยมของ
ท้องถน่ิ โดยทางภาคกลาง ผ้าขาวม้าจะมลี วดลายเป็นตาลายสก็อต และของภาคอสี านจะเปน็ แบบตา
เลก็

2.3 ความหมายของความพงึ พอใจ

ความพงึ พอใจ (Satisfaction) ไดม้ ีผใู้ ห้ความหมายของความพงึ พอใจไวห้ ลายความหมาย
ดังนี้

พจนานุกรมฉบับราชบณั ฑิตสถาน (2542) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้วา่ พึงพอใจ
หมายถงึ รกั ชอบใจ และพึงใจ หมายถึง พอใจ ชอบใจ

ดิเรก (2528) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถงึ ทัศนคตทิ างบวกของบุคคลทีม่ ีต่อสิ่งใดส่ิงหนึง่
เปน็ ความรู้สกึ หรือทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ งานที่ทาของบุคคลท่ีมีต่องานในทางบวก ความสขุ ของบคุ คลอันเกดิ
จากการปฏิบัตงิ านและไดร้ ับผลเปน็ ทีพ่ ึงพอใจ ทาใหบ้ ุคคลเกดิ ความกระตอื รอื รน้ มคี วามสุข ความ
มงุ่ มนั่ ท่จี ะทางาน มีขวญั และมกี าลงั ใจ มีความผูกพันกับหนว่ ยงาน มคี วามภาคภูมใิ จในความสาเรจ็
ของงานท่ีทา และสิง่ เหลา่ น้ีจะส่งผลต่อประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลในการทางานส่งผลตอ่ ถึง
ความก้าวหนา้ และความสาเรจ็ ขององค์การอกี ด้วย

วิรุฬ (2542) กลา่ วว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สกึ ภายในจิตใจของมนุษยท์ ีไ่ ม่เหมือนกัน
ขน้ึ อยกู่ ับแตล่ ะบคุ คลวา่ จะมคี วามคาดหมายกับส่ิงหน่งึ สง่ิ ใดอยา่ งไร ถา้ คาดหวงั หรอื มีความตง้ั ใจมาก
และได้รับการตอบสนองดว้ ยดีจะมีความพึงพอใจมากแต่ในทางตรงกันขา้ มอาจผิดหวงั หรอื ไมพ่ งึ พอใจ
เป็นอย่างยิ่ง เม่ือไม่ไดร้ บั การตอบสนองตามทีค่ าดหวังไว้ท้ังน้ีข้นึ อย่กู บั สิ่งที่ตงั้ ใจไวว้ ่าจะมีมากหรือนอ้ ย
สอดคลอ้ งกบั ฉัตรชยั (2535) กล่าววา่ ความพงึ พอใจหมายถึงความร้สู ึกหรอื ทัศนคติของบุคคลที่มีตอ่
สง่ิ หนึ่งหรือปัจจัยตา่ งๆทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ความรู้สึกพอใจจะเกดิ ขนึ้ เม่ือความต้องการของบคุ คลไดร้ ับการ
ตอบสนองหรือบรรลุจดุ มงุ่ หมายในระดับหนง่ึ ความร้สู ึกดังกล่าวจะลดลงหรอื ไมเ่ กดิ ขึน้ หากความ
ต้องการหรอื จดุ มงุ่ หมายน้นั ไมไ่ ด้รับการตอบสนอง

-9-

กติ ตมิ า (2529) กล่าวว่า ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สึกชอบหรือพอใจทม่ี ตี ่อองค์ประกอบและ
สงิ่ จูงใจในดา้ นต่างๆเมื่อไดร้ ับการตอบสนอง
กาญจนา (2546) กล่าววา่ ความพงึ พอใจของมนษุ ยเ์ ป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมท่เี ปน็ นามธรรม
ไม่สามารถมองเหน็ เป็นรปู ร่างได้ การท่ีเราจะทราบวา่ บคุ คลมีความพึงพอใจหรือไม่ สามารถสงั เกตโดย
การแสดงออกทคี่ ่อนข้างสลับซับซอ้ นและตอ้ งมสี งิ่ เร้าทต่ี รงต่อความตอ้ งการของบคุ คล จงึ จะทาให้
บุคคลเกิดความพงึ พอใจ ดังน้ันการสิ่งเรา้ จึงเปน็ แรงจงู ใจของบุคคลนัน้ ให้เกดิ ความพึงพอใจในงานนน้ั
นภารตั น์ (2544) กล่าวว่า ความพึงพอใจเปน็ ความรสู้ ึกทางบวกความรู้สกึ ทางลบและความสขุ ท่ีมี
ความสัมพันธก์ ันอยา่ งซับซ้อน โดยความพงึ พอใจจะเกิดขึ้นเมื่อความรสู้ ึกทางบวกมากกวา่ ทางลบ
เทพพนม และสวงิ (2540) กล่าววา่ ความพงึ พอใจเปน็ ภาวะของความพงึ ใจหรอื ภาวะท่ีมอี ารมณ์ใน
ทางบวกท่ีเกิดข้นึ เน่อื งจากการประเมินประสบการณข์ องคนๆหนง่ึ สิง่ ทข่ี าดหายไประหวา่ งการเสนอ
ให้กบั สิ่งท่ีได้รับจะเปน็ รากฐานของการพอใจและไม่พอใจได้
สง่า (2540) กล่าวว่า ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรู้สกึ ท่เี กิดขึน้ เมอ่ื ไดร้ ับผลสาเรจ็ ตามความม่งุ หมาย
หรือเปน็ ความรู้สึกข้นั สดุ ท้ายท่ไี ด้รบั ผลสาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์
จากการตรวจเอกสารข้างตน้ สรปุ ไดว้ า่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู้ กึ ท่ีดหี รือทัศนคตทิ ่ีดีของ
บคุ คล ซึง่ มักเกดิ จากการไดร้ บั การตอบสนองตามทต่ี นตอ้ งการ ก็จะเกดิ ความรู้สึกทีด่ ตี อ่ ส่ิงน้นั ตรงกัน
ขา้ มหากความต้องการของตนไม่ได้รบั การตอบสนองความไมพ่ งึ พอใจก็จะเกิดขึน้

- 10 -

2.4 แนวคดิ เกย่ี วกบั ความพึงพอใจ

2.4.1 ความพึงพอใจในด้านผลิตภณั ฑ์
ความพงึ พอใจของผ้สู อบแบบสอบถามทีม่ ีตอ่ ผลิตภัณฑผ์ ู้ตอบแทนแบบสอถามเปน็ บุคคลทีใ่ ช้
ผลติ ภัณฑ์ทาใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถามสามารถร้คู วามเรง่ รบี ในการใชช้ วี ิตประจาวนั ของบคุ คลโดยทว่ั ไป
มีบทบาทกับการใช้ชีวิตประจาวนั โดยทัว่ ไปมีบทบาทกับการใช้ชวี ติ ประจาวันโดยเน้นความสาคญั ใน
ด้านน้ี
ความพงึ พอใจของลกุ คา้ เกดิ จากการไดร้ บั ผลิตภัณฑท์ ่ีมีคณุ ค่าสงู กวา่ ต้นทนุ ท่เี ขาต้องการใจ
ไปยง่ิ ข้นึ กับเครือ่ งมือการตลาดและกจิ กรรมการตลาดอื่นๆอกี ด้วยการพัฒนาผลิตภณั ฑเ์ ปน็ การพฒั นา
ปรบั ปรงุ หรือเปลยี่ นแปลงผลติ ภณั ฑ์ใหต้ รงตามความตอ้ งการของผบู้ ริโภคโดยรูปแบบการพฒั นาอาจ
เปน็ ด้านบรรจภุ ัณฑ์หรือผลติ ภณั ฑ์กไ็ ดส้ รา้ งแนวคิดเปน็ ขั้นตอนเรม่ิ ตน้ ท่ีสาคญั มีผลต่อความสาเรจ็ ใน
การพฒั นาผลิตภัณฑโ์ ดยอาศยั การเข้าถึงความต้องการหรอื ความพงึ พอใจของผบู้ รโิ ภคท่มี ีต่อ
ผลิตภัณฑอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ การคน้ หาความต้องการของผู้บริโภคต้องอาศยั เทคนิคต่างๆการเลอื กใชเ้ ทคนิค
ขนึ้ อย่กู ับการพจิ ารณาความเหมาะสม

