The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ2564 2 พย 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by charinrat44, 2021-11-02 08:07:30

รายงานผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ2564 2 พย 64

รายงานผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ2564 2 พย 64

รายงานผลการดำเนนิ งาน ก

สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ ังหวดั เชยี งใหม่

คำนำ

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ เป็นหน่วยงานราชการบริหาร
ส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีภารกิจ
และอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนาสังคม และสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและ
พัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัวและชุมชน และปฏิบัติราชการอื่นตามที่กฎหมายกำหนด
โดยมีเป้าประสงค์เพื่อมุ่งให้ประชาชนมีความมั่นคงในการดำรงชีวิต มีบริการสวัสดิการและคุ้มครองอย่างทั่วถึง
เป็นธรรมและเสมอภาค สามารถช่วยเหลือและพัฒนาตนเอง ครอบครัวและชุมชน เป็นสังคมสันติสุขน่าอยู่
และย่งั ยืน

รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2564 ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมจากการ
ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการและแผนการใช่จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานภาครัฐ
และภาคเอกชน รวมทั้งผู้สนใจได้รับทราบและมีความเข้าใจ ผลการดำเนิน หวังเป็นอย่างยิ่งว่า รายงานฉบับนี้จะเป็น
ประโยชนต์ อ่ การปฏิบตั งิ านตามบทบาทภารกิจตอ่ ไป

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั เชียงใหม่
ตุลาคม 2564

รายงานผลการดำเนนิ งาน ข

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั เชียงใหม่ หน้า

สารบัญ ข

เรอ่ื ง 1
คำนำ 2
สารบญั 3
ส่วนที่ ๑. ข้อมูลพ้ืนฐาน 4
4
1.ขอ้ มูลจังหวัดเชยี งใหม่ 5
1.1 ทตี่ ั้งและอาณาเขต 10
1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ 12
1.3 ลักษณะภมู อิ ากาศ 13
1.4 ขอ้ มูลการปกครอง 18
1.5 ด้านประชากร 22
1.6 ดา้ นศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและข้อมลู ชาติพนั ธุ์ 23
1.7 ด้านสาธารณสุข 26
1.8 ดา้ นการศึกษา
1.๙ ดา้ นแรงงาน 28
1.๑๐ ดา้ นท่อี ยอู่ าศัย 28
1.11 ดา้ นเศรษฐกจิ และรายได้ 29
1.12 ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ย 29
30
๒.ขอ้ มูลสำนักงานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดเชียงใหม่ 31
2.1 ข้อมลู ทว่ั ไป
2.2 ประวัตคิ วามเปน็ มาขององค์กร 32
2.3 โครงสร้างองค์กรและบคุ ลากร
2.4 อำนาจหนา้ ท่ี 35
2.5 วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ คา่ นยิ ม
2.6 งบประมาณรายจา่ ยประจำปี 37

ส่วนท่ี 2. ผลการดำเนนิ งาน 38
1. การช่วยเหลือผู้ประสบปญั หาทางสังคม
2. การป้องกนั และปราบการคา้ มนษุ ย์
2.1 โครงการประชุมเพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์และการดำเนนิ งานปอ้ งกันและ
ปราบปรามการค้ามนุษย์ ประจำปี ๒๕๖๓ และแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันและ
ปราบปรามการคา้ มนุษย์ประจำปี ๒๕๖๔”
2.2 โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคม
เพอ่ื เปน็ ผู้เฝา้ ระวงั ทางสังคมดา้ นการตอ่ ตา้ นการค้ามนษุ ย์
๓. เดก็ และเยาวชน
3.1 โครงการเงินอดุ หนนุ เพื่อการเล้ยี งดูเด็กแรกเกิด

รายงานผลการดำเนนิ งาน ค

สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั เชยี งใหม่ หน้า
40
สารบญั (ต่อ) 41
42
เร่อื ง 43
3.2 โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ เด็กปฐมวัยจังหวัดเชียงใหม่
3.3 โครงการครอบครวั อุปถัมภ์ 44
3.4 โครงการพฒั นาระบบปกปอ้ งคุ้มครองเด็ก 45
3.5 การประชมุ คณะอนุกรรมการบรหิ ารกองทนุ ค้มุ ครองเด็ก 46

4. สตรีและครอบครวั 47
4.1 กจิ กรรมสง่ เสรมิ สมั พนั ธภาพของครอบครัว
4.2 กิจกรรมงานวันแห่งครอบครัว 48
4.3 โครงการรณรงค์ประชาสัมพนั ธ์ยุติความรนุ แรงต่อเดก็ สตรแี ละบุคคล
ในครอบครัว 49
4.4 กิจกรรมการประชุมคณะอนกุ รรมการสง่ เสริมและพฒั นาครอบครัว
จงั หวัดเชียงใหม่ 50
4.5 กจิ กรรมเสรมิ สร้างค่านิยมและวัฒนธรรมท่เี หมาะสมในเด็กและเยาวชน
จงั หวัดเชยี งใหม่ 4
4.6 กจิ กรรมวนั สตรสี ากลจงั หวดั เชียงใหม่ ประจำปี 2564 ภายใตแ้ นวคดิ 52
“เสริมพลังสตรแี ละเด็กหญงิ สูค่ วามเสมอภาค ร่วมตัดสินใจ ไรค้ วามรุนแรง” 53

5. ผสู้ งู อายุ 54
5.1 กจิ กรรมพฒั นาศักยภาพและสง่ เสริมการเรียนรู้ผู้สูงอายุในชุมชน 55
(โรงเรยี นผสู้ งู อาย)ุ 56
5.2 โครงการเสรมิ พลงั คลงั ปัญญาเพื่อคนทกุ วัย ปี 2564
57
5.3 โครงการพฒั นาศกั ยภาพอาสาสมัครพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์ 58
จังหวัดเชยี งใหม่ (เช่ียวชาญดา้ นผู้สงู อายุ) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 59

5.4 โครงการธนาคารเวลาของประเทศไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 60
5.5 กิจกรรมสนบั สนุนกลไกการพัฒนาผสู้ ูงอายใุ นชุมชน
5.6 โครงการปรบั สภาพแวดล้อมและสิง่ อำนวยความสะดวกของผูส้ งู อายุ 61

ใหเ้ หมาะสมและปลอดภัย ประจำปี ๒๕๖๔
5.7 โครงการสนับสนุนการจดั การศพผ้สู ูงอายุตามประเพณี
5.8 โครงการใหบ้ รกิ ารเงนิ สงเคราะห์ผู้สงู อายใุ นภาวะยากลำบาก
5.9 โครงการการกูย้ มื เงินทุนประกอบอาชีพกองทุนผูส้ ูงอายุรายบคุ คล
6. คนพิการ
6.1 โครงการอบรมอาสาสมคั รพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เชยี่ วชาญ

ดา้ นคนพกิ ารจงั หวดั เชยี งใหม่ (อพมก.) ประจำปี 2564
6.2 โครงการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การปรบั สภาพแวดล้อมที่อยู่อาศยั สำหรับ

คนพิการ

รายงานผลการดำเนินงาน ง

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวดั เชียงใหม่

สารบญั (ตอ่ ) หน้า
62
เรื่อง 63
6.3 กจิ กรรมสนบั สนนุ กายอุปกรณส์ ำหรบั คนพิการ(รถสามลอ้ โยก)
6.4 โครงการการดำเนนิ งานการสง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ สิทธิคนพิการ 64
(การจัดบรกิ ารลา่ มภาษามอื ) 65
6.5 โครงการจัดบริการผชู้ ่วยคนพิการ 66
6.6 กิจกรรมหลกั สง่ เสริมศกั ยภาพเพ่ือให้กลุ่มอาชีพ
6.7 โครงการการสง่ เสริมการการดำเนนิ งานการจัดบริการของศูนยบ์ รกิ าร 67
คนพกิ ารจังหวัด
6.8 โครงการขบั เคล่ือนและติดตามผลแผนพฒั นาคณุ ภาพชีวิตคนพกิ าร 68
จงั หวัดเชยี งใหม่ ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2560 – 2564
6.9 กิจกรรมการสนบั สนนุ งานคณะอนกุ รรมการส่งเสรมิ และพฒั นาคุณภาพชีวิต 69
คนพกิ ารประจำจังหวัดเชยี งใหม่ 70
6.10 กจิ กรรมจดั งานวันคนพิการสากลจังหวัดเชยี งใหม่ ประจำปี ๒๕๖4
6.1 การดำเนินงานการใหบ้ ริการกยู้ ืมเงินกองทุนสง่ เสริมและพัฒนาคุณภาพชวี ติ 71
คนพิการ 72
73
7. การพัฒนาเครอื ข่ายและอาสาสมคั ร
7.1 โครงการเงินอดุ หนนุ คนไทยตกทุกข์ไดย้ ากในประเทศกลบั ภูมิลำเนาเดิม 74
7.2 กิจกรรมประคณะอนกุ รรมการคนไร้ท่ีพงึ่ /ขอทานจังหวดั เชียงใหม่
7.3 กิจกรรมจดั อบรมพัฒนาศกั ยภาพอาสาสมัครพฒั นาสังคมและความม่นั คงของ 75
มนุษย์ใหม่ 76
7.4 กจิ กรรมจัดประชุมคณะกรรมการส่งเสรมิ การดำเนินงานอาสาสมคั รพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของมนุษย์ 77
7.5 กิจกรรมการขับเคลื่อนการสง่ เสรมิ ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกจิ
7.6 ประชมุ คณะอนุกรรมการบรหิ ารกองทุนส่งเสริมการจัดสวสั ดิการสงั คม 78
จังหวดั เชียงใหม่
7.7 ประชมุ คณะอนุกรรมการรบั รองมลู นิธิ สมาคม หรือองคก์ รภาคเอกชนเปน็
องค์กรสาธารณประโยชน์ และรบั รององค์กรภาคประชาชนเป็นองคก์ ร
สวัสดกิ ารชุมชนจงั หวัดเชยี งใหม่
7.8 โครงการคีตลา้ นนา มหากุศล (CSR เชียงใหม่ สายใยบุญ)
Live สด ผ่านเพจ: CSR เชยี งใหม่ สายใยบญุ

รายงานผลการดำเนินงาน ๑

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชยี งใหม่

สว่ นท่ี ๑
ข้อมลู พ้ืนฐาน

1. ข้อมูลจังหวดั เชยี งใหม่

ประวตั เิ มืองเชยี งใหม่
เมืองเชียงใหม่ มีชื่อที่ปรากฏในตำนานว่า "นพบุรีศรีนครพิงค์เชยี งใหม่" เป็นราชธานีของอาณาจักรล้านนา

