The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน-โครงการ๖๓

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิจัยในชั้นเรียน-โครงการ๖๓

วิจัยในชั้นเรียน-โครงการ๖๓

วิจยั ในชัน้ เรียน

กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning เพ่อื แก้ปญั หาผลสัมฤทธท์ิ าง
การเรียนวิชาโครงการ ของนักเรยี นระดบั ชน้ั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันปีที่ 3

นางสาวสิรนิ ทรท์ พิ ย์ ศริ ิบตุ ร
ครูพิเศษสอน

แผนกวชิ าการบญั ชีวทิ ยาลัยเทคนคิ สว่างแดนดนิ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

บทคดั ย่อ

การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ(๑) พัฒนาทักษะผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้มีความรับผิดชอบ
เพ่ิมมากข้ึนในรายวิชาการการโครงการ(๒) ให้นักเรียนมีผลการเรียนในรายวิชาการการโครงการ ส่วนผ่านเกณฑ์ท่ี
กาหนดไว้ (๓) พฒั นาการเรยี นการสอนในภาพรวม

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนระดับช้ันปวช. ๓ จานวน ๑๕๔ คนได้ทาการวิจัยในครั้งนี้ จานวน
๑๐ คน สาขางานการบัญชี รายวชิ าการการโครงการเครื่องมือในการวจิ ยั ได้แก่รูปแบบกระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบ
Active Learning ผลการเรียนของนักเรียนได้แก่ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนนักศึกษาและการให้ความ
รว่ มมอื กบั ผู้อ่นื ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บการทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายจากครูผู้สอนและการทางานท่ีได้รบั มอบหมายจาก
กลมุ่ แบบประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นสถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์คือการหาค่าเฉลี่ย

ผลลการวจิ ยั ในคร้งั นีพ้ บว่านกั เรยี นมคี วามรับผิดชอบในการเรียนและทางานท่ีได้รบั มอบหมายได้สาเร็จในทุก
ด้านดีขึ้นตามลาดับและในสัปดาห์ท่ี ๑๘ นักศึกษาทุกคนมีความรับผดิ ชอบดีทุกด้านผลการปรับพฤติกรรมในคร้ังนี้ทา
ให้นักศึกษาทุกคนสามารถทาแบบทดลองหลังหน่วยการเรียนทุกหน่วยผ่านเกณฑ์ที่กาหนดคือจาก ๑๐คะแนน
นักเรียนสามารถทาได้๕ ถึง ๗ ซึ่งผ่านเกณฑ์การประเมินที่กาหนดไว้ และนกั เรยี นส่งงานท่ีได้รับมอบหมายตามเวลาท่ี
กาหนดคะแนนข้นึ ไปถือว่านักเรียนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นดขี ้ึน

กิตตกิ รรมประกาศ

ผู้ทาวิจัยขอขอบพระคุณครูประจาแผนกวิชาการบัญชีทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการให้คาปรึกษาสาหรับ
ปัญหาท่ีเกิดขึ้น ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่าน ท่ีให้คาปรึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อการทาวิจัยในช้ันเรียนครั้งน้ี
และขอขอบคุณนักเรียนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ๓ แผนกวิชาการบัญชี ท่ีคอยอานวยความสะดวก
ในการจดั เกบ็ ข้อมลู สาหรับการจดั ทาวจิ ัยในช้นั เรยี นในครง้ั นี้ ให้สามารถสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ด้วยดี

ผวู้ ิจัยหวังเปน็ อยา่ งย่ิงว่าวิจยั ในชัน้ เรียนเล่มนจี้ ะเป็นประโยชน์สาหรับผ้ทู ส่ี นใจในเร่ืองของการปรับพฤติกรรม
การสร้างความรับผิดชอบในการมาเรียนและไม่ส่งงานตามกาหนดเวลาของนักศึกษา หากปรากฏข้อผิดพลาดประการ
ใดผู้วจิ ยั ก็ขออภัยมา ณ ทน่ี ีด้ ้วย และพร้อมน้อมรบั ขอ้ เสนอแนะ เพ่ือนาไปใช้ในการทางานครัง้ ต่อไปดว้ ยความยินดีย่งิ

ผทู้ าวิจัย
นางสาวสิรินทร์ทพิ ย์ ศริ ิบตุ ร

....................................

สารบัญ หนา้

บทคดั ยอ่ ภาษาไทย ข
กติ ตกิ รรมประกาศ ค
สารบญั
บาทที่ ๑ บทนา ๑

๑.๑ ความเปน็ มาของการวิจัย ๑
๑.๒ สภาพปญั หา ๒
๑.๓ วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย ๒
๑.๔ ขอบเขตของการวิจัย ๒
๑.๕ คานิยามศพั ทเ์ ฉพาะ ๒
๑.๖ ประโยชนท์ คี่ าดว่าจะไดร้ บ
๑.๗เครือ่ งมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ยั ๓
บทท่ี ๒ ทฤษฎีและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ๓
๒.๑ ทฤษฎกี ารพฒั นาบคุ ลิกภาของรอยค์ ๓
๒.๒ ทฤษฎีของอิรคิ สัน ๔
๒.๓ ทฤษฎีการจูงใจ ๕
๒.๔ ทฤษฎกี ารเสรมิ แรง
๒.๕ วธิ กี ารสอนแบบกาเย่ ๕
บทท่ี ๓ วิธีการดาเนินงาน ๕
๓.๑ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ๕
๓.๒ เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ๖
๓.๓ ขัน้ ตอนในการสร้างเคร่ืองมือ ๖
๓.๔ ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหา ๗
๓.๕ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
๓.๖ วธิ กี ารดาเนินงาน

สารบญั (ต่อ)

บทท่ี ๔ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ๙
๔.๑ ขน้ั ตอนการวเิ คราะห์ข้อมูล ๑๐
๔.๒ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล
๑๑
บทท่ี ๕ สรุปผลและอภิปรายผล ๑๑
๕.๑ วัตถปุ ระสงค์ ๑๒
๕.๒ วธิ กี ารดาเนินงาน ๑๓
๕.๓ สรุปผลการวิจยั ชัน้ เรยี น
๕.๔ ขอ้ เสนอแนะ

บทท่ี ๑
บทนา

๑. ความเปน็ มาของการวจิ ัย
ในภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ผู้วิจัยได้ทาการสอนในรายวิชาการการโครงการ ๒๒๐๑ – ๘๕๐๑ ใน