2.4.2 ปัจจัยทาให้ลูกค้าเกิดความพอใจ
ปจั จัยทีม่ ีผลต่อความพงึ พอใจของผ้รู ับบริการเป็นสง่ิ ทผ่ี ู้รบั บริการแสดงออกในทางบวกหรือ
ทางลบตอ่ สงิ่ ทีไ่ ดร้ บั จากการบรกิ ารและการนาเสนอการบรกิ ารโดยเปรียบเทยี บกับสิ่งทีค่ าดหวงั ไวซ้ ้ือ
สามารถเปลย่ี นแปลงไปตามปัจจัยแวดล้อมสถานการณท์ ี่เกดิ ขึ้นในระหวา่ งบรกิ าร
2.4.3 ผลิตภัณฑท์ ี่มีการนาเสนอด้านบรกิ าร
ผลติ ภัณฑใ์ นการนาเสนอดา้ นบริการจะต้องมีผลิตภัณฑบ์ รกิ ารท่ีมีคุณภาพและไดร้ บั การ
ใหบ้ ริการทตี่ รงกบั ความต้องการของผรู้ ับบรกิ ารโดยใหผ้ ู้รับบรกิ ารจะตอ้ งแสดงถงึ ความเอาใจใสแ่ ละ
จรงิ ใจตอ่ การส่งเสรมิ คุณภาพของผลิตภณั ฑบ์ รกิ ารจะส่งมอบให้แกผ่ ู้รบั บริการ
2.4.4 ความพึงพอในดา้ นราคา
ความพงึ พอใจในดา้ นราคาเกิดจากการประเมินคุณภาพและรูปแบบของการบรกิ ารเทียบกบั
คา่ บรกิ ารทจี่ ะต้องจา่ ยออกไปโดยใหผ้ ู้บริการจะต้องกาหนดราคาบริการท่เี หมาะสมกับคณุ ภาพของ
การบรกิ ารและเป็นไปตามความเตม็ ใจทีจ่ ะจา่ ยของผรู้ บั บรกิ ารคา่ บริการจะถูกหรือแพงขึ้นอยกู่ ับ
ความสามารถในการจา่ ยและเจตคตติ ่อราคาของกลุ่มผูบ้ รกิ ารอกี ดว้ ย

- 11 -

2.5 งานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง

ผ้ า เ ป็ น น วั ต ก ร ร ม ใ น วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ เ ก่ า แ ก่ แ ล ะ ถู ก น า ม า ใ ช้ อ ย่ า ง ห ล า ก ห ล า ย
นอกเหนือจากการเป็นเครื่องนุ่งห่มซึง่ เป็นประโยชน์อันดับแรก แต่ผู้ใดจะคิดว่า“ ธง” เป็นการนาผ้า
มาใช้อย่างสาคัญยิ่งในสังคมมนุษย์ธงเป็นเครื่องบอกสัญลักษณ์การเป็นหนึ่งเดียวของความเป็นชาติ
และการเป็นหมู่เหล่าที่มิอาจเหยยี บย่าได้ในศึกสงครามธงซง่ึ ทาข้ึนจากผ้าอ่อนบางและพลิ้วไหวได้ถกู
นาใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื สาคญั ดัง่ อาวธุ ท่ีแหลมคมและมสี ่วนชว่ ยยกระดับจิตใจให้สึกเหิมในทางตรงข้ามกัน
ด้ายเส้นเล็กบ้างก็ถูกย้อมสีได้ถูกถักทอและตัดเย็บเป็นผืนมีลวดลายหรือบ้างก็ถูกเขียนเป็นภาพกลับ
ถูกนามาใช้เพือ่ สันตสิ ขุ และสงบเมื่อผ้าผืนน้ันไดก้ ลายมาเปน็ ธงในศาสนา

ธงหรือ“ กุ้ง” ในภาษาอีสานเป็นสิ่งทอที่ขาดไม่ได้ในงานบุญในภาคอีสานผู้ศรัทธาล้วนเปรม
ปรีด์ิตกแต่งหมู่บ้านและวัดวาอารามด้วยศรัทธาด้วยธงหลากหลายสีลักษณะและสื่อความหมายเชิง
สัญลักษณ์ในพุทธศาสนาที่สืบทอดเร่ืองราวและความเชื่อมาหลายศตวรรษดังน้ันการที่ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ดร. ประทับใจสุวรรณธาดาได้ใช้อุตสาหะและวิริยะในการทาวิจัยจนสามารถนามา
จัดพมิ พเ์ ปน็ หนงั สือเร่ือง“ ธงุ อสี าน” ได้อย่างละเอยี ดลออในหลากหลายมิตขิ องการใช้ถุงไมว่ ่าจะเป็น
ด้านศรัทธาความเชื่อฝมี อื ภูมิปญั ญาสญั ลกั ษณศ์ ิลปกรรม ฯลฯ และที่สาคัญมากคือขอ้ มูลด้านลักษณะ
วัสดเุ ทคนิควิธีการทอแหล่งผลิตและการรงั สรรค์ลวดลายของผู้ทอเหล่าน้ีนับเปน็ ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา
ของผทู้ อเป็นสิ่งบง่ ชี้ทางภมู ศิ าสตร์และเปน็ ทนุ ทางวฒั นธรรมของภูมภิ าคอีสานโดยตรงซง่ึ ผู้สรา้ งสรรค์
ผลงานเหล่านี้ตา่ งกอปรด้วยทักษะและองค์ความรู้ แต่ล้วนสูงวัยหากข้อมูลเหลา่ นไ้ี ม่ไดร้ ับการบันทึกไว้
ก็อาจสูญหายไปได้โดยง่ายตัวยธุงส่วนใหญ่เป็นผลงานใช้เฉพาะช่ัวคราวและมีอายุการใช้งานผลงาน
ของผ้ชู ่วยศาสตราจารยด์ ร. ประทบั ใจสุวรรณธาดาจึงนับไดว้ ่ามีคณุ คา่ อย่างยงิ่ และมิมีผู้ใดเคยรวบรวม
ไวโ้ ดยครบถ้วนมาก่อน

เพื่อสืบทอดและสืบสานการใช้ถุงจากรากฐานการนามาใช้ในทางศาสนาผู้ช่วยศาสตราจารย์
ดร. ประทับใจสุวรรณธาดายงั ได้เสนอแนะแนวทางการออกแบบและพัฒนาธงุ อีสานไว้อีกด้วยหนังสือ
เล่มนีจ้ ึงนบั ไดว้ า่ มปี ระโยชน์ท้งั ในเชงิ วชิ าการและตอ่ วงการศิลปประยกุ ต์อย่างนา่ ยกยอ่ ง