ไทยมาตั้งแต่พญามังรายได้ทรงสร้างขึ้น เมื่อ พ.ศ.1839 และเมืองเชียงใหม่ได้มีวิวัฒนาการสืบเนื่องกันมาใน
ประวัติศาสตร์ตลอดมา เชียงใหม่มฐี านะเป็นนครหลวงอิสระ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มังราย ประมาณ 261 ปี
(ระหวา่ ง พ.ศ.1839 -2100) ในปพี .ศ. 2101 เชียงใหมไ่ ดเ้ สยี เอกราชให้แกก่ ษตั ริย์พมา่ ชื่อบเุ รงนอง และไดต้ กอยู่
ภายใต้การปกครองของพม่านานร่วมสองร้อยปี จนถึงสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ได้ทรงชว่ ยเหลือลา้ นนาไทยภายใต้การนำของพระยากาวลิ ะและพระยาจ่าบ้านใน
การทำสงครามขับไล่พม่าออกไปจากเชยี งใหม่และเมืองเชียงแสนไดส้ ำเร็จ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
มหาราช สถาปนาพระยากาวลิ ะเปน็ เจา้ เมืองเชียงใหม่ ในฐานะเมอื งประเทศราชของไทย และมีเชื้อสายของพระยา
กาวิละ ซึ่งเรียกว่าตระกูลเจ้าเจ็ดตน ปกครองเมืองเชียงใหม่ เมืองลำพูนและเมืองลำปางสืบต่อมาจนกระทั่งในรัช
สมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ปฏิรูปการปกครอง หัวเมืองประเทศราช ได้ยกเลิก
การมีเมืองประเทศราชในภาคเหนือ จัดต้ังการปกครองแบบมณฑลเทศาภิบาล เรียกว่า มณฑลพายัพ และเมื่อปี
พ.ศ.2476 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ปรับปรุงการปกครองเป็นแบบจังหวัด เชียงใหม่จึงมีฐานะเปน็
จังหวัดจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ ในการประชุมคณะรัฐมนตรีครั้งที่ 18/2554 เมื่อวันอังคารที่ 3 พฤษภาคม 2554
คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้ความเห็นชอบให้จังหวัดเชียงใหม่เป็น “นครที่เป็นที่สุดแห่งความสง่างามทางวัฒนธรรม”
(Chiang Mai : The Most Splendid City of Culture) และในปี พ.ศ.2559 จะถือเป็นปีครบรอบการสถาปนา
เมืองเชียงใหม่ อายคุ รบ 720 ปี รวมระยะเวลาของเชียงใหม่จนถงึ ปัจจบุ ัน พ.ศ.2564 อายุ 724 ปี

คำขวัญจงั หวดั เชียงใหม่ “ดอยสเุ ทพเปน็ ศรี ประเพณเี ปน็ สงา่ บปุ ผาชาตลิ ้วนงามตา นามลำ้ ค่านครพงิ ค์”

ตราประจำจังหวดั

รูปช้างเผือกหันหน้าตรงในเรือนแก้ว ความหมาย ช้างเผือก หมายถึง ช้างที่เจ้า
ผู้ครองนครเชียงใหม่ นำทูลเกล้าถวายแด่ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
และได้ขึ้นระวางเป็นช้างเผือกเอก ในรัชกาลพระองค์ เรือนแก้ว หมายถึง ดินแดนที่
พระพุทธศาสนาได้ตั้งมั่นเจริญรุ่งเรือง จนเคยเป็นสถานที่สำหรับสังคายนา (คือการชำระ
ความถูกตอ้ ง) พระไตรปีฏก เม่อื พุทธศกั ราช 2020

ต้นไม้ประจำจังหวัด “ตน้ ทองกวาว”
ดอกไมป้ ระจำจังหวดั “ดอกทองกวาว”

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๒
ความหนาแน่นของ
สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่
ประชากร
1.1 ทีต่ ั้งและอาณาเขต (ตร.กม./คน)
ตารางท่ี 1.๑ แสดงทต่ี ั้งและอาณาเขตพ้ืนทีจ่ ังหวดั เชยี งใหม่

จังหวัด พ้นื ท่ี ไร่ จำนวนประชากร
ตารางกโิ ลเมตร (คน)

เชียงใหม่ 20,107.057 13,865,388.61 1,784,370 88.74

ท่มี า : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 20 สงิ หาคม 2564

จังหวดั เชียงใหมต่ ั้งอย่ทู างทศิ เหนอื ของประเทศไทย เส้นรุ้งที่ 16 องศาเหนอื และเส้นแวงที่ 99 องศา
ตะวันออก สูงจากระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ 1,027 ฟุต (310เมตร) ห่างจากกรุงเทพมหานคร 696
กิโลเมตร โดยมีส่วนกว้างที่สุดจากทิศตะวันออกถึงตะวันตก กว้างประมาณ 138 กิโลเมตร และส่วนที่ยาวที่สุด
คือ จากทศิ เหนือถงึ ทิศใต้ ยาวประมาณ 320 กิโลเมตร (ยาวมากที่สุดของประเทศ)

1.1.1 อาณาเขต
ทิศ เหน ือ รัฐ ฉานของสหภ าพเมียนมาร์

โดยมีสันปันน้ำของดอยคำ ดอยปกเกล้า ดอยหลักแต่ง
ดอยถ้ำป่อง ดอยถ้วย ดอยผาวอก และดอยอ่างขาง
อันเป็นส่วนหนึง่ ของทิวเขาแดนลาว เป็นเส้นกั้นอาณาเขต
ทิศใต้ อำเภอสามเงา อำเภอแม่ระมาด และอำเภอท่าสอง
ยาง (จังหวัดตาก) มีร่องน้ำแม่ตื่นและสันปันน้ำ ดอยเรี่ยม
ดอยหลวงเปน็ เส้นก้ันอาณาเขต

ทิศตะวันออก ติดอำเภอแม่ฟ้าหลวง อำเภอเมือง
เชียงราย อำเภอแม่สรวย อำเภอเวียงป่าเป้า(จังหวัด
เชียงราย) อำเภอเมืองปาน อำเภอเมืองลำปาง (จังหวัด
ลำปาง) อำเภอบ้านธิ อำเภอเมืองลำพูน อำเภอป่าซาง
อำเภอเวียงหนองล่อง อำเภอบ้านโฮ่ง และอำเภอลี้
(จังหวดั ลำพนู ) ส่วนทต่ี ดิ จงั หวดั เชยี งรายและลำปาง มรี อ่ ง
น้ำลึกของแม่น้ำกก สันปันน้ำดอยซาง ดอยหลุมข้าว
ดอยแม่ววั น้อย ดอยวังผา และดอยแม่โต เปน็ เสน้ กนั้ อาณา
เขต ส่วนที่ติดจังหวัดลำพูนมีดอยขุนห้วยหละ ดอยช้างสูง
และร่องน้ำแม่ปิงเปน็ เส้นกนั้ อาณาเขต

ทิศตะวันตก ติดอำเภอปาย อำเภอเมือง
แม่ฮ่องสอน อำเภอขุนยวม อำเภอแม่ลาน้อย
อำเภอแม่สะเรยี ง และอำเภอสบเมย (จังหวัดแม่ฮ่องสอน) มีสนั ปนั น้ำดอยก่ิวแดง ดอยแปรเมือง ดอยแมย่ ะ ดอยอังเกตุ
ดอยแมส่ ุรินทร์ ดอยขนุ ยวม ดอยหลวง และรอ่ งแมร่ ดิ แม่ออย และสนั ปนั นำ้ ดอยขนุ แม่ต่นื เป็นเสน้ กนั้ อาณาเขต

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จังหวัดเชียงใหม่

พื้นทช่ี ายแดน
จังหวัดเชียงใหม่ มีชายแดนติดต่อกับประเทศพม่าเพียงประเทศเดียว และมีพื้นที่ติดต่อใน

5 อำเภอ ได้แก่
1) อำเภอแม่อาย : 4 ตำบล ได้แก่ ตำบลแม่อาย ตำบลมะลิกา ตำบลแม่สาว และตำบลท่าตอน

เมอื ง ท่ีตดิ ตอ่ คือ เมอื งยอน รัฐฉาน
2) อำเภอฝาง : 2 ตำบล ได้แก่ ตำบลม่อนปิ่น และตำบลแม่งอน เมืองที่ติดต่อ คือ บ้านโป่ง

ปา่ แขม เมอื งต่วน รฐั ฉาน
3) อำเภอเชยี งดาว : 1 ตำบลได้แก่ ตำบลเมืองนา เมอื งท่ีติดต่อ คอื บ้านน้ำยมุ เมืองต่วนรฐั ฉาน
4) อำเภอเวียงแหง : 3 ตำบล ได้แก่ ตำบลเปียงหลวง ตำบลเมืองแหง และตำบลแสนไห

เมืองทต่ี ดิ ตอ่ คือ บ้านบางใหม่สูง บ้านปางเสอื เฒ่า บา้ นกองเฮือบนิ เมืองต่วน รฐั ฉาน
5) อำเภอไชยปราการ : 1 ตำบล ได้แก่ ตำบลหนวงบัว เมืองที่ติดต่อ คือ บ้านโป่งป่าแขม

เมืองตว่ น รัฐฉาน
1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ

จังหวัดเชียงใหม่มีพื้นที่ 20,107.057 ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ 13,865,388.61 ไร่
มีพื้นที่กว้างใหญ่เป็นอันดับที่ 1 ของภาคเหนือ และเป็นอันดับที่ 2 ของประเทศ รองจากจังหวัดนครราชสีมา
ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปมีสภาพพื้นที่เป็นภูเขาและป่าไม้มีที่ราบอยู่ตอนกลางตามส องฟากฝั่งแม่น้ำปิงจำแนก
เป็น พื้นที่ป่าไม้ 69.92% (8,787,656 ไร่) พื้นที่ทางการเกษตร 12.82% (1,835,425 ไร่) พื้นที่อยู่อาศัย
และอน่ื ๆ 17.26% (2,167,971 ไร)่

มีภูเขาที่สูงที่สุดในประเทศไทยคือ ดอยอินทนนท์สูงประมาณ 2,565.3355 เมตร อยู่ในเขต
อำเภอจอมทอง นอกจากนี้ยังมีดอยอื่นที่มีความสูงรองลงมาอีก 3 หลายแห่ง เช่น ดอยผ้าห่มปก สูง 2,285 เมตร
ดอยหลวงเชยี งดาว สูง 2,170 เมตร ดอยสุเทพสูง 1,601 เมตร สภาพพื้นท่ีแบง่ ออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ

- พื้นที่ภูเขา ส่วนใหญ่อยู่ทางทิศเหนือ และทิศตะวันตกของจังหวัด คิดเป็นพื้นที่ประมาณ ร้อยละ 80
ของพ้ืนทีจ่ งั หวัดเปน็ พืน้ ทป่ี ่าต้นน้ำลำธาร ไม่เหมาะสมตอ่ การเพาะปลูก

- พื้นที่ราบลุ่มและที่ราบเชิงเขา กระจายอยู่ทั่วไประหว่างหุบเขาทอดตัวในแนวเหนือ - ใต้ ได้แก่
ท่ีราบลุ่มน้ำสาละวิน ลุ่มน้ำกก-โขง และลุม่ น้ำปิงเป็นพ้นื ทท่ี ี่มีความอดุ มสมบูรณ์เหมาะสมตอ่ การเกษตร

ทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดเชียงใหม่มีป่าไม้หลายประเภท ประกอบด้วย ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าเต็งรังผสมป่าสนเขา และป่าแดง เป็นต้น พื้นที่ป่าไม้ ประกอบด้วย
ป่าธรรมชาติ สวนป่า และป่าฟื้นฟูตำมธรรมชำติ โดยมีพื้นท่ีป่าไม้อยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ 12,222,395 ไร่
คิดเป็น ร้อยละ 69.93 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด แบ่งเป็นป่าสงวนแห่งชำติ จำนวน 25 แห่ง อุทยานแห่งชาติ 14 แห่ง
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง วนอุทยานแห่งชำติ 2 แห่ง และเขตห้ามล่าสัตว์ป่า 1 แห่ง และ
จังหวัดเชียงใหม่ยังเป็นจังหวัดที่ถือได้ว่ามีพื้นที่เขตเมืองใกล้กับเขตอุทยานแห่งชาติมากที่สุดในประเทศอีกด้วย
อุทยานแห่งชาติในจังหวัดเชียงใหม่ 13 อุทยาน แม่น้ำสำคัญ คือ แม่น้ำปิง และมีแหล่งน้ำขนาดใหญ่ 2 แห่ง คือ
เข่ือนแมก่ วงอุดมธารา อำเภอดอยสะเก็ด และเขือ่ นแม่งดั สมบรู ณ์ชล อำเภอแมแ่ ตง

รายงานผลการดำเนินงาน ๔

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์จังหวดั เชยี งใหม่

1.3 ลกั ษณะภมู อิ ากาศ
เชียงใหม่เป็นจังหวัดที่มีสภาพอากาศค่อนข้างเย็นเกือบตลอดทั้งปี มีอุณหภูมิ เฉลี่ยทั้งปี

25.4 องศาเซลเซียส โดยมีค่าอุณหภูมิสงู สดุ เฉล่ีย 31.8 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดเฉลีย่ 20.1 องศาเซลเซียส
มปี ริมาณนำ้ ฝนเฉล่ีย 1,100 - 1,200 มิลลิเมตร สภาพภมู อิ ากาศจังหวัดเชียงใหม่อยู่ภายใต้อิทธิพลมรสุม 2 ชนิด
คือ ลมมรสมุ ตะวันตก-เฉยี งใตแ้ ละลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือแบ่งภมู ิอากาศออกเป็น 3 ฤดู ได้แก่

ฤดฝู น เร่ิมตงั้ แตก่ ลางเดอื นพฤษภาคมถงึ เดือนตุลาคม
ฤดหู นาว เริ่มต้ังแตเ่ ดือนพฤศจิกายนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์
ฤดูร้อน เร่ิมต้งั แต่เดือนกมุ ภาพันธ์ถงึ กลางเดอื นพฤษภาคม

1.4 ขอ้ มลู การปกครอง
ตารางที่ 1.๒ แสดงจำนวนเขตการปกครองพืน้ ทจ่ี ังหวดั เชียงใหม่

จงั หวดั อำเภอ ตำบล หมูบ่ ้าน อบจ. เทศบาล (หน่วย:แหง่ ) อบต.
นคร 89
เทศบาล เทศบาล
เมือง ตำบล

เชียงใหม่ 25 204 2,066 1 1 4 116

ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564

จังหวัดเชียงใหม่แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ 204 ตำบล 2,066 หมู่บ้าน และองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด จำนวน 1 แห่ง เทศบาลนคร จำนวน 1 แห่ง เทศบาลเมือง จำนวน 4 แห่ง เทศบาลตำบล
จำนวน 116 แห่ง และองคก์ ารบริหารส่วนตำบล จำนวน 89 แห่ง

และมหี นว่ ยงานทต่ี ้ังอยู่ในพื้นที่ ประกอบด้วย หน่วยงานบริหารราชการส่วนกลาง จำนวน 166 หน่วยงาน
หน่วยงานบริหารราชการส่วนภูมิภาค จำนวน 34 หน่วยงาน หน่วยงานบริหารราชการส่วนท้องถิ่น จำนวน
211 แหง่

ตารางที่ 1.3 แสดงจำนวนแบง่ เขตการปกครองตามรายอำเภอ

ลำดับ ชือ่ อำเภอ จำนวน หมูบ่ ้าน ชุมชน อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต.
ตำบล นคร เมอื ง ตำบล
1
1 เมอื งเชยี งใหม่ 16 78 7 1 1 5 8 1
6
2 จอมทอง 6 103 - - - -6 2
1
3 แม่แจม่ 7 104 - - - -2 8
5
4 เชยี งดาว 7 83 - - - -7 4
7
5 ดอยสะเกด็ 14 112 - - - - 13

6 แมแ่ ตง 13 119 - - - -4

7 แม่รมิ 11 92 - - - -6

8 สะเมิง 5 45 - - - -1

9 ฝาง 8 119 - - - -3

รายงานผลการดำเนินงาน ๕

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ ังหวัดเชียงใหม่

ลำดับ ชือ่ อำเภอ จำนวน หมู่บา้ น ชมุ ชน อบจ. เทศบาล เทศบาล เทศบาล อบต.
ตำบล นคร เมือง ตำบล
10 แม่อาย
11 พร้าว 7 93 - - - -16
12 สันป่าตอง 11 109 - - -
13 สันกำแพง 11 120 - - - -64
14 สันทราย 10 100 - - -
15 หางดง 12 125 - - - -58
16 ฮอด 11 109 - - -
17 ดอยเตา่ 6 61 - - - -54
18 อมก๋อย 6 43 - - -
19 สารภี 6 95 - - - - 10 -
20 เวียงแหง 12 106 - - -
21 ไชยปราการ 3 23 - - - -83
22 แม่วาง 4 44 - - -
23 แมอ่ อน 5 58 - - - -34
24 ดอยหล่อ 6 49 - - -
25 กัลยาณวิ ฒั นา 4 54 - - - -15
3 22 - - -
-16

- 11 1

- -3

-22

-15

- -6

-31

- -3

1.5 ดา้ นประชากร
จังหวัดเชียงใหม่ มีประชากรรวมทั้งสิ้น 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน หญิง921,496

คน (ขอ้ มลู ณ เดอื นธันวาคม 256๓) อำเภอทมี่ ีประชากรมากท่สี ุด ได้แก่ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 229,111
คน คิดเป็นร้อยละ 12.84 ของประชากรทั้งหมด รองลงมาได้แก่ อำเภอสันทราย จำนวน 138,563 คน คิดเป็น
ร้อยละ 7.77 และอำเภอที่มีประชากรน้อยที่สุด ได้แก่ อำเภอกัลยาณิวัฒนา จำนวน 12,699 คน คิดเป็น
ร้อยละ 0.71

ตารางที่ 1.4 แสดงสถิตปิ ระชากร

หมายถึงจำนวนประชากรได้เพมิ่ ข้นึ เมอื่ เทยี บกบั ปกี ่อน หมายถงึ จำนวนประชากรได้ลดลงเมอ่ื เทยี บกับปกี อ่ น
หมายถึงจำนวนประชากร เทา่ เดิม เมอ่ื เทยี บกับปกี อ่ น

อันดบั อำเภอ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
๒๕๖๓ 2562 2561 2560 2559 2558 2557
๒๓๔,๒๔๔
1 เมืองเชียงใหม่ 229,111 233,632 234,870 234,649 234,837 235,589 ๑2๗,๐๖๒
๑๑๒,๘๔๗
2 สนั ทราย 138,563 135,964 134,574 133,063 131,414 130,251 ๘๓,๓๙๙
๘๘,๘๓๕
3 ฝาง 122,607 120,759 119,635 118,324 118,075 117,589 ๘๓,๓๑๐

4 เชียงดาว 98,938 96,494 93,128 92,588 91,829 91,457

5 แม่รมิ 94,258 94,337 94,260 93,185 91,558 90,706

6 หางดง 90,966 90,128 88,926 87,890 86,435 85,175

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๖

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวัดเชยี งใหม่

อนั ดบั อำเภอ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
๒๕๖๓ 2562 2561 2560 2559 2558 2557
7 สันกำแพง 88,234 87,640 86,457 85,563 84,327 82,906 ๘๑,๑๔๔
8 สารภี 86,936 85,565 84,626 83,504 82,247 81,156 ๗๙,๙๙๖
9 แมแ่ ตง 81,272 80,303 76,512 75,790 75,699 75,893 ๗๕,๐๔๔
10 แม่อาย 78,113 78,565 78,423 78,300 77,778 77,533 ๗๓,๕๓๗
11 สนั ป่าตอง 74,540 75,097 75,233 75,416 75,290 75,329 ๗๕,๓๙๐
12 ดอยสะเกด็ 74,980 74,172 73,220 72,571 72,064 71,316 ๗๐,๒๑๔
13 จอมทอง 66,248 66,729 66,729 66,792 66,811 66,738 ๖๖,๕๓๑
14 อมกอ๋ ย 61,909 63,610 63,224 62,833 62,317 61,899 ๖๑,๐๗๖
15 แมแ่ จ่ม 59,918 60,179 60,180 59,728 59,515 59,145 ๕๘,๖๙๘
16 ไชยปราการ 50,364 49,239 48,882 46,013 45,962 45,954 ๔๔,๗๖๐
17 พร้าว 48,264 48,514 51,771 49,120 49,258 49,463 ๔๙,๓๒๔
18 เวียงแหง 53,924 52,030 46,517 45,149 44,563 44,305 ๒๗,๕๒๗
19 ฮอด 43,437 43,756 43,930 43,849 43,803 43,809 ๔๓,๘๐๙
20 แม่วาง 31,919 31,883 31,827 31,834 31,625 31,695 ๓๑,๔๗๒
21 ดอยเตา่ 27,279 27,395 27,404 27,406 27,393 27,458 ๒๗,๔๐๖
22 ดอยหล่อ 25,160 25,689 25,919 26,052 25,931 26,041 ๒๖,๐๘๓
23 สะเมงิ 23,641 23,780 23,737 23,690 23,642 23,580 ๒๓,๓๘๖
24 แม่ออน 21,090 21,184 21,315 21,266 21,296 21,287 ๒๑,๒๘๑
25 กัลยาณิวฒั นา 12,699 12,610 12,443 12,265 12,093 11,968 ๑๑,๙๐๘
1,784,370 1,779,254 1,763,742 1,746,840 1,735,762 1,728,242 ๑,๖๗๘,๒๘๔
รวม
ทมี่ า : ทท่ี ำการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563