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) แผนกวิชาการบัญชีจากการเรียนการสอนใน ๙ สัปดาห์แรกผู้วิจัยสังเกตการ
เรียนพบว่านักศึกษาชั้นปวช. ๓ สาขาวิชาการบัญชี จานวน ๑๐ คน ในขณะท่ีผู้สอนทาการบรรยายตามเนื้อหาใน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนอยู่น้ันนักศึกษามีอาการง่วงนอนมีสมาธิสั้นเมื่อมีการถามเร่ืองท่ีได้ทาการสอนผ่าน
ไปเมื่อต้นชั่วโมงไม่สามารถตอบได้ให้ทาเอกสารงานวิจัยก็ทามาไม่ถูกต้องและบางส่วนก็ไม่ส่งงานที่ได้มอบหมายทา
การประเมินหลังการเรียนรกู้ ็ไมผ่ ่านเกณฑ์ทต่ี งั้ ไว้

จากพฤตกิ รรมไม่เขา้ เรยี นดงั กล่าวผวู้ จิ ยั ได้เลง็ เหน็ ถึงความจาเปน็ และความสาคัญในการแก้ปญั หาท่ีเกดิ ข้ึนใน
คร้ังน้ีในฐานะท่ีเป็นครูผู้สอนจึงได้ทาการสังเกตและสอบถามตัวนักศึกษาเป็นรายบุคคลเพ่ือหาสาเหตุของการไม่เข้า
เรียนของนักศึกษาและนาเอาสาเหตุมาวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางการแก้ปัญหาในครั้งนี้ผู้วิจัยพบว่าควรปรับวิธีเรียน
เปล่ียนวธิ สี อนโดยการสอนรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning

๒. สภาพปญั หา
จากที่ทาการสอนในรายวิชาการการโครงการ ต้ังแต่สัปดาห์ที่ ๑- ๙ ทาให้ครูผู้สอนทราบถึงปัญหาท่ีเป็น

อุปสรรคในการจัดการเรียนการสอน คือ พอถึงชั่วโมงเรียนที่ทาการสอนในรายวิชาการการโครงการ ระดับ ปวช. ๓
แผนกวิชาการบัญชีซ่ึงมีจานวน ๑๔๕ คน ในจานวนนี้ ๑๐ คน พบว่านักศึกษามีอาการง่วงนอนมีสมาธิสั้นเมื่อมีการ
ถามเรื่องท่ีได้ทาการสอนผ่านไปเม่ือต้นช่ัวโมงไม่สามารถตอบได้ให้ทาเอกสารงานวิจัยก็ทามาไม่ถูกต้องและบางส่วนก็
ไม่ส่งงานที่ไดม้ อบหมายมจี านวน ๒ คน ทาการประเมินหลังการเรียนรู้ก็ไม่ผา่ นเกณฑ์ทคี่ รกู าหนดให้

๓. วัตถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย
๑. เพื่อปรบั พฤตกิ รรมไม่เข้าเรียนของนักศึกษาและใหน้ ักศึกษามีความรบั ผิดชอบเพ่ิมขน้ึ ในรายวชิ าการ

โครงการ
๒. เพื่อให้นักศึกษามผี ลการเรียนในรายวชิ าโครงการผ่านเกณฑ์ท่กี าหนดไว้
๓. เพ่ือพัฒนาการเรยี นการสอนในภาพรวม

๔. ขอบเขตของการวิจยั
๔.๑ กลมุ่ เป้าหมาย ทีท่ าการศึกษาเปน็ นักเรียน ระดบั ปวช. ๓ แผนกวิชาการบญั ชีซ่ึงมีจานวน ๑๔๕ คน ที่

มปี ัญหาด้านการไมเ่ ข้าเรียนและขาดความรบั ผดิ ชอบจานวน ๑๐ คน
๔.๒ ระยะเวลาท่ีใช้ในการทาวิจัยในครั้งน้ี ผู้วิจัยเริมทาเนินการทดลองใช้ใบงานต้ังแต่สัปดาห์ที่ ๑๐–๑๕

รวม ๖ สัปดาห์
๔.๓ กรอบแนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) PAOR แต่ละ

รอบวงประกอบไปด้วย ๔ ขั้นตอน คือ P (Plan) วางแผน A (Act (ปฏิบัติ O(Observe) สังเกต R(Reserve) สะท้อน
ผล ในการดาเนินการวิจัย

๕. คานิยามศัพท์เฉพาะ
ระดบั ปวช. หมายถงึ ระดบั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ

๖. ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ
การวิจัยนีจ้ ะทาให้ได้ข้อมูลทช่ี ่วยใหค้ น้ พบวธิ ีการพฒั นาการรูปแบบกระบวนการจัดการเรียนร้แู บบ Active

Learning

๗. เคร่ืองมอื ในการวิจัย
๑. รูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักศกึ ษาได้แก่ความรบั ผดิ ขอบตรงต่อเวลาใหค้ วามรว่ มมือกับ
ผูอ้ ืน่ ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บการทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายจากครผู ้สู อนและการทางานท่ีได้รบั มอบหมายจาก
กล่มุ
๓. แบบประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
๔. แบบประเมินคณุ ธรรม จริยธรรมนักเรียน-นกั ศึกษา

บทท่ี ๒
เอกสารและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง

การศกึ ษาคน้ ควา้ ในการทาวิจัยในชัน้ เรียนคร้งั นผ้ี วู้ ิจัยไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้อง
ดังตอ่ ไปนี้

๒.๑ ทฤษฎกี ารพัฒนาบุคลิกภาพของ ฟรอยด์
๒.๒ ทฤษฎีของ อีริคสนั
๒.๓ ทฤษฎกี ารจงู ใจ
๒.๔ ทฤษฎีการเสรมิ แรง
๒.๕ กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning
๒.๑ ทฤษฎีการพัฒนาบคุ ลิกภาพของ ฟรอยด์ (Freud’s Theory of Development)
ได้เสนอทฤษฎีพัฒนาการทางบุคลิกภาพ เพ่ืออธิบายการเกิดบุคลิกภาพ และจานวนลักษณะบุคลิกภาพของ
ใจแต่ละวัย โดยฟรอยด์ได้กล่าวว่า ถ้าเด็กถูกเล้ียงดูมาอย่างไม่เหมาะสมจะเกิดการ Fixaton ทาให้มีบุคลิกภาพ
ผิดปกติไป เช่น ผู้ใหญ่ท่ีมี Oral Personslityเป็นผู้ที่ต้องการที่จะหาความพึงพอใจทางปากอย่างไม่จากัด เช่นติด
เหล้าติดบุหร่ี ชอบดูดหรือกัดอยู่เสมอ มีความสุขในการกิน ชอบพูดจาถากถาง เสียดสีผู้อ่ืน Anal Personality
มีลักษณะเป็นคนท่ีชอบความเป็นระเบยี บเรียบร้อย รักความสะอาด ต้องทาอะไรตามกฎเกณฑ์ หรืออาจมีบุคลิกภาพ
ลักษณะตางกนั ข้าม คือ เป็นคนทีใ่ จกวา้ ง และไมม่ คี วามเปน็ ระเบียบ เป็นคนสุรุ่นสุร่าย หรือตระหนไ่ี ด้