ธงุ อีสานนยิ มทอเป็นผนื ยาว ๆ มรี ปู สัตว์หรอื รปู ภาพต่างๆตามความเช่ือบนผนื ธงนอกจากน้ัน
ยงั มกี ารดัดแปลงวสั ดอุ ่ืน ๆ มาทาเปน็ ธงุ ด้วยเช่นไมไ้ ผ่เสน้ พลาสติกริบบนกก / ไหลตกแต่งใหส้ วยงาม
ด้วยลูกปัดดอกไม้พลาสติกและอ่ืน ๆ ขนาดไม่ จากัด มีท้ังขนาดเล็กกลางใหญ่การผลิตธงอีสาน
โดยท่วั ไปมักผสมผสานระหว่างหลักในความเชือ่ และหลักทางสุนทรียศาสตร์โดยหลักความเช่ือเล่ากัน
ว่าถุงเป็นหนึ่งในการทาบุญจนบางคนบอกว่าถวายอะไรก็ไม่ได้บุญเท่ากับถวายถุงให้วัดดังน้ันจึงมัก
เห็นถุงมากมายภายในวัดตามตานานความเช่ือเรื่องถงุ และการใช้ถงุ เกิดข้ึนมาตัง้ แต่สมัยครัง้ พุทธกาล
ในตอนแห่พระเวสสันดรเข้าเมืองประชาชนชาวเมืองที่มาต้อนรับได้ใช้ผ้าผืนยาวแขวนบนปลายไมไ้ ผ่
ปลอ่ ยชายพลว้ิ ไหวตามเส้นทางเสด็จของพระเวสสันดรซงึ่ ในปัจจุบันได้มีการสืบตอ่ มาใช้ในงานบุญผะ
เหวดรวมท้ังบางคร้ังยังถูกนาไปใช้กับงานบุญอื่น ๆ ด้วยเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการจัดงานบุญ
นอกจากน้ันยังเกิดถุงตามความเชื่ออีกหลากหลายรูปแบบเช่นมีการเพ่ิมเติมภาพตามความเช่ือลาย

- 12 -

ตามความเช่ือเพื่อใหค้ รบถว้ นตามประเพณีท่สี ืบต่อกนั มาส่วนหลักทางสุนทรียศาสตร์ถอื เปน็ ธรรมชาติ
ของมนุษย์ที่ให้ความสาคัญทางด้านความงามโนสิ่งที่ตนเองผลิตหรือสร้างสรรค์โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ความงามท่ีเกิดจากความศรัทธาจึงส่งผลให้ธุงในภาคอีสานมคี วามงามท่ีหลากหลายซึง่ มักเป็นไปตาม
ความนิยมเฉพาะถิ่น

ผลวิจัยพบว่ามีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้าในระดับมากโดยด้าน
รูปแบบของธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้ามีความสวยงาม และหลากหลาย วัสดุสามารถหาได้ง่ายตาม
ทอ้ งถน่ิ
(ท่ีมา : https://issuu.com/ubulocalinformation/docs/tung-esan-2561 )

บทท่ี 3

วิธีการดาเนนิ การจัดทาโครงการ

การประเมินครั้งน้เี พื่อศึกษาความพึงพอใจในสินคา้ ของผู้ซ้อื และผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อ
ผลติ ภัณฑธ์ ุงศรีอสี านจากผ้าขาวมา้ ในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญ
ศลิ ป์ จังหวัดสกลนคร ได้ดาเนินการตามลาดับข้นั ตอน ดังน้ี

3.1 ประชาชน
3.2 เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการประเมิน
3.3 การสร้างและหาคุณภาพเคร่อื งมอื
3.4 การเก็บรวมรวบขอ้ มลู
3.5 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล
3.6 สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์
3.7 คานวณหาต้นทุนสนิ คา้ และหาจดุ คมุ้ ทุน

3.1 ประชากร

3.1.1 ประชากรที่ใช้ในการประเมนิ ครง้ั นี้ ไดแ้ ก่ ประชาชนในเขตพนื้ ทบี่ ้านโพนใหม่ หมู่ 11
ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจรญิ ศลิ ป์ จังหวัดสกลนคร จานวน 400 คน ชาย 180 คน หญิง 220 คน
(ที่มา : นายประภาษ ปะโกทะสังค์ ผู้ใหญ่บ้าน บา้ นโพนใหม่ หมู่ที่ 11 สืบคน้ ณ วนั ที่ 9 มกราคม
2564)

3.1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง คอื ผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน 50 คน แบ่งเปน็ ผชู้ ายจานวน 3 คน
และผู้หญงิ 47 จานวน คน โดยกาหนดกลมุ่ ตัวอย่างแบบไม่เจาะจงจานวนคน

- 14 -

3.2 เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ในการจดั ทาโครงการ

เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู ในครัง้ นเ้ี ป็นแบบสอบถามทีผ่ ู้ประเมินได้สรา้ งขึน้ จาก
การศกึ ษา เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วขอ้ ง ซ่งึ มลี กั ษณะเปน็ คาถามแบบปลายปดิ และปลายเปิดแบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

สว่ นท่ี 1 แบบสอบถามท่ีเกีย่ วกับสถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกับความพึงพอใจของประชากรผตู้ อบแบบสอบถามซง่ึ มี
ลักษณะแบบมาตรฐานส่วนประมาณค่า 5 ระดับตามวธิ ีของ (ลเิ คริ ์ทสเคส) โดยคา่ เฉล่ยี ระดบั มี
ความหมายดังน้ี

ระดับความพงึ พอใจ คา่ นา้ หนักคะแนนของตัวเลอื กตอบ

นอ้ ยทสี่ ุด กาหนดใหม้ ีค่าเทา่ กบั 1 คะแนน

นอ้ ย กาหนดให้มคี า่ เท่ากบั 2 คะแนน

ปานกลาง กาหนดใหม้ คี ่าเทา่ กบั 3 คะแนน

มาก กาหนดใหม้ ีคา่ เทา่ กับ 4 คะแนน

มากที่สดุ กาหนดให้มีคา่ เท่ากับ 5 คะแนน

เกณฑ์การแปลความหมายท่จี ดั คะแนนเฉลีย่ คา่ ความพึงพอใจ กาหนดเปน็ ชว่ งคะแนนดังต่อไปน้ี

คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจนอ้ ยท่สี ดุ
คะแนนเฉล่ีย 1.50 – 2.49 หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจ
คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลย่ี 3.50 – 4.49 หมายถึงมีความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉลย่ี 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทสี่ ุด
ส่วนท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเกยี่ วกบั ข้อเสนอแนะ ของประชากรทม่ี ีผลตอ่ ผลิตภัณฑธ์ งุ ศรี
อีสานจากผ้าขาวมา้ ในเขตพ้ืนทช่ี มุ ชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจรญิ ศิลป์ จงั หวัด
สกลนคร ลกั ษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปดิ

- 15 -

3.3 การสรา้ งและหาคุณภาพเครอ่ื ง

การสรา้ งเคร่อื งมอื นกั เรียนได้มีขนั้ ตอนในการสรา้ งเคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู ใน
การวิจยั ดังนี้

3.3.1 ศกึ ษาแนวคิดทฤษฎีต่างๆ จากเอกสารที่เก่ียวกบั ความพงึ พอใจ
3.3.2 ผู้จัดทาสร้างแบบสอบถามโดยวเิ คราะห์จากนยิ ามศพั ท์เฉพาะท่ผี ู้จดั ทาตง้ั ข้ึน
3.3.2 จัดพมิ พแ์ บบสอบถามเพอ่ื นาไปเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างเพ่อื การทาโครงการต่อไป

3.4 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผศู้ กึ ษาไดด้ าเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยไดด้ าเนินการเป็น 4 ข้นั ตอน ดงั นี้
3.4.1 ผศู้ ึกษาได้ติดตอ่ เพ่อื นกลุม่ เดียวกนั ท่สี นใจจะเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู แบบสอบถาม
3.4.2 ผู้ศกึ ษาไดท้ าการประชุมเพอ่ื ทาความเขา้ ใจกบั เพือ่ นท่เี ปน็ ทมี เกบ็ ขอ้ มูลท่จี ะแจก
แบบสอบถาม เพื่อใหม้ ีความเขา้ ใจตรงกนั ในเรอื่ งของพน้ื ทใี่ นการแจกแบบสอบถาม
3.4.3 ผศู้ ึกษาไดท้ าการแบง่ หนา้ ที่ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 2 คน และเก็บแบบสอบถาม 3
คนในเขตวทิ ยาลยั เทคนคิ สว่างแดนดิน 784 หมู่ท่ี 11 ตาบลสว่างแดนดิน อาเภอสว่างแดนดิน จงั หวัด
สกลนคร โดยใชร้ ะยะในการเก็บขอ้ มลู 1 วนั
3.4.4 นาแบบสอบถามท่ีไดม้ าทาการตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบรู ณข์ องแบบสอบถามและ
นาไปวิเคราะหข์ อ้ มลู ทางสถิตดิ ว้ ยเคร่ืองคอมพิวเตอร์ตอ่ ไป