เมื่อเปรียบเทียบจำนวนประชากรจังหวัดเชียงใหม่ปี ๒๕๖๐-๒๕๖๓ พบว่าจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นโดยในปี
๒๕๖๐ มีจำนวนประชากร 1,746,840 ราย ปี ๒๕๖๑ จำนวนประชากร 1,763,742 ราย ปี ๒๕๖๒ จำนวน
ประชากร 1,779,254 ราย และปี ๒๕๖๓ มีจำนวนประชากร 1,784,370 ราย ตามแผนภูมทิ ี่ 2.1

แผนภมู ทิ ี่ 1.1 แสดงจำนวนประชากรจงั หวดั เชยี งใหมป่ ี ๒๕๖๐ – ๒๕๖๓

ตารางเปรียบเทยี บ จานวนประชากรจงั หวดั เชยี งใหม่
ปี ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓

1,746,840 1,763,742 1,779,254 1,784,370

2560 2561 2562 2563

ทีม่ า : ท่ีทำการปกครองจังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๗

สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ ังหวดั เชยี งใหม่

ตารางที่ 1.5 แสดงจำนวนประชากรแยกตามชว่ งอายุ จำแนกตามเพศ และจงั หวัดเชยี งใหม่

(หนว่ ย : คน)

จำนวนประชากรจังหวัดเชียงใหม่ 1,784,370 คน

เป็นชาย 862,874 คน

เปน็ หญิง 921,496 คน

อายุ ๐-๑๗ ปี อายุ ๑๘ – ๒๕ ปี อายุ ๒๖ – ๕๙ ปี อายุ ๖๐ ปขี น้ึ ไป

ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญิง รวม

177,805 168,481 346,236 94,906 93,289 188,195 426,123 460,328 886,451 164,040 199,448 363,488

ร้อยละ 19.04 10.55 49.68 20.37
อันดบั 3 เด็ก อนั ดับ 4 เยาวชน อนั ดับ 1 วยั แรงงาน อนั ดับ 2 ผู้สงู อายุ

ทีม่ า : ระบบสถิติทางการทะเบยี น กรมการปกครอง ปี 2563

จงั หวัดเชียงใหม่ มีประชากรรวมท้ังส้ิน 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน เป็นหญิง 921,496 คน
มีประชากรช่วงอายุ 26 – 59 มากที่สุด จำนวน 886,451 คน คิดเป็นร้อยละ 49.68

รองลงมา ได้แก่ ประชากรช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 363,488 คน คิดเป็นร้อยละ 20.37 ช่วงอายุ
0 - 17 ปี จำนวน 346,236 คน คิดเป็นร้อยละ 19.40 และช่วงอายุที่มีประชากรน้อยสุด ได้แก่ ช่วงอายุ 18 -
๒๕ ปี จำนวน 188,195 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.55

หากประชากรแยกช่วงอายุ คิดจากประชากรที่มีสัญชาติไทยและอยู่ในทะเบียนบ้าน จะพบว่า
จำนวน 1,623,419 คน แยกเปน็ ชาย 780,217 คน หญงิ 843,202 คน

แผนภูมทิ ่ี 1.2 แสดงจำนวนประชากรในเขตพื้นที่จงั หวัดเชยี งใหม่

ปีระมดิ ประชากร

164,040 60+ 199,448

จานวน 426,123 26-59 460,328 ชาย
หญิง
94,906 18-25 93,289

177,805 0-17 168,431
อายุ

รายงานผลการดำเนินงาน ๘

สำนักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวดั เชียงใหม่

ตารางท่ี 1.6 สถิตจิ ำนวนประชากรและบ้าน พนื้ ท่จี งั หวัดเชียงใหม่ ขอ้ มูล ปี 2563

พน้ื ท่ี ชาย (คน) หญงิ (คน) รวม (คน) บา้ น (หลัง)
835,977
ยอดรวมทั้งหมด 862,874 921,496 1,784,370 90,147
43,174
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลนครเชยี งใหม่ 57,313 65,314 122,627 40,555
37,559
อำเภอหางดง 35,444 39,820 75,264 27,851
25,432
อำเภอฝาง 55,506 56,609 112,115 24,369
22,383
อำเภอแม่รมิ 41,656 43,154 84,810 22,382
22,364
อำเภอแม่อาย 33,747 33,732 67,479 21,860
19,855
อำเภอสันป่าตอง 28,172 31,623 59,795 17,996
15,526
อำเภอแมแ่ ตง 29,875 30,135 60,010 15,144
13,995
อำเภอสนั กำแพง 20,207 22,577 42,784 13,842
12,944
อำเภออมก๋อย 30,686 30,145 60,831 11,531
11,522
อำเภอสารภี 21,693 24,611 46,304 11,389
11,293
อำเภอดอยสะเกด็ 22,251 24,119 46,370 11,264
10,832
อำเภอจอมทอง 28,057 28,919 56,976 10,016
9,783
อำเภอแมแ่ จ่ม 29,072 28,219 57,291 9,622
9,486
อำเภอพรา้ ว 18,434 18,873 37,307 9,414
9,411
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลสันทรายหลวง 12,882 15,455 28,337 9,198
9,153
ท้องถิ่นเทศบาลเมืองแม่โจ้ 10,691 12,576 23,267 9,034
8,989
ทอ้ งถิ่นเทศบาลเมืองแม่เหยี ะ 8,934 10,721 19,655

ท้องถนิ่ เทศบาลเมอื งตน้ เปา 8,790 10,473 19,263

อำเภอไชยปราการ 17,255 17,280 34,535

อำเภอดอยหล่อ 12,229 12,931 25,160

อำเภอเชียงดาว 13,010 13,579 26,589

ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลสุเทพ 8,477 8,631 17,108

อำเภอเมืองเชียงใหม่ 6,615 7,426 14,041

ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลปา่ แดด 8,096 9,471 17,567

อำเภอสันทราย 9,462 10,695 20,157

อำเภอแม่วาง 13,602 13,738 27,340

อำเภอฮอด 12,631 12,932 25,563

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลฟ้าฮา่ ม 3,237 3,728 6,965

อำเภอเวยี งแหง 27,193 26,731 53,924

อำเภอแมอ่ อน 10,455 10,635 21,090

ท้องถ่ินเทศบาลตำบลเมืองนะ 18,324 19,024 37,348

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลหนองจ๊อม 7,792 9,319 17,111

ท้องถนิ่ เทศบาลตำบลสนั ปเู ลย 7,689 8,904 16,593

ท้องถิ่นเทศบาลตำบลสนั กำแพง 8,187 9,463 17,650

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๙

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่

พืน้ ที่ ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) บา้ น (หลัง)
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลชา้ งเผอื ก 4,227 4,759 8,986 8,888
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลหนองผึ้ง 7,200 8,380 15,580 8,718
อำเภอดอยเตา่ 11,502 11,484 22,986 8,684
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลสันนาเม็ง 5,853 6,921 12,774 8,138
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลไชยปราการ 7,545 8,284 15,829 6,594
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลปา่ ไผ่ 6,473 7,178 13,651 6,053
อำเภอสะเมิง 9,302 8,967 18,269 6,038
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลหนองป่าคร่งั 3,375 3,948 7,323 6,035
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลแม่ริม 4,416 5,032 9,448 5,752
ท้องถน่ิ เทศบาลเมืองเมืองแกนพัฒนา 6,247 6,632 12,879 5,691
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลหนองหอย 3,544 4,267 7,811 5,443
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลทา่ ศาลา 3,251 3,777 7,028 5,433
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลยางเนงิ้ 4,723 5,658 10,381 5,388
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลบา้ นกลาง 4,828 5,456 10,284 5,320
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลสันมหาพน 3,962 4,421 8,383 4,984
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลแม่อาย 5,153 5,481 10,634 4,853
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลจอมทอง 4,294 4,978 9,272 4,522
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลปงิ โคง้ 7,555 6,452 14,007 4,468
อำเภอกัลยาณิวัฒนา 6,552 6,147 12,699 4,250
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเวียงฝาง 4,098 4,481 8,579 3,937
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลแมแ่ ฝก 4,255 4,806 9,061 3,889
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบวกคา้ ง 4,067 4,470 8,537 3,874
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเจดยี แ์ ม่ครวั 3,839 4,227 8,066 3,862
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลบอ่ หลวง 6,096 6,030 12,126 3,829
ท้องถิน่ เทศบาลตำบลหางดง 3,344 3,925 7,269 3,813
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเชิงดอย 3,692 4,028 7,720 3,617
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลหนองตองพฒั นา 3,932 4,501 8,433 3,521
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลท่าข้าม 2,759 2,989 5,748 3,461
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลสนั พระเนตร 2,816 3,323 6,139 3,322
ท้องถ่ินเทศบาลตำบลชมภู 3,602 3,927 7,529 3,067
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลทุง่ ข้าวพวง 5,454 5,388 10,842 3,033
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลเวยี งพร้าว 2,234 2,587 4,821 2,810
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลสันปา่ ตอง 2,049 2,412 4,461 2,745
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลสารภี 3,367 3,775 7,142 2,667
ทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลแม่ปง๋ั 3,046 3,090 6,136 2,605
ทอ้ งถ่นิ เทศบาลตำบลสะเมิงใต้ 2,689 2,683 5,372 2,531

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๐

สำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั เชียงใหม่

พ้นื ท่ี ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) บา้ น (หลัง)
ท้องถน่ิ เทศบาลตำบลเชียงดาว
ท้องถิน่ เทศบาลตำบลแมว่ าง 1,869 2,105 3,974 2,300
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลดอยสะเกด็
ทอ้ งถนิ่ เทศบาลตำบลเมืองงาย 2,152 2,427 4,579 2,186
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลท่าเดื่อ-มืดกา
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลแมแ่ จ่ม 2,015 2,282 4,297 2,128
ทอ้ งถน่ิ เทศบาลตำบลพระธาตปุ ู่กำ่
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบ้านแม่ข่า 1,795 2,031 3,826 1,931
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลอมก๋อย
2,091 2,202 4,293 1,859