๒.๒ ทฤษฎขี อง อีริคสัน
ทาการวเิ คราะห์เกยี่ วกับเด็ก โดยมีความเห็นว่าการจะทาความเข้าใจพฤติกรรมเด็กนั้น จะตอ้ งศกึ ษาจากการ

อบรมเล้ียงดู สภาพสังคม ความเป็นอยู่ของเด็ก ตลอดจนอิทธิพลของวัฒนธรรมในสังคมน้ัน ซ่ึงเด็กจะแสดงให้เห็นถงึ
ความรู้สึกนกึ คิดท่ีมีต่อตนเองและสง่ิ แวดลอ้ มและความร้สู กึ น้นั เองเปน็ ส่งิ สาคญั ในการพัฒนาบคุ ลิกภาพ

๒.๓ ทฤษฎกี ารจงู ใจ
อธบิ ายถึงสภาวะของบุคลิกที่พบจะสนองตอบต่อความต้องการ หากสง่ิ นัน้ มีอิทธพิ ลสาหรับความตอ้ งการของ

เขา ทฤษฎเี กี่ยวกับการจูงใจ (Theories of motivation) มีมากมายแต่ในทน่ี ้จี ะนามากลา่ วเพียงบางทฤษฎที ผ่ี ู้บริหาร

การตลาดควรทราบ เพ่ือจะได้เข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคดีข้ึนและเพ่ือจะได้นาไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับการ
ดาเนินงานการตลาด

๒.๓.๑ ทฤษฎกี ารจงู ใจของมาสโลว์
ทฤษฎีการจูงใจที่เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางมากทฤษฎีหนึ่ง คือ “ทฤษฎีลาดับขั้นความต้องการของมาสโลว์”
(Maslow’s hierarchy of needs)ทฤษฎีของมาสโลว์ยึดถือข้อสมมติฐาน ๔ ประการดังน้ี (Masolw,quoted in
Hawkins, Best and Coney. ๑๙๙๘:๓๖๗)

๑. มนษุ ยท์ ุกคนมีรปู แบบการรบั แรงจูงใจคล้ายคลึงกัน โดยผ่านมาจากแหลง่ กาเนดิ ภายในรา่ งกาย
และจากการปฏกิ ริ ยิ าสัมพันธท์ างสังคม (social interaction)

๒. แรงจงู ใจบางอย่างมีความจาเปน็ ขนึ้ พน้ื ฐานและสาคัญมากกว่าแรงจูงในอย่างอืน่
๓. แรงจงู ใจทมี่ ีความจาเปน็ พนื้ ฐานมากกวา่ จาเปน็ จะต้องได้รับการตอบสนองให้ไดร้ บั ความพอใจ
ก่อนจาถงึ ระดบั แรงจูงใจน้อยท่ีสดุ ก่อนท่ีแรงจูงใจทางดา้ นอ่นื จะได้รบั แรงกระตุ้น
๔. เมอื่ แรงจูงใจขึน้ พืน้ ฐานไดร้ ับการตอบสนองจนไดร้ ับความพอใจแลว้ แรงจงู ใจขน้ั ที่สูงกวา่ ก็จะ
เกิดขึน้ เข้ามาแทนท่ี

๒.๔ ทฤษฎีการเสริมแรง
กัทธรี กล่าวว่า การเสริมแรงเป็นสิ่งจาเป็นที่ทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าและการตอบสนองและ

พยายามเน้นว่า ไม่มีการเรียนรู้ใด ที่มีความสมบูรณ์ การเรียนรู้เป็นลักษณะของการกระทาท่ีต่อเน่ืองกัน จะค่อยๆ
สะสมขน้ึ เรอ่ื ยๆ การเสรมิ แรงทุกครั้ง จะทาใหก้ ารเรียนรเู้ พิ่มประสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ

ความต้องการได้รับการเสริมแรง (Need for reinforcement)เรามักจะได้รับแรงกระตุ้นใหก้ ระทาบางส่ิง
อย่างบ่อยๆ ด้วยเหตุผล เพราะว่าเราได้รับความพึงพอใจอันเป็นรางวัล (reward) ในการกระทาเช่นน้ัน ผลิตภัณฑ์
หลายชนิดที่ผู้บริโภคซ้ือมาใช้ปรากฏให้เห็นต่อสายตาสาธารณชน เช่น เสื้อผ้า เคร่ืองประดับ และเครื่องเฟอร์นิเจอร์
เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเหล่านี้จะขายได้มากน้อยเพียงไรข้ึนอยู่กับว่าผู้ซื้อนาไปใช้ได้รับความพอใจอันเป็นตัว
เสริมแรงให้เกิดการซื้อซ้า และการบอกเล่าปากต่อปากในทางบวกมากน้อยเพียงไรด้วย บริษัทขายเครื่องเพชรใช้
แรงจูงใจนี้อาจเขียนข้อความในโฆษณาว่า “เมื่อคุณเดินเข้าไปในห้อง เพื่อนๆ จะเข้ามาห้อมล้อมเพื่อแสดงความ
ตื่นเต้นร่วมกับคุณด้วยในทันที” หรือ “Enter a room and you are immediately surrounded by friends
sharing your excitement.”

ความต้องการความรักความผูกพัน (Need for affiliation) เป็นความต้องการของบุคคลท่ีปรารถนา
อยากจะช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพ่ือสร้างความรักความผูกพันให้เกิดขึ้นกับผู้อ่ืนท่ีเป็นสมาชิก กลุ่มสมาชิกมี
ความสาคญั อยา่ งยงิ่ ต่อวิถีชีวติ ของผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่ ดังน้ันการตดั สนิ ใจซื้อของ ผ้บู รโิ ภคสว่ นมากแล้วจะข้นึ อยู่กับ

ความต้องการเพื่อธารงรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืน เพื่อสร้างความชื่นชมยินดีต่อกันด้วยเหตุดังกล่าวนักการตลาดจึง
นิยมใชแ้ รงจงู ใจด้านความรักความผูกพันเป็นแนวคิดหลัก (theme) ในการโฆษณา อยา่ งเชน่ “ลูกๆ ของคุณจะรักคุณ
มากหากคุณซ้ือต๊กุ ตาตัวน้ีไปฝาก” เปน็ ตน้
๒.๕ การเรยี นการสอนแบบ Active Learning เปน็ กระบวนการเรยี นการสอนท่ีเน้นใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นร่วมและมี
ปฏิสัมพันธ์กบั กจิ กรรมการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติทห่ี ลากหลายรปู แบบ เชน่ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การระดม
สมอง การแลกเปลย่ี นความคิดเห็น และการทากรณีศกึ ษา เปน็ ตน้ โดยกจิ กรรมที่นามาใชค้ วรชว่ ยพฒั นาทักษะการ
คดิ วิเคราะห์ การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ การสื่อสาร/นาเสนอ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม
บทบาทของผ้เู รยี นนอกจากการมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมดังกลา่ วขา้ งตน้ แลว้ ยังตอ้ งมปี ฏิสัมพนั ธ์กับผู้สอนและผ้เู รียนกับ
ผู้เรียนด้วยกันด้วย ผสู้ อนควรลดบทบาทในการถ่ายทอดความรู้แกผ่ ู้เรยี นในลกั ษณะการบรรยายลง และเพิ่มบทบาท
ในการกระตนุ้ ให้ผู้เรียนมคี วามกระตือรอื รน้ ทจ่ี ะทากิจกรรมต่างๆ รวมถงึ การจดั เตรยี มสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมใน
การเรยี นรู้