3.5 การวิเคราะหข์ ้อมลู

ผจู้ ดั ทานาแบบสอบถามทไ่ี ด้มาวิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอรส์ าเร็จรปู โดยมี
ข้ันตอนการวิเคราะหข์ อ้ มูล ดงั นี้

3.5.1 วิเคราะห์ขอ้ มลู ทว่ั ไปเพศ อายุระดบั การศึกษาของผตู้ อบแบบสอบถามโดยใช้การแจก
แจงความถี่ (Frequency) และรอ้ ยละ (percentage)

3.5.2 วเิ คราะหร์ ะดับความพึงพอใจในสนิ คา้ ของผู้ซอื้ ผลติ ภณั ฑแ์ ละตอบแบบสอบถามโดยหา
คา่ เฉลยี่ (Mean :) และส่วนท่ีเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.)
แล้วนาไปเปรียบเทยี บกับเกณฑ์แปลความหมาย โดยกาหนดน้าหนักของค่าเฉล่ยี 5 ระดับตามวิธขี อง
ลิเคิร์ทสเคล ดงั นี้

- 16 -

คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึงมคี วามพึงพอใจน้อยที่สุด
คะแนนเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถงึ มีความพงึ พอใจ
คะแนนเฉลย่ี 2.50 – 3.49 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถงึ มีความพึงพอใจมาก
คะแนนเฉล่ยี 4.50 – 5.00 หมายถงึ มีความพงึ พอใจมากทีส่ ุด
3.5.3 วเิ คราะหเ์ กย่ี วกบั ข้อเสนอแนะแนวทางเก่ียวกบั สินค้าและการดาเนนิ งานโดยวเิ คราะห์
ความถีแ่ ละเชงิ พรรณนา

3.6 สถิติทใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู

สถิตพิ นื้ ฐาน ได้แก่
3.6.1 ความถ่ี (Frequency)
3.6.2 ค่ารอ้ ยละ (Percentage)
3.6.3 คา่ เฉล่ยี (Mean :)
3.6.4 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)

- 17 -

3.7 คานวณหาต้นทุนสนิ คา้ และหาจุดคุ้มทุน

3.7.1 ต้นทนุ การผลติ
ธงุ ศรอี สี านจากผ้าขาวม้า มตี ้นทุนการผลติ ดงั น้ี

ลาดับท่ี รายการ จานวนนบั ราคาตอ่ หน่วย ราคารวม
(บาท) (บาท)

1. ผา้ ขาวมา้ ผืน 60 960
60
2. ไม้ไผ่ แพ็ค 15 50
540
3. ด้ายไหม มว้ น 25 80
20
4. กระติบข้าว กล่อง 15 30
1,740
5. เชอื กปา่ น ม้วน 20

6. กาวแทง่ แพ็ค 10

7. ลกู ปัด แพค็ 15

รวม
ตัวอักษร(หนง่ึ พันเจ็ดรอ้ ยสี่สิบบาทถว้ น)

ตารางท่ี 3 แสดงตน้ ทนุ ผลิตภณั ฑ์

3.7.2 จุดคมุ้ ทุน

ตน้ ทนุ 1,740 บาท 1,740÷4 =ชน้ิ = 435 บาท
ค่าแรง 25 % 435÷ 25 % = 108.75 บาท
กาไร 25 % 435÷ 25 % = 108.75 บาท
ราคาขาย = 652.5 บาท
ส่วนตา่ ง = 46.5 บาท
ราคาขายจริง = 699 บาท

- 18 -

3.7.3 จุดคมุ้ ทุน

จานวน ต้นทนุ ต่อหน่วย คา่ แรง 25 % กาไร 25 % สว่ นตา่ ง ราคาขาย
(บาท) (บาท)
(ชนิ้ ) (บาท) (บาท) (บาท) 46.5 699
93 1,398
1 435 108.75 108.75 139.5 2,097
186 2,796
2 870 217.50 217.50

3 1,350 326.25 326.25

4 1,740 435 435

ตารางที่ 4 แสดงจดุ คมุ้ ทุน
หมายเหตุ :
จดุ คมุ้ ทนุ ต้องขายผลิตภัณฑ์ใหไ้ ดจ้ านวน 3 ชิ้น ถึงจะคมุ้ ทนุ

บทที่ 4

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

การวิเคราะห์และการนาเสนอผลของการศกึ ษาความพึงพอใจในสนิ คา้ ของผ้ซู ้อื สนิ คา้ และ
ผู้ตอบแบบสอบถาม ทมี่ ีต่อผลิตภัณฑธ์ งุ ศรีอสี านจากผา้ ขาวม้า ในเขตชุมชนบา้ นโพนใหม่ หมู่11 ตาบล
บา้ นเหล่า อาเภอเจรญิ ศลิ ป์ จังหวัดสกลนคร นาเสนอในรปู แบบตารางประกอบคาบรรยาย โดยแบ่ง
การนาเสนอดังนี้

4.1 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเก่ียวกับสถานภาพสว่ นบคุ คลของผู้ตอบแบบสอบถาม
4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของประชากรท่ีมีผลต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรี
อีสานจากผ้าขาวม้า ในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัด
สกลนคร
4.3 ผลการวิเคราะห์เน้ือหาจากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อเสนอแนะของผู้ตอบ
แบบสอบถาม

4.1 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เกี่ยวกบั สถานภาพส่วนบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถาม

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม ลักษณะ

แบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) มีจานวน 3 ขอ้ ดงั นี้

4.1.1 สถานภาพสว่ นบคุ คลของผตู้ อบแบบสอบถามในด้านเพศ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเ พศ

ปรากฏดังตารางที่ 5 แสดงจานวนและค่ารอ้ ยละของสถานภาพสว่ นบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามใน

ด้านเพศ

เพศ จานวน รอ้ ยละ

1. เพศชาย 3 6

2. เพศหญิง 47 94

รวม 50 100

จากตารางที่ 5 พบว่า เพศผู้ตอบแบบสอบถามมากท่ีสุดได้แก่ เพศหญิง จานวน 47 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 94.00 และเพศชาย จานวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.00

- 20 -

4.1.2 สภาพสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามในด้านอายุ

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามด้านอายุ

ปรากฏผลดงั ตารางท่ี 6 แสดงจานวนและคา่ ร้อยละของสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม

ในดา้ นอายุ

อายุ จานวน ร้อยละ

1. อายตุ า่ กวา่ 20 ปี 50 100
2. อายุ 20-30 ปี - -

3. อายุ 31-40 ปี - -
4. อายุ 41 ปีขึน้ ไป - -

รวม 50 100

จากตารางท่ี 6 พบวา่ อายุของผู้ตอบแบบสอบถามมากท่ีสุด ได้แก่ อายุตา่ กวา่ 20 ปี จานวน
50 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100

4.1.3 สถานภาพสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถามในดา้ นอาชพี
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอาชีพปรากฏดงั
ตารางที่ 7 แสดงจานวนและคา่ รอ้ ยละของสถานภาพสว่ นบคุ คลของผูต้ อบแบบสอบถามในด้านอาชพี