1,296 1,331 2,627 1,606

1,157 1,195 2,352 1,103

942 971 1,913 889

552 526 1,078 825

ท่ีมา : ระบบสถติ ทิ างการทะเบยี น กรมการปกครอง ปี 2563

จากจำนวนประชากร จำนวน 1,784,370 คน แยกเป็นชาย 862,874 คน หญิง 921,496 คน
พบว่าในเขตพื้นท่ีท้องถิน่ เทศบาลนครเชียงใหม่ มีจำนวนบา้ นมากท่ีสุด จำนวน 90,147 หลัง และรองลงมา ได้แก่
อำเภอหางดง จำนวน 43,174 หลัง อำเภอฝาง จำนวน 40,555 หลัง ส่วนจำนวนบ้านที่มีน้อยที่สุด
จำนวน 825 หลงั คอื พน้ื ทท่ี อ้ งถิ่นเทศบาลตำบลอมก๋อย

1.6 ด้านศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและขอ้ มูลชาตพิ ันธุ์

จังหวัดเชียงใหม่เป็นนครแห่งวัฒนธรรมที่รุ่งเรืองและมีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 724 ปี
มีศิลปะวัฒนธรรม ประเพณีที่มีเอกลักษณ์มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ถ่ายทอดสู่งานหัตกรรมที่มีคุณค่า รวมทั้งมีความ
หลากหลายของชาติพันธุ์ชนเผ่าที่มีวัฒนธรรมโดดเด่นและหลากหลายถึง 13 ชนเผ่า เป็นชาวเขา 7 เผ่า
และ เป็นชนกล่มุ นอ้ ย 5 กลมุ่

1.๖.1 ศาสนา
ประชากรจังหวัดเชียงใหม่มีผู้นับถือ ศาสนาพุทธ จำนวน 1,633,355 คน (คิดเป็นร้อยละ 91.80

ของประชากรจงั หวดั เชียงใหม)่ มีผู้นับถอื ศาสนาคริสต์ จำนวน 99,637 คน (คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.60 ของประชากร
จังหวัดเชียงใหม)่ มผี ้นู บั ถือ อิสลาม จำนวน 20,817 คน (คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.17 ของประชากรจงั หวัดเชยี งใหม)่

1.๖.2 ภาษา
ภาษาราชการท่ีใช้ในจังหวัดเชียงใหม่ ใช้ภาษาไทยเป็นหลัก และมภี าษาท้องถนิ่ ซึง่ เรยี กว่า “ภาษาคำ

เมอื ง” ซง่ึ แตล่ ะทอ้ งถน่ิ ของภาคเหนอื มลี ักษณะของภาษาทค่ี ลา้ ยๆกนั จะแตกตา่ งกนั เฉพาะสำเนยี งและศัพทบ์ างคำ
1.๖.๓ ประเพณี วฒั นธรรม
เมอื งเชยี งใหม่มีประวัติศาสตร์ท่ยี าวนาน คนเชยี งใหมไ่ ด้สง่ั สมวัฒนธรรมประเพณีสืบทอดมาจากบรรพ

บุรุษอย่ำงต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่มีความผูกพันกับพุทธศาสนาและความเชื่อดั้งเดิม ประเพณี ที่สำคัญ ได้แก่ ปีใหม่
เมือง (สงกรานต์) จัดขึ้นระหว่างวันที่ 13-15 เมษายนของทุกปี เป็นประเพณีที่สำคัญ แบ่งเป็นวันที่ 13 เป็นวัน
สังขารล่อง มีขบวนแห่พระพุทธสิหิงค์ และพิธี สรงน้าพระ วันที่ 14 เป็นวันเน่า ชาวบ้านจะเตรียมข้าวของไปวัด
และรดนำ้ ดำหวั ผ้ใู หญว่ นั ต่อไป

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๑

สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนษุ ย์จงั หวดั เชียงใหม่

วันท่ี 15 เมษายน ประเพณีรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่ และ มกี ารเล่นสาดน้ำตลอดช่วงเทศกำล ประเพณียี่เป็ง

จัดขึ้นในช่วงวันลอยกระทงของทุกปี ราวเดือนพฤศจิกายน มีการตกแต่ง บ้านเรือนและสถานที่ต่างๆ ด้วยโคมชนดิ

ต่างๆ มีการปล่อยโคมลอย มีการลอยกระทง ประกวด กระทงและนางนพมาศ ประเพณีเข้าอินทขิล จัดขึ้นในช่วง

เดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน ที่วัดเจดีย์หลวง เป็นการบูชา เสาหลักเมืองโดยการนำดอกไม้ธูปเทียนมาใส่ขันดอก

เทศกาลรม่ บอ่ สร้าง จดั ขนึ้ ในเดอื นมกราคมของทุกปี ทีศ่ นู ยห์ ตั ถกรรมทำร่มบ่อสร้าง อำเภอ สันกำแพง มกี ำไรแสดง

และจำหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน มีการแสดงทางวัฒนธรรม ขบวนแห่ ประเพณี พื้นบ้าน มหกรรมไม้ดอกไม้ประดับ

จัดขึ้นในอาทิตย์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี บริเวณ สวนสาธารณะบวกหาด มีขบวนรถบุปผาชาติ

และนางงามบปุ ผาชาติ

ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ จัดขึ้นในเดือนเมษายน ในวันที่ 15 เป็นต้นไปของทุกปี ที่บริเวณ ตัวเมือง

จอมทอง มีขบวนรถจากชุมชน ห้างร้าน กลุ่มต่างๆ กว่า 40 ขบวน แห่ไปตามเมืองจอมทอง อำเภอจอมทอง

จนถึง วัดพระธาตุศรีจอมทองวรวิหาร เป็นประเพณีที่สืบทอดกันมานานกว่า 200 ปี ตามตำนานเกิดขึ้นที่

อำเภอจอมทอง ถือเป็นแห่งแรกของประเทศไทยและแห่งเดียวในโลก ประเพณีแห่ไม้ค้ำโพธิ์ กลายเป็นต้นแบบของ

การแหไ่ ม้คำ้ สะหลีของชาวล้านนา จนได้รับความนยิ มไปทัว่ ภาคเหนือ

1.6.4 กล่มุ ชาติพันธ์ุ

ตารางที่ 1.7 แสดงจำนวนกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุ

ลำดับ กลุ่มชาติพันธ์ุ จำนวน (คน)

๑ กะเหรี่ยง ๑๔๖,๔๓๕

๒ ลาหู่ ๔๖,๓๙๐

๓ มง้ ๒๖,๙๖๔

๔ ลีซู ๒๐,๑๗๘

๕ อาข่า ๙,๘๗๕

๖ ลัวะ ๒,๕๓๗

๗ เมยี่ ง ๑,๑๔๙

๘ อ่ืนๆ ๙๕,๕๙๐

รวม ๓๔๙,๑๑๘

ทม่ี า : ศนู ยพ์ ฒั นาราษฎรบนพน้ื ที่สูงจงั หวัดเชียงใหม่ ปี 2563

กลมุ่ ชาตพิ ันธใุ์ นจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรกลุ่มชาติพันธ์ุ จำนวน 349,118 คน เป็นชาย174,557 คน
หญิง 174561 คน คิดเป็นร้อยละ 21.58 ของประชากรทั้งหมด โดยแยกเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ดังนี้ จำนวนประชากร
มากสุด กะเหรี่ยง จำนวน 146,435 คน รองลงมา ลาหู่ จำนวน 46,390 คน และม้ง จำนวน 26,964 คน
ลีซู จำนวน 20,178 คน อาข่า จำนวน 9,875 คน ลัวะ จำนวน 2,253 คน และจำนวนที่มีประชากรน้อยสุด
เมี่ยง จำนวน 1,149 คน (ไม่ระบุชาติพันธ์ุ จำนวน 95,590 คน)

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๒

สำนักงานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่

1.๗ ดา้ นสาธารณสขุ

ตารางท่ี 1.8 แสดงจำนวนหนว่ ยบริการสาธารณสุข ภาครัฐและภาคเอกชน จังหวดั เชยี งใหม่

(หนว่ ย:แหง่ )

โรงพยาบาลสงั กดั ภาครฐั (แหง่ ) โรงพยาบาลสงั กัดเอกชน
จังหวัด รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. อน่ื ๆ (แห่ง)

เชียงใหม่ 1 2 21 268 94 14

ที่มา HDC Report สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเชียงใหม่ วันที่ 20 สิงหาคม 2564
หมายเหตุ รพศ. = โรงพยาบาลศูนย์/รพท. = โรงพยาบาลทว่ั ไป/รพ.สต. = โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบล /รพช. = โรงพยาบาลชมุ ชน/อ่ืน ๆ

จังหวัดเชียงใหม่ มีโรงพยาบาลสังกัดภาครัฐ ทั้งหมดจำนวน 386 แห่ง แยกเป็น โรงพยาบาลศูนย์
จำนวน 1 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 2 แห่ง โรงพยาบาลชุมชนจำนวน 21 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตำบลจำนวน 268 แหง่ อน่ื ๆ จำนวน 94 แหง่ และโรงพยาบาลสงั กดั เอกชน 14 แหง่

ตารางที่ 1.9 แสดงบริการด้านสาธารณสุข

ลำดบั ท่ี สังกัด จำนวน (แหง่ ) เตยี ง

๑ สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 24 1,199

๒ นอกสงั กดั สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ 5 999

๓ สังกัดกระทรวงอืน่ ๆ 4 1,132

๔ เอกชน 15 1,669

รวม 48 4,999

ท่ีมา : สำนกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเชยี งใหม่ ข้อมลู ณ พฤษภาคม 2563

จังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวนสถานบริการ ทั้งหมด 48 แห่ง โดยมีเตียงรม 4,999 เตียง แยกได้เป็นสังกัด

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 24 แห่ง มี 1,199 เตียง เอกชน จำนวน 15 แห่ง มี 1,669 เตียง

นอกสังกดั สำนกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข จำนวน 5 แหง่ มี 999 เตียง