ลกั ษณะของการเรยี นแบบ Active Learning
1. เปน็ การพัฒนาศักยภาพการคดิ การแกป้ ญั หาและการนาความร้ไู ปประยกุ ต์ใช้
2. ผูเ้ รยี นมสี ว่ นร่วมในการจดั ระบบการเรียนรูแ้ ละสร้างองค์ความรู้โดยมีปฏสิ มั พันธร์ ว่ มกันในรปู แบบของความ
ร่วมมือมากกว่าการแข่งขนั
3. เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นมีสว่ นร่วมในกระบวนการเรียนรู้สูงสดุ
4. เป็นกิจกรรมท่ีใหผ้ เู้ รียนบรู ณาการขอ้ มูลข่าวสารสารสนเทศสทู่ ักษะการคิดวเิ คราะหส์ งั เคราะห์และประเมินค่า
5. ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ความมีวนิ ยั ในการท างานรว่ มกับผูอ้ ื่น
6. ความรเู้ กิดจากประสบการณ์และการสรุปของผู้เรยี น
7. ผสู้ อนเปน็ ผู้อานวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรเู้ พ่อื ใหผ้ เู้ รียนเป็นผู้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง

ระดบั ที่ 1 กระบวนการเรยี นรู้แบบ Passive Learning
ได้แก่ การเรียนรู้ที่เกิดจากการฟัง การท่องจา การเห็น การรับชม ตามลาดับซ่ึงกระบวนการเรียนรู้แบบ
Passive Learning น้ี จะเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ผ่านทางการถ่ายทอดของผู้สอนเป็นหลัก ซ่ึงวิธีการเหล่าน้ี
สามารถสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนสามารถเรียนรูไ้ ดไ้ มเ่ กิน 50%

ระดบั ที่ 2 กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning

ได้แก่ การพูดคุยแสดงความคิดเห็น และการลงมือปฏิบัติ และการประยุกต์ใช้ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้แบบ
Active Learning นน้ั จะเนน้ ให้ผเู้ รยี น เรยี นรู้และสร้างองค์ความรูไ้ ด้ดว้ ยตวั เอง จากการประสานงานร่วมกนั ระหว่าง
ผู้เรียน โดยมีผู้สอนคอยช้ีแนะและให้คาแนะนา ซึ่งวิธีการเหล่าน้ี นับเป็นขั้นท่ีสูงกว่า Passive Learning ทาให้
สามารถส่งเสรมิ การเรยี นรู้ของผู้เรยี นได้ถึง 90%

สาหรับลักษณะของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning นั้น รองศาสตราจารย์ ดร.ไชยยศ เรือง
สุวรรณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ณ ขณะน้ัน (ปี 2553) ได้อธิบายถึงลักษณะของกระบวนการ
เรยี นรู้แบบ Active Learning ไว้อย่างนา่ สนใจ ดงั น้วี า่

1. เป็นการเรียนการสอนท่ีพัฒนาศักยภาพทางสมอง ได้แก่ การคิด การแก้ปัญหา การนาความรู้ไป
ประยกุ ตใ์ ช้

2. เป็นการเรียนการสอนทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนรว่ มในการเรียนรู้
3. ผเู้ รยี นสรา้ งองค์ความร้แู ละจัดระบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง

4. ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน มีการสร้างองค์ความรู้ การสร้างปฎิสัมพันธ์ร่วมกัน และร่วมมือกัน
มากกว่าการแข่งขัน

5. ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรคู้ วามรับผิดชอบรว่ มกัน การมวี ินัยในการทางาน และการแบ่งหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ

6. เป็นกระบวนการสร้างสถานการณใ์ ห้ผู้เรียนอา่ น พดู ฟงั คิด

7. เปน็ กิจกรรมการเรียนการสอนเน้นทกั ษะการคดิ ข้ันสงู
8. เป็นกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เรียนบูรณาการข้อมูล, ข่าวสาร, สารสนเทศ, และหลักการสู่การสร้าง
ความคิดรวบยอดความคดิ รวบยอด

9. ผู้สอนจะเปน็ ผอู้ านวยความสะดวกในการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนเป็นผปู้ ฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง
10. ความร้เู กิดจากประสบการณ์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ และการสรปุ ทบทวนของผู้เรียน

ซ่ึงจากลักษณะโดยทั่วไปของกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning นี้ เราสามารถนากระบวนการน้ีมา
ประยุกต์ใช้ในการจัดเรียนการสอนได้ ซึ่งอาจารย์เยาวเรศ ภักดีจิตร อาจารย์สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ณ ขณะน้ัน (ปี 2557) ได้นาเสนอถึงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน โดยใช้
กระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning มาประยกุ ต์ใช้ ไวด้ ังน้ี

1. การเรยี นรู้ผ่านการทางาน (Work-based Learning) เปน็ การจัดการเรยี นการสอนทส่ี ่งเสริมผู้เรยี นให้เกิด
พัฒนาการทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้เนื้อหาสาระ การฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะ
วิชาชีพการพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูง โดยสถาบันการศึกษามักร่วมมือกับแหล่งงานในชุมชน รับผิดชอบการจัดการ
เรียนการสอนรว่ มกนั ตง้ั แตก่ ารกาหนดวัตถปุ ระสงค์ การกาหนดเน้อื หากจิ กรรม และวธิ กี ารประเมิน