อาชีพ จานวน รอ้ ยละ

1. นกั เรยี น/นกั ศกึ ษา 50 100
2. ข้าราชการ - -
3. พ่อบ้าน/แม่บ้าน - -
4. อื่นๆ - -

รวม 50 100

จากตารางที่ 7 พบว่าผตู้ อบแบบสอบถามมากที่สุด ไดแ้ ก่ นกั เรียน/นกั ศึกษา จานวน 50 คน
คิดเป็นร้อยละ 100

- 21 -

4.2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีผลต่อธุงศรี

อีสานจากผา้ ขาวม้า

ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกบั ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ธุง

ศรีอีสานจากผ้าขาวม้า ในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัด

สกลนคร จาแนกเป็นรายขอ้ ปรากฏดังตารางท่ี 8 แสดงค่าเฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพึง

พอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีต่อผลิตภัณฑธ์ ุงศรอี สี านจากผ้าขาวม้า จาแนกเป็นรายขอ้

ขอ้ ความพงึ พอใจของผตู้ อบแบบสอบถามท่ี ความพงึ พอใจ

ท่ี มผี ลต่อผลิตภัณฑธ์ ุงศรีอีสานจาก ̅ S.D. แปลผล อนั ดับที่
ผ้าขาวมา้

1. ผลิตภัณฑม์ คี วามสวยงาม 4.82 0.39 มากทส่ี ดุ 2

2. ผลิตภัณฑ์มคี วามออกแบบที่เปน็ เอกลกั ษณ์ 4.86 0.35 มากทส่ี ุด 1
6
3. ผลิตภัณฑ์มีคณุ ภาพดี 4.64 0.48 มากที่สดุ

4. ความคิดสรา้ งสรรคใ์ นการทาผลิตภัณฑ์ 4.74 0.44 มากท่ีสดุ 3
5. กาหนดราคาเหมาะสมกบั ผลิตภัณฑ์ 4.68 0.47 มากทสี่ ดุ 4
6. แสดงปา้ ยราคาอยา่ งชดั เจน 4.58 0.54 มากทส่ี ุด 9
7. ราคาเหมาะสมกับคณุ ภาพสินค้า 4.68 0.51 มากทสี่ ุด 4
8. ราคาสามารถตอ่ รองได้ (ลดได้) 4.38 0.49 มาก 10
9. การออกแบบบรรจภุ ัณฑเ์ หมาะสมกบั 4.60 0.53 มากท่ีสดุ 8

ผลติ ภัณฑ์ 4.66 0.48 มากทสี่ ุด 5
10. แนวคิดสรา้ งสรรค์ในการทาผลิตภัณฑ์ 4.68 0.47 มากท่สี ุด 4
11. บรรจุภัณฑ์มีเอกลักษณ์ 4.58 0.50 มากทส่ี ดุ 9
12. โลโกม้ ีความสวยงาม 4.60 0.64 มากที่สุด 8
13. ผลติ ภัณฑส์ ร้างรายได้ให้กบั ตนเอง 4.62 0.57 มากที่สดุ 7
14. ผลติ ภัณฑเ์ ป็นทย่ี อมรับสามารถนามา
4.74 0.56 มากที่สดุ 3
พัฒนาสู่การผลติ ในเชงิ พาณิชย์
15. นาวสั ดธุ รรมชาติมาพฒั นาต่อยอดให้เกิด

รายได้

จากตารางท่ี 8 ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจาก
ผ้าขาวม้าในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร
จาแนกเป็นรายข้อท่ีได้รับความพึงพอใจมากท่ีสุด คือ ข้อ 2. ผลิตภัณฑ์มีความออกแบบที่เป็น
เอกลักษณ์ ระดับความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.86 ลาดบั ที่ 2 คือ ข้อ 1. ผลติ ภัณฑ์
มีความสวยงาม ระดับความมึงพอใจอยู่ในระดับมากค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.82 ลาดับท่ี 3 คือ ข้อที่ 4.
ความคิดสร้างสรรคใ์ นการทาผลติ ภัณฑ์ และขอ้ ที่ 15. นาวัสดธุ รรมชาติมาพัฒนาต่อยอดใหเ้ กิดรายได้

- 22 -

ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.74 ส่วนข้อท่ีได้รับความพึงพอใจน้อยท่ีสุด คือ
ขอ้ ท่ี 8. ราคาสามารถตอ่ รองได้ (ลดได)้ ค่าเฉล่ยี เท่ากบั 4.38

ผลก าร วิ เคร าะ ห์ข้อมูลเกี่ ยวกั บระดับคว ามพึงพ อใจของ ผู้กร อกแ บบสอบถามที่มีผลต่อ
ผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า ในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญ
ศิลป์ จังหวัดสกลนคร จาแนกเป็นรายด้านภาพรวม ปรากฏผลดังตารางท่ี 9 แสดงงค่าเฉลี่ยและส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของผู้ ตอบแ บบ สอบ ถาม ท่ีมีผลต่ อผลิตภั ณฑ์ธุ งศรีอี สาน จ าก
ผา้ ขาวม้า

ความพึงพอใจของผูต้ อบแบบสอบถามท่มี ี ̅ S.D. แปลผล ลาดบั ที่
ผลต่อผลิตภัณฑธ์ ุงศรอี ีสานจากผา้ ขาวมา้

1.ด้านผลิตภัณฑ์ 4.77 0.43 มากท่ีสุด 1
2.ดา้ นราคา 4.58 0.51 มากทส่ี ดุ 4
3.ดา้ นบรรจุภัณฑ์ 4.63 0.49 มากทส่ี ดุ 3
4.ด้านประโยชนเ์ ชิงพาณิชย์ 4.65 0.59 มากท่ีสดุ 2
ความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามที่มีผลต่อ 4.66 0.51 มากทีส่ ดุ -
ผลติ ภัณฑธ์ งุ ศรอี ีสานจากผา้ ขาวมา้ ภาพรวม

จากตารางที่ 9 ระดับความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามท่ีมีผลต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสาน
จากผ้าขาวมา้ ในเขตชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบา้ นเหล่า อาเภอเจรญิ ศิลป์ จังหวัดสกลนคร
จาแนกเป็นรายได้และภาพรวม ภาพรวมของประชากรท่ีมีผลต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า
อยใู่ นความพอใจระดับมากค่าเฉลยี่ เท่ากับ 4.66 ด้านที่ได้รบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุด คือ ขอ้ ท่ี 1. ดา้ น
ผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.77 อันดับท่ี 2 คือข้อท่ี 4. ด้าน
ประโยชนเ์ ชงิ พาณิชย์ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุดคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 4.65 อันดบั ที่ 3 คอื ข้อท่ี 3.
ดา้ นบรรจุภัณฑ์ ความพงึ พอใจอย่ใู นระดบั มากท่ีสุดคา่ เฉลี่ยเท่ากับ 4.63 อนั ดับท่ี 4 คอื ขอ้ ท่ี 2. ด้าน
ราคา ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากท่ีสดุ คา่ เฉลี่ยเทา่ กับ 4.58

- 23 -

4.3 ผลการวิเคราะห์เน้ือหาจากแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อเสนอแนะของผู้ตอบ
แบบสอบถาม

การวิเคราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) จากแบบสอบถามปลายเปดิ เป็นขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
ของประชากรทมี่ ีผลต่อผลิตภณั ฑ์ธุงศรอี สี านจากผา้ ขาวม้าปรากฏดงั นี้

ลาดบั ท่ี ขอ้ เสนอแนะ ความถ่ี
1 ควรเพ่มิ สีสนั ใหม้ ีความหลากหลาย 10
2 ควรเก็บไม้ตามขอบธุงใหม้ ิด 5
3 ผลิตภัณฑม์ ขี นาดใหญ่ 4
4 ราคาแพงเกนิ ไป 3