และสังกัดกระทรวงอ่ืนๆ จำนวน 4 แหง่ มี 1,132 เตยี ง

ตารางท่ี 1.10 แสดงจำนวนประชากรต่อแพทย์ในจังหวัดเชียงใหม่

บุคลากร สังกดั สำนักงาน อัตราสว่ น โรงพยาบาลรฐั นอก โรงพยาบาล รวม อัตราสว่ น

สาธารณสุข ปลดั กระทรวง ต่อประชากร สงั กัดสำนกั งาน เอกชน ตอ่

สาธารณสขุ ปลดั กระทรวง ประชากร

อัตราส่วน สาธารณสขุ

แพทย์ 592 1:4,119 432 364 1,388 1,282

ทนั ตแพทย์ 153 1:11,629 153 27 333 5,343

เภสัชกร 252 1:7,06 121 164 537 3,313

พยาบาลวชิ าชพี 2,779 1:640 2,171 1,390 6,340 281

ที่มา : สำนกั งานสาธารณสุขจงั หวัดเชยี งใหม่ ขอ้ มลู ณ พฤษภาคม 2563

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๓

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่

สำหรับบุคลากรทางด้านสาธารณสุข สามารถจำแนกตามวิชาชีพ โดยสรุป คือ มีพยาบาลวิชาชีพมากที่สุด
จำนวน 6,340 คน อัตราต่อประชากร คือ 1 ต่อ 281 คน มีเภสัชกร จำนวน 537 คน อัตราต่อประชากร
คือ 1 ต่อ 3,313แพทย์ จำนวน 1,388 คน อตั ราตอ่ ประชากร คอื 1 ตอ่ 1,282 มีทนั ตแพทย์ จำนวน 333 คน
อตั ราตอ่ ประชากร คอื 1 ต่อ 5,343

ตารางท่ี 1.11 อตั ราการเกิด - การตาย และอัตราการเพมิ่ ตามธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2557 – 2563

ปี พ.ศ. 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

อตั ราการเกิด 1/ 10.14 10.40 10.40 10.28 9.99 9.60 8.86

อัตราการตาย 2/ 8.55 8.43 9.03 8.54 8.52 9.16 8.74

อัตราการเพ่มิ ตามธรรมชาติ 3/ 1.58 1.97 1.37 1.74 1.47 0.44 0.12

1/ อตั ราเกิดต่อประชากร 1,000 คน 2/ อัตราตายต่อประชากร 1,000 คน 3/ อัตราการเพิม่ ตามธรรมชาติตอ่ ประชากร 1000 คน

ทม่ี า : กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำนกั งานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสขุ ขอ้ มูล ณ 28 เมษายน 2564

อตั ราการเกดิ - การตาย และอตั ราการเพ่ิมตามธรรมชาติ ปี พ.ศ. 2557 – 2563 พบว่า มีอัตราการเกิด

การตาย และอัตราการเพิม่ ตามธรรมชาตมิ ีแนวโน้มลดลงต่อเน่อื ง

ตารางท่ี 1.12 แสดงสาเหตกุ ารตาย ๕ อนั ดบั แรกจากโรคต่างๆ จงั หวดั เชยี งใหม่ (หน่วย:คน)

จงั หวัด โรคโลหิตจางอื่นๆ โรคปอดบวม การบาดเจบ็ ระบุเฉพาะ โรคหลอดลมอักเสบ โรคต้อกระจก

อืน่ ๆ , ไม่ระบเุ ฉพาะ ถุงลมโป่งพองและ และความ

และหลายบรเิ วณใน ปอดชนิดอดุ ก้นั แบบ ผดิ ปกตขิ องเลนส์

รา่ งกาย เรือ้ รังอืน่ อ่ืน ๆ

เชียงใหม่ 6,814 6,364 5,928 5,540 3,672

ทม่ี า : สำนกั งานสาธารณสขุ จังหวัดเชยี งใหม่ ระบบ HDC ขอ้ มูล วันที่ 23 สิงหาคม 2564

สาเหตุการเสียชีวิต ๕ อันดับแรกจากโรคต่างๆ จังหวัดเชียงใหม่ ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

เชียงใหม่ พบวา่ อนั ดบั 1 ไดแ้ ก่ โรคโลหิตจางอื่น ๆจำนวน 6,814 คน อันดับ 2 โรคปอดบวม จำนวน 6,364 คน
อันดับ 3 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณในร่างกาย จำนวน 5,928 คน อันดับ 4
โรคหลอดลมอักเสบ ถุงลมโป่งพองและปอดชนิดอุดกั้นแบบเรื้อรังอื่น จำนวน 5,540 คน และอันดับที่ 5
โรคต้อกระจกและความผดิ ปกตขิ องเลนสอ์ น่ื ๆ จำนวน 3,672 คน

1.๘ ด้านการศึกษา
จังหวัดเชียงใหม่มีสถานศึกษา ปีการศึกษา 2563 รวมทั้งสิ้น 735 แห่ง โดยแยกเป็นระดับประถมศึกษา

มัธยมศึกษา อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา โดยมีครู/อาจารย์ รวมทั้งสิ้น 24,339 คน และ มีจำนวนนักเรียน/
นักศึกษารวมทง้ั ส้นิ 276,472 คน

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๑๔

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชยี งใหม่

ตารางที่ 1.13 แสดงประเภทการจัดศึกษา สถานศึกษา ครู/อาจารย์ นกั เรยี น
ลำดับที่ ประเภทการจดั การศกึ ษา (แหง่ ) (คน) (คน)

๑ ระดบั ประถมศึกษา (สพฐ.) 671 9,793 129,456

๒ ระดับมัธยมศึกษา (สพฐ.) 34 2,443 38,208

๓ อาชีวศึกษา (รัฐและเอกชน) 18 1,613 23,005

๔ อดุ มศึกษา (ศธ.และอื่นๆ) 12 10,490 85,803

รวม 735 24,339 276,472

ท่มี า : สำนกั งานศึกษาธิการจงั หวัดเชียงใหม่ ขอ้ มูลปีการศึกษา 2563

ประเภทการจัดการศึกษาในจังหวัดเชยี งใหม่ ระดบั ประถมศกึ ษา (สปฐ) จำนวนสถานศึกษา 671 แห่ง คร/ู
อาจารย์ จำนวน 9,793 คน นักเรียน จำนวน 129,456 คน ระดับมัธยมศึกษา (สพฐ) จำนวนสถานศึกษา
34 แห่ง ครู/อาจารย์ จำนวน 2,443 คน นักเรียน จำนวน 38,208 คน ระดับอาชีวศึกษา (รัฐและเอกชน)
จำนวนสถานศึกษา 18 แห่ง ครู/อาจารย์ จำนวน 1,613 คน นักเรียน จำนวน 23,005 คนระดับอุดมศึกษา
(ศธ.และอืน่ ๆ) จำนวนสถานศกึ ษา 12 แหง่ ครู/อาจารย์ จำนวน 10,490 คน นกั เรยี น จำนวน 85,803 คน

ตารางที่ 1.14 จำนวนนักเรยี นนกั ศกึ ษาในระบบ จำแนกตามระดับชน้ั ปี พ.ศ. ๒๕๖2 (หนว่ ย:คน)

จังหวดั ระดับการศึกษา (คน) ป.ตรี รวม
อนบุ าล ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ปวช. ปวส.

เชียงใหม่ 47,071 132,206 66,424 43,252 15,531 8,771 81,623 394,878

ท่มี า : ขอ้ มลู พนื้ ฐานด้านการศกึ ษาจงั หวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2562

การศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่ในปีการศึกษา พ.ศ. 2562 มีจำนวนนักเรียนและนักศึกษาทั้งหมด
รวม 394,878 คน โดยแยกเป็น อนุบาล จำนวน 47,071 คน ประถมศกึ ษา 132,206 คน มัธยมตน้ 66,424
คน มัธยมปลาย 43,252 คน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 15,531 คน ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง
(ปวส.) จำนวน 8,771 คน และระดับปรญิ ญาตรี จำนวน 81,623 คน

ตารางที่ 1.15 สถานศึกษาในระบบ นอกระบบ จำแนกรายสงั กัด รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563

(หนว่ ย:จำนวน:แห่ง)

รายการสถานศกึ ษา (แหง่ )

ในระบบ ทอ้ งถิ่น นอกระบบ รวม
สพฐ. เอกชน อาชีวศึกษา อดุ มศกึ ษา สำนกั พทุ ธ ฯ กศน.

686 142 8 18 74 28 336 1,292

ท่ีมา : ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อมลู ณ วันท่ี 27 สิงหาคม 2564

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๑๕

สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั เชียงใหม่

สถานศึกษาในระบบและนอกระบบ จำแนกรายสังกัด รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563 รวมทั้งหมด
มี 1,292 แห่ง โดยแกเป็น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 686 แห่ง โรงเรียนเอกชน
จำนวน 142 แห่ง ระดับอาชีวศึกษา จำนวน 8 แห่ง ระดับอุดมศึกษา จำนวน 18 แห่ง โรงเรียนในสังกัดปกครอง
ส่วนท้องถิ่น จำนวน 74 แห่ง โรงเรียนในสังกัดสำนักพุธทพระศาสนา จำนวน 28 แห่ง และการศึกษานอกระบบ
จำนวน 336 แห่ง

ตารางที่ 1.16 ข้อมูลจำนวนสถานศึกษา นักเรียน/นักศึกษา ครู/อาจารย์ ห้องเรียน แต่ละสังกัด ปีการศึกษา

2563 ในจังหวดั เชยี งใหม่

หน่วยงาน/ผ้จู ดั จำนวน จำนวน นกั เรียน (คน) ครู/อาจารย์

สถานศึกษา หอ้ งเรียน (คน)

สังกดั กระทรวงศึกษาธกิ าร (สพฐ.)

สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 842 8,823 127,769 12,688

1) สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา

- สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 1 86 966 21,002 1,536

- สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 2 132 1,294 23,201 1,915

- สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 3 156 1,953 41,215 2,608

- สำนักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษา เขต 4 93 872 15,641 1,152

- สำนักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา เขต 5 97 1,163 14,394 1,284

- สำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษา เขต 6 100 997 15,003 1,298

- สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 34 34 1,169 38,208 2,443

2) การจัดการศกึ ษาทางเลือก

- โดยครอบครัว 127 127 161 127

- โดยองค์กรตา่ งๆ 8 8 229 8

3) สำนักงานบริหารการศึกษาพเิ ศษ

- ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ เขตการศกึ ษา 8 1 31 606 71

- โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ 4 107 3,062 133

- โรงเรียนเฉพาะความพกิ าร 4 136 1,047 113

สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 638 2,926 89,210 5,469

1) สำนกั คณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน (สช)

- กล่มุ โรงเรียนสามญั ศึกษา 128 2,174 65,668 3,619

- กลมุ่ โรงเรยี นนานาชาติ 22 264 4,333 750

2) สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอธั ยาศัย (กศน)

- กศน.จงั หวดั เชยี งใหม่ 488 488 19,209 758

สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ) 18 839 23,005 1,613

- ภาครัฐ 8 508 14,431 1,083

- ภาคเอกชน 10 331 8,574 530

สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ

กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน

- โรงเรยี นตำรวจตระเวนชายแดน 16 123 1,554 147

ขนึ้ ตรงต่อนายกรฐั มนตรี

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๑๖

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จังหวดั เชียงใหม่

หน่วยงาน/ผจู้ ัด จำนวน จำนวน นกั เรียน (คน) คร/ู อาจารย์

สถานศกึ ษา หอ้ งเรยี น (คน)