2. การเรียนรผู้ ่านโครงงาน (Project-based Learning) การเรยี นร้ดู ว้ ยโครงงานเปน็ การจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้
ผู้เรยี นเป็นสาคัญรูปแบบหน่ึง ที่เป็นการให้ผเู้ รียนได้ลงมือปฏิบตั ิจริงในลักษณะของการศึกษา สารวจ ค้นคว้า ทดลอง
ประดิษฐค์ ิดค้น โดยครเู ปลีย่ นบทบาทจากการเปน็ ผ้ใู ห้ความรู้ (teacher) เปน็ ผ้อู านวยความสะดวก (facilitator) หรอื
ผู้ให้คาแนะนา (guide) ทาหน้าท่ีออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทางานเป็นทีม กระตุ้น แนะนา และให้
คาปรึกษา เพื่อให้โครงการสาเร็จลุล่วง ประโยชน์ของการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ส่ิงท่ีผู้เรียนได้รับจากการเรียนรู้ด้วย
PBL จึงมิใช่ตัวความรู้ (knowledge) หรือวิธีการหาความรู้ (searching) แต่เป็นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
(learning and innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career skills) ทักษะด้านข้อมูล
ข่าวสาร การสื่อสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) การออกแบบโครงงานที่ดีจะ
กระตุ้นใหเ้ กิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรยี นจะไดฝ้ ึกการใช้ทักษะการคิดเชงิ วิพากษ์และแก้ปัญหา (critical
thinking & problem solving) ทักษะการสื่อสาร ( communicating) และทักษะการสร้างคว ามร่ว มมือ
(collaboration)ประโยชน์ท่ีได้สาหรับครูที่นอกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพด้านวิชาชีพแล้ว ยังช่วยให้เกิดการ
ทางานแบบร่วมมือกับเพอื่ นครดู ว้ ยกัน รวมท้ังโอกาสทีจ่ ะไดส้ รา้ งสัมพนั ธ์ทดี่ กี ับนกั เรียนด้วย

3. การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม (Activity-based Learning) ในการยึดหลักการให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง “Child Centered” การเรียนโดยการปฏิบัติจริง Learning by Doing และปฏิบัติเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และ
แก้ปัญหาได้ Doing by Learning จึงถูกนามาใชอ้ ย่างจริงจังในการปฏริ ูปการศึกษาของไทย การเรียนรู้ชนิดนเี้ อง ท่ีมี
ผู้ต้ังฉายาว่า “สอนแต่น้อย ให้เรียนมากๆ Teach less..Learn More” การเรียนแบบ Learning by Doing น้ันใช้
“กจิ กรรม Activity” เปน็ หลักในการเรียนการสอน โดยการ “ปฏบิ ตั ิจริง Doing” ในเนือ้ หาทกุ ขั้นตอนของการเรียนรู้
เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเอง ทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติ คุณครูเป็นพ่ีเล้ียงและเทรนเนอร์ แต่กิจกรรมท่ีนามาใช้นี้ต้องมี
ประสทิ ธิภาพในการเรยี นรูเ้ นื้อหานั้นๆ มีจุดมงุ่ หมาย สนุก และน่าสนใจ ไมซ่ ้าซากจนก่อให้เกดิ ความเบื่อหน่าย ดงั น้ัน
คณุ ครจู งึ เปน็ “นักออกแบบกจิ กรรม Activity Designer” มืออาชพี ทสี่ ามารถ “มองเห็นภาพกิจกรรม” ได้ทันที

4. การเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหา (Problem-based Learning) เป็นรูปแบบการเรียนอีกรูปแบบหน่ึงที่เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และรู้จักการทางานร่วมกันเป็นทีมของผู้เรียน โดยผู้สอนมีส่วนร่วมน้อยแต่ก็ท้าทายผู้สอนมาก
ทส่ี ุด กระบวนการการเรยี นรโู้ ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน จะจดั ผเู้ รยี นเป็นกลมุ่ ย่อย ขนาดประมาณ 8 -10 คน โดยมีครูหรือ
ผสู้ อนประจากลมุ่ 1 คน ทาหน้าทเี่ ปน็ ผสู้ นับสนุนการการเรยี นรู้ (facilitator)

5. การเรยี นร้ผู ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรอื วธิ ีวิจยั (Research-based Learning) การเรยี นรูท้ ี่เน้น
การวิจัยถือได้ว่าเป็นหัวใจของบัณฑิตศึกษา เพราะเป็นการเรียนท่ีเน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน
โดยตรง เป็นการพัฒนากระบวนการแสวงหาความรู้ และการทดสอบความสามารถทางการเรียนรู้ด้วยตนเองของ
ผู้เรียน

บทที่ ๓
วิธกี ารดาเนินการวิจยั

การวจิ ัยในชนั้ เรียนเพ่ือเพื่อปรับพฤติกรรมไม่เข้าเรียนของนักศึกษาและให้นักศึกษามีความรับผิดชอบเพิ่มขึ้น
ในรายวิชาการการโครงการในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้ ทฤษฎีการพัฒนาบุคลิกภาพ ทฤษฎีจูงใจ ทฤษฎี
เสรมิ แรง ทฤษฎกี ัทธรี ผสมผสานกันโดยมขี นั้ ตอนดงั นี้

๑. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
๒. เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
๓. ขั้นตอนในการสร้างเคร่ืองมอื
๔. ระยะเวลาในการแก้ไขปัญหา
๕. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
๖. วธิ ีการดาเนินงาน
๓.๑ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นกั เรยี น ระดับ ปวช. ๓ แผนกวิชาการบัญชี จานวน ๑๔๕ คน ทม่ี ปี ัญหาด้านการไม่เข้าเรียนและขาดความ
รบั ผิดชอบ จานวน ๑๐ คน

๓.๒ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการศึกษาและรวบรวมข้อมูลเพ่ือใชใ้ นการจดั ทาวจิ ัยในช้ันเรียนครัง้ นี้ ผวู้ จิ ัยไดใ้ ช้วธิ ีการและอาศัยเคร่ืองมือ

ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล คือ
๑. รูปแบบการเรยี นการการสอนแบบ กระบวนการเรยี นรู้แบบ Active Learning
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักศึกษาได้แก่ความรับผิดขอบตรงต่อเวลาให้ความร่วมมือกับ

ผอู้ ื่นปฏบิ ัตติ ามกฎระเบียบการทางานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากครผู ้สู อนและการทางานท่ีได้รับมอบหมายจากกลมุ่
๓. แบบประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
๔. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรมนกั เรียน-นกั ศึกษา

๓.๓ ขั้นตอนในการสรา้ งเครื่องมือ
ผู้วิจยั ได้ทาการสรา้ งเครือ่ งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัยในครั้งนค้ี ือใชใ้ บงานเพมิ่ เตมิ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางาน

กล่มุ และสมุดบันทึกการเรยี นในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู กลุ่มตัวอยา่ ง ซ่ึงจะไดเ้ ป็นการเก็บรายละเอยี ดเกย่ี วกบั ข้อมลู
พ้นื ฐานของกลุม่ ตัวอย่าง ดงั นี้

แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนกั เรยี นครผู ู้สอนไดจ้ ัดทาขนึ้ เพ่อื ใชบ้ นั ทกึ พฤติกรรมการทางาน
กลุม่ ของนกั เรียน

สมุดบันทกึ การเขา้ เรียน (สมุดสีฟ้า)
สมุดบันทกึ การเขา้ เรียนจะใช้เกบ็ ข้อมลู เกยี่ วกับการเข้าเรียนของกลมุ่ ตวั อยา่ งที่ใช้ในการวจิ ัยในครง้ั น้ี