บทที่ 5
สรุปอภปิ รายและข้อเสนอแนะ

การประเมนิ ครงั้ นไี้ ดศ้ ึกษาถงึ ความพงึ พอใจสนิ คา้ ของผซู้ ้ือสินคา้ และผู้ตอบแบบสอบถามท่มี ี
ตอ่ ผลิตภัณฑธ์ งุ ศรอี ีสานจากผา้ ขาวม้า ในเขตชุมชนบา้ นโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญ
ศิลป์ จงั หวัดสกลนคร สรปุ ผลการศกึ ษาตามลาดับ ดงั นี้

5.1 สรุปผลการจัดทาโตรงการ
5.2 อภิปรายผล
5.3 ขอ้ เสนอแนะ

5.1 สรปุ ผลการจดั ทาโครงการ

จากการศึกษาความพงึ พอใจของผู้ซอื้ สินคา้ และผู้ตอบแบบสอบถามทีม่ ตี อ่ ธุงศรอี สี านจาก
ผ้าขาวมา้ ในเขตชุมชนโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศลิ ป์ จงั หวัดสกลนคร สรุปผล
การศกึ ษาได้ดังน้ี

5.1.1 ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญงิ อายุตา่ กว่า 20 ปี สว่ นใหญ่ประกอบอาชพี
นกั เรยี น/นักศกึ ษา

5.1.2 ความพึงพอใจของผู้ซอื้ สินค้าและผู้ตอบแบบสอบถามที่มีต่อธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า
ในภาพรวมอยู่ในระดับมากเม่ือพิจารณารายข้อพบว่า ความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้าและผู้ตอบ
แบบสอบถามท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจากผา้ ขาวม้าภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายข้อ
พบว่า ด้านท่ีได้รับความพึงพอใจมากที่สุด คือ ด้านผลิตภัณฑ์ อันดับท่ี 2 คือ ด้านประโยชน์เชิง
พาณชิ ย์ อนั ดบั ท่ี 3 คือ ด้านบรรจุภัณฑ์ อนั ดับที่ 4 คอื ดา้ นราคา

5.1.3 จากการศึกษาความพึงพอใจของผู้ตอบแบบสอบถามปลายเปิดเป็นข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
มีดดังน้ี อันดับที่ 1 คือควรเพ่ิมสีสันให้มคี วามหลากหลาย อันดับท่ี 2 คือควรเก็บไมต้ ามขอบธุงใหม้ ิด
อันดบั ท่ี 3 คือผลติ ภัณฑ์มีขนาดใหญ่ อันดบั ท่ี 4 คือราคาแพงเกินไป

- 25 -

5.2 อภิปรายผล

ประเด็นสาคัญที่ได้พบจากการวิเคราะห์ ผู้จัดทาจะได้นามาอภิปรายเพ่ือสรุปเป็นข้อยุติให้
ทราบถงึ ข้อเท็จจริงโดยมีการนาเอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ งมมาอา้ งองิ สนบั สนนุ หรอื ขัดแย้ง ดังน้ี

5.2.1 ด้านผลติ ภัณฑ์ การศึกษาความพงึ พอใจของผ้ซู ือ้ สินคา้ ท่มี ตี ่อผลติ ภัณฑธ์ งุ ศรีอสี านจาก
ผ้าขาวม้าของผซู้ อื้ สินค้าในชุมชนบา้ นโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหลา่ อาเภอเจริญศิลป์ จังหวดั
สกลนคร มีความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด คือด้านผลิตภัณฑ์มีความออกแบบทเี่ ป็นเอกลกั ษณ์
ได้รบั ความพงึ พอใจมากทสี่ ดุ ค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.86

5.2.2 ด้านประโยชน์เชิงพาณิชย์ การศึกษาความพึงพอใจของผู้ซ้ือสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ธงุ
ศรีอีสานจากผ้าขาวม้าของผู้ซอ้ื สนิ คา้ ในชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหลา่ อาเภอเจริญศิลป์
จังหวัดสกลนคร มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือด้านประโยชน์เชิงพาณิชย์นาวัสดุธรรมชาติ
มาพฒั นาต่อยอดใหเ้ กิดรายได้ ได้รบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุดคา่ เฉลีย่ เทา่ กบั 4.74

5.2.3 ด้านบรรจุภัณฑ์ การศึกษาความพึงพอใจของผู้ซ้ือสินค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสาน
จากผ้าขาวม้าของผซู้ ้ือสนิ ค้าในชมุ ชนบา้ นโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัด
สกลนคร มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คือด้านบรรจุภัณฑ์มีเอกลักษณ์ ได้รับความพึงพอใจ
มากท่ีสุดค่าเฉล่ียเท่ากับ 4.68

5.2.4 ด้านราคา การศึกษาความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้าท่ีมีต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจาก
ผ้าขาวม้าของผู้ซื้อสินค้าในชุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัด
สกลนคร มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่ีสุด คือด้านราคากาหนดราคาเหมาะสมกับผลิตภัณฑ์
ไดร้ ับความพงึ พอใจมากท่สี ดุ คา่ เฉล่ียเท่ากับ 4.68
สรุปผลการศึกษาความพงึ พอใจของผซู้ ือ้ สนิ ค้าทีม่ ีต่อธุงศรอี ีสานจากผ้าขาวมา้ ของผซู้ ือ้ สินค้าในเขต
ชมุ ชนบา้ นโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศลิ ป์ จังหวัดสกลนคร ภาพรวมอยู่ในระดบั
ความพึงพอใจมาก สาหรับผลการประเมนิ อันดบั ที่ 1 คอื ขอ้ ที่ 2. ผลิตภัณฑม์ คี วามออกแบบที่เปน็
เอกลักษณ์ ได้รบั ความพงึ พอใจมากทสี่ ุดค่าเฉลยี่ เท่ากบั 4.86 รองลงมาคือขอ้ ที่ 1. ผลติ ภัณฑ์มีความ
สวยงาม อยูใ่ นระดบั ความพงึ พอใจมากค่าเฉล่ียเท่ากบั 4.82 อันดบั ท่ี 3 คอื ขอ้ ท่ี 4. ความคิด
สรา้ งสรรคใ์ นการทาผลิตภัณฑ์ อยใู่ นระดบั ความพงึ พอใจมากค่าเฉล่ยี เท่ากับ 4.74 อันดับที่ 4 คือขอ้
ท่ี 7. ราคาเหมาะสมกบั คุณภาพสนิ ค้า อยู่ในระดับความพงึ พอใจมากคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 4.68 และอันดับ
ท่ี 5 คือขอ้ ท่ี 10. แนวคิดสรา้ งสรรค์ในการทาผลิตภณั ฑ์ อยใู่ นระดับความพึงพอใจมากคา่ เฉลย่ี เท่ากับ
4.66

- 26 -

สอดคล้องกับงานวิจัยเรื่องธุง ผ้าเป็นนวัตกรรมในวัฒนธรรมของมนุษย์ท่ีเก่าแก่และถูก
นามาใช้อย่างหลากหลาย นอกเหนือจากการเป็นเคร่ืองนุ่งห่มซ่ึงเป็นประโยชน์อันดับแรก แต่ผู้ใดจะ
คิดว่า“ ธง” เป็นการนาผ้า มาใช้อย่างสาคัญย่ิงในสังคมมนุษย์ธงเป็นเคร่ืองบอกสัญลักษณ์การเป็น
หนง่ึ เดียวของความเป็นชาติ และการเป็นหม่เู หลา่ ท่ีมอิ าจเหยียบย่าได้ในศึกสงครามธงซง่ึ ทาข้นึ จากผ้า
อ่อนบางและพลิว้ ไหวได้ถูก นาใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื สาคัญดัง่ อาวธุ ทีแ่ หลมคมและมีส่วนชว่ ยยกระดับจิตใจ
ให้สึกเหิมในทางตรงขา้ มกัน ด้ายเส้นเล็กบ้างกถ็ ูกย้อมสีได้ถกู ถกั ทอและตัดเย็บเป็นผืนมีลวดลายหรือ
บ้างกถ็ กู เขียนเปน็ ภาพกลับ ถกู นามาใชเ้ พ่ือสนั ติสขุ และสงบเมอ่ื ผ้าผืนน้ันไดก้ ลายมาเปน็ ธงในศาสนา
ธงหรือ“ กุ้ง” ในภาษาอีสานเป็นสิ่งทอที่ขาดไม่ได้ในงานบุญในภาคอีสานผู้ศรัทธาล้วนเปรม ปรีด์ิ
ตกแต่งหมู่บ้านและวัดวาอารามด้วยศรัทธาด้วยธงหลากหลายสีลักษณะและส่ือความหมายเชิง
สัญลักษณ์ในพุทธศาสนาที่สืบทอดเร่ืองราวและความเชื่อมาหลายศตวรรษดังน้ันการที่ผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ดร. ประทับใจสุวรรณธาดาได้ใช้อุตสาหะและวิริยะในการท าวิจัยจนสามารถนามา
จัดพมิ พเ์ ป็นหนงั สือเร่อื ง“ ธุงอีสาน” ได้อยา่ งละเอยี ดลออในหลากหลายมิตขิ องการใช้ถุงไมว่ ่าจะเป็น
ดา้ นศรทั ธาความเชอื่ ฝมี ือภมู ิปญั ญาสญั ลักษณศ์ ิลปกรรม ฯลฯ และท่ีสาคัญมากคอื ข้อมูลด้านลักษณะ
วสั ดุเทคนิควิธีการทอแหลง่ ผลิตและการรงั สรรค์ลวดลายของผู้ทอเหล่านีน้ ับเปน็ ทรพั ย์สินทางปัญญา
ของผ้ทู อเปน็ ส่งิ บ่งช้ีทางภมู ิศาสตรแ์ ละเปน็ ทนุ ทางวฒั นธรรมของภมู ิภาคอีสานโดยตรงซึ่งผ้สู ร้างสรรค์
ผลงานเหลา่ นีต้ า่ งกอปรดว้ ยทักษะและองคค์ วามรู้ แต่ลว้ นสงู วัยหากข้อมูลเหลา่ นีไ้ ม่ได้รับการบันทึกไว้
ก็อาจสูญหายไปได้โดยง่ายตัวยธุงส่วนใหญ่เป็นผลงานใช้เฉพาะชั่วคราวและมีอายุการใช้งานผลงาน
ของผู้ช่วยศาสตราจารยด์ ร. ประทับใจสุวรรณธาดาจงึ นับได้ว่ามคี ณุ ค่าอย่างย่งิ และมิมีผู้ใดเคยรวบรวม
ไว้โดยครบถ้วนมากอ่ น เพ่อื สืบทอดและสืบสานการใช้ถงุ จากรากฐานการนามาใช้ในทางศาสนาผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ ดร. ประทับใจสุวรรณธาดายงั ได้เสนอแนะแนวทางการออกแบบและพฒั นาธุงอีสานไว้
อีกด้วยหนังสือ เล่มนี้จึงนับได้ว่ามีประโยชน์ท้ังในเชิงวิชาการและต่อวงการศิลป์ประยุกต์อย่างน่ายก
ยอ่ ง ธุงอีสานนยิ มทอเป็นผนื ยาว ๆ มีรูปสตั วห์ รือรูปภาพต่างๆตามความเชื่อบนผืนธงนอกจากนั้น ยัง
มีการดัดแปลงวัสดุอ่ืน ๆ มาทา เป็นธุงด้วยเช่นไม้ไผ่เส้นพลาสติกริบบนกก / ไหลตกแต่งให้สวยงาม
ด้วยลูกปัดดอกไม้พลาสติกและอื่น ๆ ขนาดไม่ จากัด มีท้ังขนาดเล็กกลางใหญ่การผลิตธงอีสาน
โดยทัว่ ไปมกั ผสมผสานระหว่างหลักในความเชือ่ และหลักทางสุนทรยี ศาสตร์โดยหลักความเช่ือเล่ากัน
ว่าถุงเป็นหน่ึงในการท าบุญจนบางคนบอกว่าถวายอะไรก็ไม่ได้บุญเท่ากับถวายถุงให้วัดดังนั้นจงึ มกั
เห็นถุงมากมายภายในวัด านานความเช่ือเร่ืองถุงและการใช้ถุงเกิดข้ึนมาตั้งแต่สมัยคร้ังพุทธกาล ใน
ตอนแห่พระเวสสันดรเข้าเมืองประชาชนชาวเมืองที่มาต้อนรับได้ใช้ผ้าผืนยาวแขวนบนปลายไม้ไผ่
ปลอ่ ยชายพลวิ้ ไหวตามเสน้ ทางเสด็จของพระเวสสันดรซ่ึงในปจั จุบนั ได้มีการสืบต่อมาใชใ้ นงานบุญผะ
เหวดรวมทั้งบางครั้งยังถูกนาไปใช้กับงานบุญอ่ืน ๆ ด้วยเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของการจัดงานบุญ
นอกจากน้ันยังเกิดถุงตามความเชื่ออีกหลากหลายรูปแบบเช่นมีการเพ่ิมเติมภาพตามความเชื่อลาย
ตามความเช่อื เพือ่ ใหค้ รบถว้ นตามประเพณีท่ีสืบตอ่ กันมาส่วนหลักทางสนุ ทรียศาสตร์ถือเปน็ ธรรมชาติ
ของมนุษย์ที่ให้ความสาคัญทางด้านความงามโนส่ิงท่ีตนเองผลิตหรือสร้างสรรค์โดยเฉพาะอย่างย่ิง

- 27 -

ความงามท่ีเกิดจากความศรัทธาจึงส่งผลให้ธงุ ในภาคอีสานมคี วามงามท่ีหลากหลายซง่ึ มักเป็นไปตาม
ความนยิ มเฉพาะถนิ่ ผลวิจัยพบวา่ มีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรอี ีสานจากผ้าขาวม้าในระดับมาก
โดยดา้ น รปู แบบของธงุ ศรีอีสานจากผ้าขาวม้ามคี วามสวยงาม และหลากหลาย วัสดุสามารถหาได้ง่าย
ตาม ท้องถิน่ (ท่ีมา : https://issuu.com/ubulocalinformation/docs/tung-esan-2561 )

- 28 -

5.3 ขอ้ เสนอแนะ
5.3.1 ขอ้ เสนอแนะในการนาไปใช้
5.3.1.1 ควรทารปู แบบผลิตภณั ฑ์ใหส้ สี ันที่สวยงามและมขี นาดเลก็ พอดี
5..3.2 ข้อเสนอแนะในการจดั ทาโครงการตอ่ ไป
5.3.2.1 ควรทาการประเมินเก่ียวกับความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้าและผู้ตอบ

แบบสอบถามที่ต่อโครงการธงุ ศรีอีสานจากผ้าขาวมา้

บรรณานกุ รม

ความหมายของธงุ .(ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ ได้จาก :
https://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=travelsomewhere&group=29