๓.๔ ระยะเวลาการแก้ไขปญั หา
เริ่มจากสปั ดาหท์ ี่ ๑๐ -๑๕ โดยผวู้ ิจยั เปน็ ผู้ดาเนนิ การเอง

๓.๕ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล

ผู้วิจัยดาเนินการเกบ็ ข้อมลู เชงิ คุณภาพ ผวู้ จิ ยั ทาการเก็บรวบรวมข้อมลู ไวใ้ หไ้ ด้มากท่สี ุด โดยการสงั เกตการณ์
ทางานกลมุ่ แบบ กระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning การจดบันทึก เกบ็ ขอ้ มลู เชงิ ปริมาณเป็นคะแนนท่ีได้จาก
การทางานกลุ่มแบบ กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อให้ได้ข้อมูลสาหรับแสดงกระบวนการแก้ไข
ปัญหาและพฒั นาผูเ้ รยี น ตั้งแต่เรมิ่ ตน้ จนสนิ้ สดุ การทางาน

การปรับพฤติกรรม เครื่องมือท่ีใชส้ ะท้อนผล ผู้ใหข้ ้อมูล เวลาทีเ่ ก็บข้อมูล

วงรอบที่ ๑ แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน ครูผ้วู จิ ยั สปั ดาห์ที่ ๑๐-๑๓

การปรบั ทที า่ ของครู แบบสัมภาษณ์เพอื่ นครู เพื่อนครู สปั ดาหท์ ี่ ๑๐-๑๕

แบบสมั ภาษณเ์ พ่ือนนักเรยี น นกั เรียน สัปดาห์ที่ ๑๐-๑๔

สะทอ้ นผลการปฏบิ ัตติ ามวงรอบที่ ๑ และปรับปรุงการปรบั พฤติกรรมในวงรอบที่ ๒

การปรบั พฤตกิ รรม เครอ่ื งมอื ท่ีใช้สะท้อนผล ผ้ใู ห้ข้อมูล เวลาท่เี ก็บข้อมูล

วงรอบที่ ๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรียน ครูผ้วู ิจัย สัปดาหท์ ี่ ๑๐-๑๔

การขาดเรียน และการขาด ใบงาน นักเรยี น สปั ดาหท์ ี่ ๑๒-๑๓

ความรบั ผดิ ชอบ

(ระยะที่ ๑)

สะท้อนผลการปฏบิ ัตติ ามวงรอบที่ ๒ และปรบั ปรงุ การปรบั พฤติกรรมในวงรอบท่ี ๓

การปรบั พฤตกิ รรม เครื่องมอื ท่ใี ชส้ ะท้อนผล ผูใ้ หข้ อ้ มลู เวลาทเี่ กบ็ ข้อมูล

วงรอบที่ ๓ แบบสงั เกตพฤติกรรมนักเรยี น ครูผวู้ จิ ยั สปั ดาหท์ ี่ ๑๐-๑๔

การขาดเรยี น และการ ใบงาน

ขาดความรับผดิ ชอบ นักเรียน สัปดาหท์ ่ี ๑๑-๑๕

(ระยะที่ ๒)

สะทอ้ นผลการปฏิบตั ติ ามวงรอบท่ี ๓ และสรปุ ผลการปรบั พฤติกรรมระยะท่ี ๒

๓.๖ วธิ ีการดาเนินงาน

หลังจากผู้วิจัยสามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุของนักศึกษาช้ันปวช. ๓ ที่ไม่ตั้งใจเรียนในช้ันเรียนได้แล้วผู้วิจัยได้
เลือกวิธกี ารท่คี ิดวา่ ดีโดยใช้กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบ Active Learning โดยดาเนินการดงั น้ี

๑. ตวั ผวู้ จิ ยั ทาการศกึ ษาวธิ ีการเรยี นรู้แบบ กระบวนการเรียนรแู้ บบ Active Learning
๒. อธบิ ายวธิ กี ารเรยี นรู้แบบ กาเยใ่ หน้ กั ศึกษาทั้งหมดไดร้ บั รู้และทาความเข้าใจ
๓. ดาเนนิ กระบวนการจดั การเรียนรู้แบบ Active Learning และเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบ
- แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามความสมัครใจเป็น ๘ กลุ่ม กลุ่มละ ๕ คนแต่มีข้อแม้ว่าคนท่ีมีคะแนนเฉลี่ยสูงกับต่าใน
อตั ราส่วนที่เหมาะสมและจะต้องเป็นทีย่ อมรบั ของกลมุ่
- ผู้สอนเตรียมหัวข้อที่ให้นักศึกษาร่วมกันทาเป็นกลุ่มนักศึกษาแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจับฉลากเลือกหัวข้อที่จะ
ทาการศึกษา
- ผู้สอนอธิบายงานของแต่ละหัวขอว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรบ้างอธิบายถึงการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
ทางานที่ละขนั้ ตอนและผลของการมสี ว่ นรว่ มในงานท่ีได้รบั มอบหมายจะได้สาเร็จไปด้วยดี
- ผู้สอนบอกถึงผลที่จะได้รับจากการทางานร่วมกันว่าทุกกิจกรรมน้ันเป็นคะแนนส่วนหนึ่ งที่จะนามา
ประเมินผลการเรยี น
- ผู้สอนทาการตกลงกับนักศึกษาวา่ ก่อนมีการเรียนการสอนทุกครั้งกลมุ่ ใดท่ีทางานในหวั ข้อท่ีจะทาการเรยี น
การสอนนักศึกษาจะต้องออกมานาเสนอผลงานในเร่ืองน้ันๆเป็นการนาเข้าสู่บทเรยี นและผู้สอนจะทาการสรุปอีกคร้งั
และเสรมิ สว่ นทีไ่ มส่ มบรู ณเ์ พ่อื นักศึกษาได้เขา้ ใจในเนอื้ หาย่งิ ขึ้น
- สรา้ งแบบสงั เกตพฤติกรรมความรบั ผดิ ชอบของนักศึกษาในแต่ละกลุ่ม
- ตดิ ตามสงั เกตพฤตกิ รรมหลงั ปรับวิธเี รียนเปลีย่ นวธิ สี อน
๔. ดาเนนิ การแกไ้ ขเป็นรายบคุ คลและเปน็ รายกลุม่ ทีไ่ ม่ผา่ นเกณฑ์จากการสงั เกตพฤติกรรมในแตล่ ะดา้ น
- เช็คเวลาเรยี นและให้คะแนนการเขา้ เรยี น
- งานทกุ งานที่มอบหมายให้นกั ศกึ ษาทาเป็นรายบุคคลและรายกลมุ่ เปน็ คะแนน