สืบค้นวนั ที่ 13 ธนั วาคม 2563
ความหมายของผา้ ขาวม้า. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก :

https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%
82%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%B2
สบื คน้ วนั ที่ 13 ธันวาคม 2563
ความหมายความพึงพอใจ.(ออนไลน)์ .เข้าถึงได้จาก :

https:www.im2market.com/2015/11/17/2049
สืบค้นวนั ที่ 25 ธันวาคม 2563
ความหมายความพึงพอใจในดา้ นผลิตภัณฑ์.(ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ ไดจ้ าก :

https://thesisavenue.blogspost.com2008/10/product-price-disrtribution.html
สืบค้นวันท่ี 26 ธันวาคม 2563
ความหมายความพึงพอใจในด้านราคา.(ออนไลน)์ .เขา้ ถงึ ได้จาก :

https://thesis.swu.ac.th/swuthesis/mark/wilailuk_t.pdf
สืบคน้ วันท่ี 26 ธันวาคม 2563
งานวิจัยท่เี ก่ยี วขอ้ ง.(ออนไลน์).เขา้ ถึงได้จาก :

https://issuu.com/ubulocalinformation/docs/tung-esan-2561
สืบค้นวันที่ 16 มกราคม 2564
นายประภาส ประโกทะสังข์ ตาแหนง่ ผใู้ หญ่บา้ น บ้านโพนใหม่ หมู่ 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญ
ศลิ ป์ จังหวดั สกลนคร

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

แบบสอบถามเพอื่ การจัดทาโครงการ

แบบสอบถาม

การศกึ ษาความพึงพอใจของประชาชนทมี่ ีต่อผลิตภณั ฑ์ธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า
ในเขตชมุ ชนบา้ นโพนใหม่ หมู่ที่ 11 ตาบลบ้านเหลา่ อาเภอเจรญิ ศิลป์ จังหวัดสกลนคร
………………………………………………………………………………………………………………………
คาชแี้ จง : แบบสอบถาม

1. แบบสอบถามเพือ่ การศกึ ษาความพงึ พอใจของประชากรท่ีมตี ่อธงุ ศรีอสี านจากผ้าขาวม้า
ในเขตพ้ืนทช่ี ุมชนบ้านโพนใหม่ หมู่ท่ี 11 ตาบลบ้านเหล่า อาเภอเจริญศิลป์ จังหวัดสกลนคร
ของวิทยาลัยเทคนิคสว่างแดนดนิ สานกั งานคณะกรรมการอาชวี ศกึ ษา จังหวดั สกลนคร โดยข้อมูลท่ี
ได้รับจากแบบสอบถามฉบบั นี้ ใช้ประกอบการศึกษาเท่าน้นั

2. แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 สว่ นคือ
สว่ นท่ี 1 แบบสอบถามข้อมลู ทว่ั ไป
ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของประชากรที่มีต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรี
อีสานจากผา้ ขาวมา้
สว่ นท่ี 3 ข้อเสนอแนะ

ส่วนที่ 1 แบบสอบถามขอ้ มลู ท่วั ไป
คาช้แี จง : โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง  หนา้ ข้อความท่ตี รงกบั คาตอบทา่ น
หรอื เตมิ ขอ้ ความใหส้ มบรู ณ์

1.1 เพศ  เพศชาย  เพศหญงิ
1.2 อายุ  อายตุ ่ากว่า 20 ปี  อายุ 20-30 ปี
 อายุ 31-40 ปี  อายุ 41 ปขี ้ึนไป
1.3 การศกึ ษา  ปวช.  ปวส.
 ป.ตรี อืน่ ๆ………….(โปรดระบ)ุ
1.4 อาชพี  นกั เรียน/นักศกึ ษา  ข้าราชการ
 แมบ่ า้ น/พ่อบา้ น อื่นๆ………….(โปรดระบ)ุ

ตอนท่ี 2 :แบบสอถามเก่ียวกับความพึงพอใจของประชากรที่มีผลต่อผลิตภัณฑ์ธุงศรีอีสานจาก

ผา้ ขาวม้า

คาชี้แจง: โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ ง  ระดบั ความพึงพอใจเพยี งข้อละ 1 เครอื่ งหมาย

ขอ้

ความพึงพอใจของประชากร ระดับความพงึ พอใจ

ท่ีมตี อ่ ผลิตภัณฑธ์ งุ ศรีสานจากผา้ ขาวม้า

มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย

ที่สุด กลาง ท่สี ุด

(5) (4) (3) (2) (1)

ดา้ นผลิตภณั ฑ์

1. ผลิตภัณฑม์ ีความสวยงาม

2. ผลิตภัณฑม์ ีความออกแบบทีเ่ ป็นเอกลกั ษณ์

3. ผลติ ภัณฑ์มีคณุ ภาพดี

4. ความคิดสร้างสรรค์ในการทาผลิตภัณฑ์

ด้านราคา

5. กาหนดราคาเหมาะสมกับผลิตภณั ฑ์

6. แสดงป้ายราคาอยา่ งชดั เจน

7. ราคาเหมาะสมกับคุณภาพสนิ คา้

ดา้ นบรรจุภัณฑ์

8. ราคาสามารถต่อรองได้ (ลดได)้

9. การออกแบบบรรจุภัณฑเ์ หมาะสมกบั ผลิตภัณฑ์

10. แนวคิดสรา้ งสรรค์ในการทาผลิตภณั ฑ์
11. บรรจุภณั ฑ์มเี อกลักษณ์
12. โลโกม้ คี วามสวยงาม
ดา้ นประโยชนเ์ ชิงพาณชิ ย์
13. ผลติ ภัณฑ์สรา้ งรายไดใ้ หก้ บั ตนเอง
14. ผลิตภัณฑเ์ ปน็ ทย่ี อมรบั สามารถนามาพัฒนาสู่

การผลติ ในเชงิ พาณิชย์
15. นาวัสดธุ รรมชาตมิ าพฒั นาต่อยอดใหเ้ กิดรายได้

สว่ นที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอขอบคณุ ที่กรุณาตอบแบบสอบถาม
วทิ ยาลัยเทคนิคสว่างแดนดิน

ภาคผนวก ข

อุปกรณท์ ่ีใชท้ าธุงศรีอสี านจากผา้ ขาวมา้

อปุ กรณ์ท่ีใช้ทาธุงศรีอีสานจากผา้ ขาวมา้

รูปภาพ ช่ือ

ผ้าขาวม้า

ไม้ไผ่

เชือกปา่ น

ด้ายไหม

กระติบข้าว
ลูกปดั ไม้
ตารางท่ี 1 อุปกรณ์ที่ใช้ทาธงุ ศรอี สี านจากผา้ ขาวม้า

อุปกรณท์ ่ใี ช้ทาธุงศรอี สี านจากผา้ ขาวม้า

รปู ภาพ ชอ่ื

ปืนกาว

กาวแท่ง

เขม็

(ต่อ) ตารางที่ 1 อปุ กรณ์ที่ใช้ทาธงุ ศรอี ีสานจากผา้ ขาวม้า

ภาคผนวก ค

ข้นั ตอนการทาธงุ ศรอี สี านจากผา้ ขาวมา้

ขนั้ ตอนการทาธุงศรีอีสานจากผ้าขาวมา้

รูปภาพ ช่อื

1. นาผ้าขาวม้ามาวัดให้ได้ขนาดทต่ี ้องการ

2. นาไปเยบ็ เก็บขอบผ้าใหเ้ รยี บรอ้ ย

3. นามาเยบ็ ใหต้ ิดกับไมไ้ ผท่ ี่เตรียมไว้

4. นาผ้าทเี่ ย็บไว้ทงั้ หมดมาประกอบติดกัน

5. นาเชอื กป่านมาร้อยกับลูกปดั ไม้เพือ่ ติด
กับธงุ

6. ตดั ผ้าขาวมา้ ติดกับกระติบข้าวด้วยกาว
และตดั แตง่ ให้ดสู วยงาม

ตารางที่ 2 ขั้นตอนการทาธงุ ศรีอสี านจากผา้ ขาวม้า

ขน้ั ตอนการทาธุงศรีอสี านจากผ้าขาวม้า

รูปภาพ ชือ่

7. นาวสั ดุทั้งหมดทเี่ ตรียมไวม้ าประกอบ
ใสก่ ัน

(ตอ่ ) ตารางท่ี 2 ขนั้ ตอนการทาธุงศรีอีสานจากผ้าขาวม้า


Click to View FlipBook Version