- ประเมินการแต่งกายของนักศึกษาทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการสอนเหตุเพราะนักศึกษาแผนกการบัญชีน้ัน
จะต้องมลี กั ษณะบุคลกิ ที่ดีเปน็ พ้นื ฐานให้นกั ศึกษาพร้อมทจ่ี ะไปประกอบอาชีพต่อไป

- ก่อนเรียนและหลงั เรยี นทกุ คนจะตอ้ งชว่ ยกันทาความสะอาดหอ้ งเรียนใหเ้ ป็นระเบียบ
๕. วเิ คราะหข์ ้อมลู ในภาพรวมและแยกตามรายโดยใชแ้ บบถามตอบ
๖. สรปุ ผลการแก้ปัญหา

บทที่ ๔
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

การวิเคราะห์ขอ้ มลู
การวัดผลและประเมินผลกิจกรรม/พฤติกรรม/ผลงานด้วยแบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของ

นักศึกษาเกณฑ์การให้คะแนน (แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบ) ความรับผิดชอบการตรงต่อเวลาให้ความ
ร่วมมอื กับผอู้ ่นื ปฏบิ ัติตามกฎระเบียบการทางานทไ่ี ด้รับมอบหมายจากครสู อนและการทางานที่ได้รับมอบหมาย

๔.๑ ขน้ั ตอนการวิเคราะหข์ ้อมลู
๑. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการไม่เข้าเรียน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ได้จานวน ๑๔๕ คน

ซ่ึงเปน็ นักเรียนชนั้ ปวช.๓ สาขาวชิ าการบญั ชี จานวน ๑๐ คน ทีเ่ รียนวชิ าการการโครงการกาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียน
ท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๓

๒. ดาเนินการเรยี นกระบวนการจดั การเรยี นรูแ้ บบ Active Learning
- แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามความสมัครใจเป็น ๘ กลุ่ม กลุ่มละ ๕ คนแต่มีข้อแม้ว่าคนที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงกับต่าใน
อัตราสว่ นที่เหมาะสมและจะต้องเป็นทยี่ อมรบั ของกลุ่ม
- ผู้สอนเตรียมหัวข้อที่ให้นักศึกษาร่วมกันทาเป็นกลุ่มนักศึกษาแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจับฉลากเลือกหัวข้อท่ีจะ
ทาการศึกษา
- ผู้สอนอธิบายงานของแต่ละหัวขอว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรบ้างอธิบายถึงการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
ทางานท่ีละขนั้ ตอนและผลของการมสี ว่ นรว่ มในงานที่ไดร้ บั มอบหมายจะไดส้ าเร็จไปดว้ ยดี
- ผู้สอนบอกถึงผลท่ีจะได้รับจากการทางานร่วมกันว่าทุกกิจกรรมน้ันเป็นคะแนนส่วนหน่ึงท่ีจะนามา
ประเมินผลการเรียน
- ผู้สอนทาการตกลงกับนักศึกษาว่าก่อนมีการเรียนการสอนทุกคร้ังกลุ่มใดที่ทางานในหวั ข้อที่จะทาการเรียน
การสอนนักศึกษาจะต้องออกมานาตอบคาถามในการบนั ทึกบัญชี ได้ถูกตอ้ ง เป็นการนาเขา้ สู่บทเรยี นและผู้สอนจะทา
การสรปุ อกี คร้งั และเสริมส่วนทไ่ี ม่สมบูรณเ์ พ่ือนักศึกษาไดเ้ ข้าใจในเนือ้ หาย่ิงข้ึน
- สร้างแบบสงั เกตพฤตกิ รรมความรับผดิ ชอบของนกั ศึกษาในแตล่ ะกลุ่ม
- ติดตามสงั เกตพฤตกิ รรมหลงั ปรบั วิธเี รยี นเปลี่ยนวธิ สี อน
๓. ดาเนินการแกไ้ ขเปน็ รายบคุ คลและเปน็ รายกลุ่มท่ีไมผ่ า่ นเกณฑจ์ ากการสงั เกตพฤติกรรมในแต่ละดา้ น
- เช็คเวลาเรียนและใหค้ ะแนนการเขา้ เรยี น
- งานทุกงานทม่ี อบหมายให้นักศึกษาทาเปน็ รายบคุ คลและรายกลุ่มเป็นคะแนน

- ประเมินการแต่งกายของนักศึกษาทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการสอนเหตุเพราะนักศึกษาแผนกวิชาการบัญชี
จะต้องมีลกั ษณะบุคลกิ ท่ดี เี ปน็ พนื้ ฐานใหน้ ักศึกษาพรอ้ มทีจ่ ะไปประกอบอาชพี ต่อไป

- ก่อนเรยี นและหลังเรยี นทุกคนจะต้องช่วยกันทาความสะอาดห้องเรยี นใหเ้ ปน็ ระเบียบ
๔. บนั ทกึ คะแนนในแบบสงั เกตพฤตกิ รรมกบั กลมุ่ เป้าหมาย
๕. วิเคราะห์ข้อมลู ในภาพรวมและแยกตามรายโดยใชแ้ บบถามตอบ
๖. สรปุ ผลการแกป้ ัญหา

๔.๒ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

วิเคราะห์ข้อมูลจากการบันทึกพฤติกรมการเข้าชัน้ เรียนและการทางานกลุ่มของนักเรียนหลงั จากท่ีมกี ารสอน
แบบ กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ผลบันทึกพฤติกรรมจากแบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนสายของ
นักเรียนระดับชั้น ปวช.๓ สาขาวิชาการบัญชี กลมุ่ เปา้ หมาย ๑๔๕ คน ได้ทาการวิจัย จานวน ๑๐ คน พบว่านักเรียน
กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการเข้าเรียน และการทางานกลุ่มโดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ต้ังแต่
วันที่ผู้วิจัยเริ่มใช้วิธีการสอนแบบกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning มีพฤติกรรมเปลี่ยนไปดังรายงาน
ผลการวจิ ัย

บทท่ี ๕
สรปุ ผล และอภปิ รายผล
๕.๑ วัตถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือปรับพฤติกรรมไม่เข้าเรียนของนักศึกษาและให้นักศึกษามีความรับผิดชอบเพ่ิมข้ึนในรายวิชาการ
โครงการ
๒. เพอื่ ใหน้ กั ศกึ ษามผี ลการเรยี นในรายวชิ าโครงการ ผ่านเกณฑ์ทก่ี าหนดไว้
๓. เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในภาพรวม

๕.๒ วิธกี ารดาเนินงาน
ในการจัดทาวิจัยในช้ันเรียนในเร่ือง การปรับพฤติกรรมไม่เข้าห้องเรียนและผลคะแนนน้อยมาก วิชาการการ

โครงการ ชั้นปวช.๓ สาขางานการบัญชี จานวน ๑๐ คน โดยกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
และเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบทงั้ หมด จานวน ๑๔๕ คน

๕.๒.๑ กรณีศกึ ษา
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาช้ัน ปวช.๓ สาขางานการบัญชี จานวน ๑๐ คน

ที่เรียนในรายวิชาการการโครงการ และกาลงั ศึกษาในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓ จานวน ๑๔๕ คน
๕.๒.๒ เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล
ในการศกึ ษาและรวบรวมข้อมูลเพื่อใชใ้ นการจัดทาวิจัยในชั้นเรียนคร้งั น้ี ผูว้ ิจยั ได้ใชว้ ิธกี ารและอาศยั เครื่องมือ

ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู คอื
๑. รปู แบบการเรยี นการการสอนแบบ กระบวนการเรยี นรูแ้ บบ Active Learning
๒. แบบสังเกตพฤติกรรมความรับผิดชอบของนักศึกษาได้แก่ความรับผิดขอบตรงต่อเวลาให้ความร่วมมือกับ

ผู้อ่นื ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบการทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายจากครผู ู้สอนและการทางานที่ได้รับมอบหมายจากกลุ่ม
๓. แบบประเมินผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
๔. แบบสมั ภาษณ์
๕.๒.๓ การเก็บรวบรวมข้อมูล
๑. ใช้แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนที่มีปัญหาการไม่เข้าเรียน คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย ได้จานวน ๑๔๕ คน

ซึ่งเป็นนักเรียนนักศึกษาชั้น ปวช.๓ สาขางานการบัญชี ท่ีเรียนวิชาโครงการ กาลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนท่ี ๒ ปี
การศกึ ษา ๒๕๖๓

๒. ดาเนินกระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบ Active Learning

- แบ่งกลุ่มผู้เรียนตามความสมัครใจเป็น ๘ กลุ่ม กลุ่มละ ๕ คนแต่มีข้อแม้ว่าคนที่มีคะแนนเฉล่ียสูงกับต่าใน
อัตราส่วนทีเ่ หมาะสมและจะต้องเปน็ ทย่ี อมรบั ของกล่มุ

- ผู้สอนเตรียมหัวข้อที่ให้นักศึกษาร่วมกันทาเป็นกลุ่มนักศึกษาแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนจับฉลากเลือกหัวข้อที่จะ
ทาการศึกษา

- ผู้สอนอธิบายงานของแต่ละหัวข้อว่าจะต้องดาเนินการอย่างไรบ้างอธิบายถึงการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
ทางานทล่ี ะข้ันตอนและผลของการมีส่วนรว่ มในงานท่ีได้รบั มอบหมายจะได้สาเร็จไปด้วยดี

- ผู้สอนบอกถึงผลท่ีจะได้รับจากการทางานร่วมกันว่าทุกกิจกรรมนั้นเป็นคะแนนส่วนหนึ่งท่ีจะนามา
ประเมินผลการเรยี น

- ผู้สอนทาการตกลงกับนักศึกษาวา่ ก่อนมีการเรียนการสอนทุกคร้ังกลุ่มใดที่ทางานในหวั ข้อท่ีจะทาการเรยี น
การสอนนักศึกษาจะต้องออกมานาเสนอผลงานในเรื่องนั้นๆเป็นการนาเข้าสบู่ ทเรียนและผู้สอนจะทาการสรุปอีกครั้ง
และเสรมิ ส่วนทไ่ี ม่สมบูรณ์เพอ่ื นักศึกษาได้เข้าใจในเนือ้ หายิ่งข้นึ

- สรา้ งแบบสังเกตพฤตกิ รรมความรับผิดชอบของนักศึกษาในแต่ละกล่มุ
- ตดิ ตามสังเกตพฤติกรรมหลังปรับวิธีเรียนเปล่ียนวธิ สี อน
๓. ดาเนินการแก้ไขเปน็ รายบคุ คลและเปน็ รายกลุ่มที่ไม่ผา่ นเกณฑ์จากการสงั เกตพฤติกรรมในแตล่ ะด้าน
- เชค็ เวลาเรียนและใหค้ ะแนนการเขา้ เรียน
- งานทกุ งานท่มี อบหมายใหน้ กั ศึกษาทาเป็นรายบคุ คลและรายกลุ่มเปน็ คะแนน
- ประเมินการแต่งกายของนักศึกษาทุกคร้ังท่ีมีการเรียนการสอนเหตุเพราะนักศึกษาแผนกวิชาการบัญชีนั้น
จะตอ้ งมลี ักษณะบคุ ลิกที่ดเี ปน็ พ้ืนฐานใหน้ ักศึกษาพรอ้ มที่จะไปประกอบอาชพี ต่อไป
- ก่อนเรียนและหลังเรยี นทุกคนจะตอ้ งช่วยกันทาความสะอาดห้องเรยี นใหเ้ ปน็ ระเบยี บ
๔. บันทกึ คะแนนในแบบสังเกตพฤตกิ รรมกับกลุม่ เป้าหมาย
๕. วิเคราะหข์ ้อมูลในภาพรวมและแยกตามรายโดยใชแ้ บบถามตอบ
๖. สรปุ ผลการแกป้ ัญหา

๕.๓ สรุปผลการวจิ ัยในช้ันเรยี น

ภายหลังจากการปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการเรียนวิชาโครงการของนักเรียน-นักศึกษาระดับปวช.

๓ สาขางานการบัญชี จานวน ๑๔๕ คน โดยการสอนแบบ กาเยพบว่านักศึกษามีความรับผิดชอบในการเรียนและ

ทางานท่ีได้รับมอบหมายได้สาเร็จในทุกด้านดีข้ึนตามลาดับและในสัปดาห์ที่๑๕ พบว่านักศึกษาทุกคนมีความ

รบั ผดิ ชอบดีทกุ ด้านผลการปรับพฤติกรรมในครงั้ น้ีทาให้นักศึกษาทุกคนสามารถทาแบบทดลองหลังหน่วยการเรียนทุก

หน่วยผ่านเกณฑ์ที่กาหนดคือจาก ๑๐ คะแนน นักศึกษาสามารถทาได้คะแนนได้ผ่านเกณฑ์และส่งงานที่ได้รับ

มอบหมายได้ตรงเวลาท่กี าหนด ถือว่านักศึกษามผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดขี ้นึ

๕.๔ ขอ้ เสนอแนะ
ควรมีการติดตามพฤติกรรมความรับผิดชอบในการเรียนของนักศึกษาอย่างต่อเน่ืองเพ่ือสังเกตว่ามีผลต่อ

พฤติกรรมความรับผิดชอบของนักศึกษาอย่างถาวรจนจบรายวิชาโครงการ และเพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาต่อใน
รายวิชาตอ่ ไป

เกณฑ์การประเมิน
ระดบั ๔ ดมี าก ระดับ๓ ดี ระดับ ๒ ปานกลาง ระดบั ๑ พอใช้ ระดบั ๐ ต้องปรับปรงุ


Click to View FlipBook Version