- โรงเรยี นพระปรยิ ัตธิ รรม 28 221 3,726 321

กระทรวงมหาดไทย

กรมสง่ เสรมิ ปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน

- โรงเรยี นสังกดั อบจ./อบต./เทศบาล 78 648 16,722 700

- ศนู ย์พฒั นาเดก็ เล็ก/ปฐมวยั 2 – 5 ปี 613 613 19,457 -

กระทรวงการทอ่ งเท่ยี วและกฬี า

- มหาวิทยาลัยการกฬี าแห่งชาติ 1 9 213 23

- มหาวทิ ยาลยั การกฬี าแห่งชาติ วทิ ยาเขตเชยี งใหม่ 1 56 1,218 82

กระทรวงการอดุ มศึกษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัยและ

นวตั กรรม

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา (สกอ.) 12 66 85,883 10,391

- โรงเรียนสาธติ 3 66 2,218 112

- มหาวิทยาลัย 9 - 83,665 10,279

กระทรวงวัฒนธรรม

สถาบนั นัณฑติ พฒั นศิลป์

- วทิ ยาลัยนาฎศลิ ป์ 1 22 679 63

กระทรวงสาธารณสขุ

วิทยาลยั พยาบาล 1 8 613 63

รวมท้ังสนิ้ 2,249 14,354 415,049 31,560

ทีม่ า: ข้อมูลสารสนเทศด้านการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563 สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั เชยี งใหม่

จำนวนสถานศึกษาในจงั หวดั เชยี งใหม่ มีทัง้ สิน้ จำนวน 2,249 แห่ง มจี ำนวนห้องเรยี น 14,354 ห้อง

มนี ักเรียนทง้ั หมด 415,049 คน และมีคร/ู อาจารย์ 31,560 คน

ตารางท่ี 1.17 ข้อมูลจำนวนนกั เรยี นพิการ จำแนกตามประเภทความพิการ

ที่มา: ขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2563 สำนักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั เชยี งใหม่

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๗

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวัดเชยี งใหม่

ข้อมูลจำนวนนักเรียนพิการจำแนกตามประเภทความพิการในสถานศึกษา ในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งหมด
มี 9 ประเภทความพิการ จำนวนนักเรียนพิการ รวมทั้งสิ้นจำนวน 10,908 คน สูงสุดเป็น ประเภทความพิการ
ทางการเรยี นรู้ จำนวน 8,415 คน พิการทางสติปัญญา 1,141 คน และออทสิ ติก 320 คน ตามลำดับ

ตารางท่ี 1.18 ข้อมลู จำนวนนักเรียนออกกลางคนั จำแนกตามประเภทและสงั กดั

ท่มี า: ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา ปีการศึกษา 2563 สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดเชยี งใหม่

ตารางที่ 1.19 คะแนนเฉล่ยี การทดสอบ O-Net ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2559 – 2561

จงั หวดั ปีการศกึ ษา 2561
2559 2560

ระดับประเทศ 34.48 33.23 35.02

เชยี งใหม่ 37.25 36.08 37.85

ท่มี า : สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)

คะแนนเฉลี่ยการทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ. 2559 – 2561 ในปี 2559

ในจังหวดั เชียงใหม่ มรี ะดบั คะแนนคิดเปน็ ร้อยละ 37.25 มากกว่าระดบั ประเทศ ท่ีมรี อ้ ยละ 34.48 ในปี 2560

ในจังหวัดเชียงใหม่ มรี ะดับคะแนนคิดเป็นร้อยละ 36.08 มากกว่าระดับประเทศ ที่มรี ้อยละ 33.23 ในปี และในปี

2561 ในจังหวดั เชียงใหม่ มรี ะดับคะแนนคดิ เปน็ ร้อยละ 37.85 มากกวา่ ระดบั ประเทศ ทม่ี รี ้อยละ 35.02

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๘

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัดเชียงใหม่

แผนภูมิที่ 1.3 แสดงคะแนนเฉลย่ี การทดสอบ O-Net ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (%) ปี พ.ศ.2559 – 2561

กราฟแสดงคะแนนเฉลย่ี การทดสอบ O-Net ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย (%)
ปี พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๖๓ รายปี

40

30 ปี 2560 ปี 2561
ปี 2559

ระดับประเทศ จงั หวัดเชยี งใหม่

ตารางที่ 1.20 คา่ เฉลี่ยเชาวนป์ ญั ญา (IQ) ของเด็กนักเรียนไทยช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 (คะแนน) ปี พ.ศ. 2559

จงั หวัด ค่าเฉลี่ยเชาวนป์ ัญญา (IQ)

ระดับประเทศ 98.23

จงั หวดั เชียงใหม่ 101.35

ทม่ี า : กรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสขุ สืบคน้ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2564

จากการสำรวจระดับสติปัญญานักเรียนไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศ ในปี 2559 โดยใช้

เครื่องมือ Standard Progressive Matrices (SPM parallel version: update 2003) พบระดับเชาวน์ปัญญา

(Intelligent Quotient : IQ) เฉล่ียเท่ากับ 98.23 ถอื เปน็ ระดบั สติปัญญาที่อยู่ในเกณฑ์ปกติ แตค่ ่อนไปทางต่ำกว่า

ค่ากลางของมาตรฐานสากลในยุคปัจจบุ ัน (IQ=100) ในระดบั จงั หวดั เชยี งใหม่ พบระดับเชาวนป์ ัญญา (Intelligent

Quotient : IQ) เฉลี่ยเทา่ กบั 109.17

1.๙ ดา้ นแรงงาน
ตารางท่ี 1.21 ภาวการณ์มีงานทำของประชากรในจงั หวดั เชียงใหม่ ไตรมาส 4 (ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๓)

(หน่วย:คน)

จงั หวัด กำลงั แรงงานในปจั จบุ นั กำลงั แรงงาน ผไู้ มอ่ ยใู่ นกำลังแรงงาน
ผู้มงี านทำ ผวู้ า่ งงาน ที่รอฤดูกาล ทำงานบ้าน เรียนหนงั สือ อน่ื ๆ

เชียงใหม่ 1,033,678 16,029 373 72,849 110,611 218,926

ทม่ี า : สำนักงานสถติ ิแห่งชาติ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 20 สิงหาคม 2564

การมีงานทำไตรมาส 4 ป 2563 (เดือนตุลาคม - ธันวาคม 2563) ผูมีงานทำในจังหวัดเชียงใหม
จำนวน 1,033,678 คน ผู้วางงาน จำนวน 16,029 คน หรือมีอัตราการวางงาน รอยละ 1.53 ซึ่งชะลอตัวจาก
ไตรมาสกอนหนา ซึ่งมีผูวางงาน จำนวน 31,550 คน หรือมีอัตราการวางงานรอยละ 3.29 กำลังแรงงานที่รอ
ฤดกู าล จำนวน 373 คน

ผู้ไม่อยู่ในกำลังแรงงาน ได้แก่ ทำงานบ้าน จำนวน 72,849 คน เรียนหนังสือจำนวน 110,611
คน และอน่ื ๆ จำนวน 218,926 คน รายละเอียดแยกเพศ ตามตารางท่ี 1.22

รายงานผลการดำเนินงาน ๑๙

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั เชียงใหม่

โดยอาชีพที่มีผูทำงานมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ (1) ผูปฏิบัติงานที่มีฝมือในดานการเกษตรและการ
ประมง อัตรารอยละ 30.47 หรือจำนวน 315,002 คน (2) พนักงานบริการและพนักงานในรานคาฯ อัตรา รอย
ละ 18.42 หรือจำนวน 190,360 คน (3) อาชีพ ขั้นพื้นฐานตางๆ ในดานการขาย และการใหบริการ อัตรารอย
ล ะ 14.87 ห ร ื อ จ ำ น ว น 153,696 ค น ( 4) ผู ป ฏ ิ บ ั ต ิ ง า น ด า น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ท า ง ฝ มื อ
และธุรกิจการคาที่เกี่ยวของ อัตรารอยละ 14.49 หรือจำนวน 149,769 คน และ (5) ผูประกอบวิชาชีพ
ดานตาง ๆ อตั รารอยละ 5.65 หรือมจี ำนวน 58,399 คน

ตารางที่ 1.22 ประชากรจังหวัดเชยี งใหม จำแนกตามเพศและสถานภาพแรงงาน

สถานภาพแรงงาน ชาย หญิง รวม

อายุ 15 ปข้นึ ไป 703,286 749,180 1,452,466

1. กำลังแรงงานรวม 555,100 494,980 1,050,080

1.1 ผมู ีงานทำ 549,126 484,552 1,033,678

1.2 ผวู างงาน 5,974 10,055 16,029

1.3 กำลังแรงงานทร่ี อฤดกู าล - 373 373

2. ผูไมอยูในกำลงั แรงงาน 148,186 254,200 402,386

2.1 ทำงานบาน 3,998 68,851 72,849

2.2 เรียนหนังสอื 47,097 63,515 110,611

2.3 อน่ื ๆ 97,092 121,834 218,926

ทีม่ า : สำนกั งานสถิติจังหวดั เชยี งใหม ปี 2563

สถานภาพแรงงานอายุ 15 ปขึ้นไปในจังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวนรวม 1,452,466 คน เป็นหญิง
มากกว่าชาย เป็นหญิงจำนวน 749,180 คน เป็นชายจำนวน 703,286 คน โดยเป็นกำลังแรงงานรวม
1,050,080 คน และผูไมอยูในกำลงั แรงงานจำนวน 402,386 คน

1.9.1 อัตราการการมงี านทำ
อัตราการจ้างงานเป็นตัวชี้วัดท่ีแสดงให้เหน็ ภาวะการมีงานทำในตลาดแรงงานของจังหวัดเชียงใหม่

ว่ามีสัดส่วนมากน้อยเพียงใด ในไตรมาส 4 ปี 2563 พบว่าอัตราการจ้างงานในจังหวัดอยู่ที่ร้อยละ 64.82
ใกล้เคยี งกับไตรมาสทแ่ี ล้วที่อยทู่ ่ีร้อยละ 61.43 และเพิ่มขน้ึ จากไตรมาสเดยี วกันปีก่อนที่อยู่ทรี่ ้อยละ 59.58 อตั รา
การจา้ งงานในภาคเกษตรจงั หวัดเชยี งใหม่

สำนกั งานสถติ จิ งั หวัดเชียงใหม่ ได้ดำเนินการสำรวจภาวการณ์มีงานทำของประชากรในช่วงไตรมาส
4 ปี 2563 (เดือนตลุ าคม - ธนั วาคม 2563) พบวา่

- มีประชากรอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป จำนวน 1,452,466 คน ร้อยละ 98.44 ผู้ว่างงาน จำนวน
16,029 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.53 และกำลังแรงงาน ท่รี อฤดูกาล จำนวน 373 คน ร้อยละ 0.04

- เพศชาย มีอัตราการจ้างงานมากกว่าเพศหญิง เพศชาย ร้อยละ 53.12 เพศหญิง ร้อยละ 46.88
ของจำนวนกำลังแรงงาน จำแนกตามเพศท้ังหมด และเม่ือพจิ ารณาในภาพรวมจะพบวาอตั ราการมีงานทำ

- ซึ่งคำนวณจากสัดสวนผูมีงานทำตอผูอยูในกำลังแรงงานมีอัตรารอยละ 98.44 นั่นหมายความวา
ผูอยูในกำลงั แรงงาน จำนวน 100 คน จะมีงานทำประมาณ 98 - 99 คน ซ่งึ อตั ราการจางงานในภาพรวมไตรมาส
น้มี สี ัดสวนขยายตวั เพิ่มขนึ้ จากไตรมาสกอน

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๒๐

สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวัดเชียงใหม่

- ในดานสถานภาพการทำงานของผูมีงานทำจังหวัดเชียงใหม พบวา สวนใหญเปนลูกจางเอกชน

กลาวคือ รอยละ 37.98 หรือจำนวน 392,599 คน รองลงมาทำงานสวนตัว มีอัตรารอยละ 31.06 หรือจำนวน

321,052คน และชวยธุรกิจครัวเรือน รอยละ 20.54 หรือจำนวน 212,369คน สวนผูมีงานทำที่มีสถานภาพ

เปนนายจางมีเพยี ง รอยละ 2.30 หรอื มจี ำนวน 23,750 คน

1.9.2 ผมู ีงานทำจังหวดั เชยี งใหม

โดยสรุปในภาพรวมจะพบว่าอัตราการมีงานทำหรือการ ส่วนรวมในกำลังแรงงานของจังหวัด

เชียงใหม่จะมีลักษณะการเคลื่อนย้ายแรงงานแบบเป็นวัฏจักรหรือวงจร ทั้งน้ี เพราะพื้นที่จังหวัดเป็นเขต

เกษตรกรรม ประชากรซึ่งเป็นกำลังแรงงานของจังหวัดจะอาศัยอยู่ในภาคส่วนของเกษตรกรรมเพื่อช่วย ครัวเรือน

ในการทำการเกษตรเป็นส่วนใหญ่เมื่อหมดฤดูเก็บเกี่ยวผลผลิตก็จะเคลื่อนย้ายไปหางานทำใน ภาคอุตสาหกรรมใน

จังหวัดอื่น ๆ และจะเคลื่อนย้ายกลับมาภาคเกษตรกรรมอีกครั้งในฤดูเพาะปลูก วนเวียนในลักษณะเช่นนี้อย่าง

เปน็ วฏั จกั รทกุ ปี จึงอาจสง่ ผลตอ่ การขาดแคลนแรงงานในบางฤดูกาล

ตารางที่ 1.23 ผูมงี านทำจังหวดั เชยี งใหมจำแนกตามอาชีพและเพศ ไตรมาส 4 ป 2563

(เดือนตลุ าคม - ธันวาคม 2563)

ประเภทอาชพี ชาย หญงิ รวม

1) ผบู ัญญัติกฎหมาย ขาราชการระดบั อาวุโส และผูจัดการ 16,760 21,629 38,389

2) ผปู ระกอบวชิ าชีพดานตางๆ 21,305 37,094 58,399

3) ผปู ระกอบวชิ าชีพดานเทคนิคสาขาตางๆ และอาชีพทีเ่ ก่ยี วของ 20,420 20,410 40,831

4) เสมยี น 11,325 27,633 38,958

5) พนักงานบรกิ ารและพนักงานในรานคาและตลาด 65,627 124,733 190,360

6) ผปู ฏบิ ตั ิงานทมี ฝี มือในดานการเกษตรและการประมง 188,528 126,474 315,002

7) ผปู ฏิบัตงิ านดานความสามารถทางฝมือและธุรกจิ การคาท่ีเกี่ยวของ 108,885 40,884 149,769

8) ผูปฏบิ ตั ิการโรงงานและเครือ่ งจกั รและผูปฏบิ ัติงาน 35,442 12,831 48,273

ดานการประกอบ

9) อาชีพขน้ั พ้ืนฐานตางๆ ในดานการขายและการใหบรกิ าร 80,832 72,864 153,696

รวม 549,126 484,552 1,033,678

1.9.3 การบริการจัดหางานในประเทศ

การบริการจัดหางานในประเทศ ในชวงไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564)

นายจาง/สถานประกอบการ ลงทะเบียนแจงความประสงคขอจางแรงงาน ณ สำนักงานจัดหางาน จังหวัดเชียงใหม

จำนวน 1,205 อตั รา มผี ูมาลงทะเบียนแจงความประสงคขอรบั การจางงาน จำนวน 883 คน ในจำนวนน้ีมีผูไดรับ

การบรรจุเขาทำงาน จำนวน 521 คน สวนตำแหนงงานวางตามระดับการศึกษา ทีต่ องการสูงสดุ คือ ระดับปริญญา

ตรีอยูที่รอยละ 27.14 (จำนวน 327 อัตรา) รองลงมาเปน ระดับมัธยมศึกษา อยูที่รอยละ 22.82 (จำนวน 275

อัตรา) สำหรับอาชีพที่มีตำแหนงงานวางมากที่สุด คือ ชางเทคนิคและผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ มีตำแหนง งานวาง

299 อัตรา หรือรอยละ 24.81 ของตำแหนงงาน วางท้ังหมด สวนการบรรจุงานมากที่สุด คือ ตำแหนงพนักงาน

บรกิ าร พนักงานขายในรานคาและตลาด บรรจงุ าน 272 อตั รา หรอื รอยละ 52.21

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๑

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จงั หวดั เชยี งใหม่

1.9.4 อัตราการจางแรงงานตางดาว
อัตราการจางแรงงานตางดาว ตอจำนวนผูมงี านทำท้งั หมด คิดเปนรอยละ 11.28 หมายถงึ ผูมีงาน

ทำทุก ๆ 100 คน จะมีการจางแรงงานตางดาวประมาณ 11 - 12 คน และอัตราการจางแรงงานตางดาว
3 สัญชาติ (เมียนมา ลาว กัมพูชา) ตอจำนวนผูมีงานทำทั้งหมดอยูที่รอยละ 4.52 แสดงวา ผูมีงานทำทุกๆ 100
คน จะเปนการจางแรงงานตางดาวสัญชาติเมียนมา ลาว กัมพูชา 4 - 5 คน (สำนักงานจัดหางานจังหวัดเชียงใหม่
,2563)

สำหรับตำแหน งงานวางไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวานาย
จาง/สถานประกอบการต องการจ างงานโดยไมระบุเพศ จำนวน 818 อัตรา หรือร อยละ 67.88 การท่ี
ตำแหนงงานวาง เกือบทั้งหมดไมไดระบุเพศ แสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือนายจาง พิจารณาเห็นวางาน
โดยทั่วไป ไมวาชายหรือหญิงก็สามารถทำไดเชนกัน หรือไมมีความแตกตางในเรื่องเพศ ในอีกประการหนึ่งนายจาง
พิจารณา เห็นวาการไมระบจุ ะมีผลดใี นดานโอกาสการคัดเลือกมากกวาการระบเุ พศ

1.9.5 ตำแหนงงานวาง
แผนภมู ิที่ 2.4 ตำแหนงงานวาง

269 อตั รา
118 อตั รา

818 อัตรา

ที่มา : สำนกั งานจัดหางานจงั หวัดเชยี งใหม่ ขอ้ มลู ปี 2563

ไตรมาส 1 ป 2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวานายจาง/ สถานประกอบการ
ตองการจางงานเพศชาย จำนวน 269 อตั รา คดิ เปน็ ร้อยละ 22.32% เพศหญิง 118 อัตรา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 9.79
% และไมระบุเพศจำนวน 818 อัตรา หรือ รอยละ 67.88 แสดงใหเห็นวาสถานประกอบการหรือนายจาง
พิจารณาเห็นวางานโดยทั่วไป ไมวาชายหรือหญิงก็สามารถทำไดเชนกัน หรือไมมีความแตกตาง ในเรื่องเพศ ในอีก
ประการหนง่ึ นายจางพิจารณา เหน็ วาการไมระบจุ ะมีผลดีในดานโอกาสการคัดเลอื กมากกวาการระบเุ พศ

1.9.6 แรงงานตางดาว
รายงานสถานการณ และดัชนีชี้วัดภาวะแรงงานจังหวัดเชียงใหม ของสำนักงานแรงงานจังหวัด

เชียงใหม่ ปี 2564 พบว่า จำนวนแรงงานตางดาวที่เขามาทำงานในจังหวัดเชียงใหมอยางถูกตองตามกฎหมาย
ณ เดือนมีนาคม 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 118,357 คน โดยเปนแรงงานตางดาว มติครม. 20 ส.ค. 62 จำนวน
62,370 คน (รอยละ 52.70) รองลงมาเปนชนกลุมนอย จำนวน 32,214 คน (รอยละ 27.22) แรงงานตางดาว
มติครม. 3 สัญชาติจำนวน 14,803 คน (รอยละ 12.51) มาตรา 59 (ชั่วคราวทั่วไป) จำนวน 4,509 คน
(รอยละ 3.81) นำเขาแบบ MOU มีจำนวน 3,856 คน (รอยละ 3.26) และ มาตรา 12 สงเสริมการลงทุน (BOI)
จำนวน 605 คน (รอยละ 0.51)

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๒

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวัดเชียงใหม่

แผนภมู ิท่ี 1.5 จำนวนแรงงานตางดาวเขามาทำงานในจังหวดั เชียงใหมอยางถูกตองตามกฎหมาย

ท่ีมา : สำนกั งานจดั หางานจังหวดั เชียงใหม่ ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2564

1.9.7 การเลกิ จางแรงงาน
สถานประกอบกิจการที่เลิกกิจการและลูกจางที่ถูกเลิกจางในจังหวัดเชียงใหมในไตรมาส 1 ป

2564 (เดือนมกราคม - มีนาคม 2564) พบวา สถานประกอบการที่เลิกกิจการ มีจำนวน 589 แหง ลูกจางถูก
เลิกจางจำนวน 2,219 คน สวนใหญเปนสถานประกอบการขนาดเล็ก 1 - 4 คน มีจำนวน 779 แหง มีลูกจางถูก
เลกิ จาง จำนวน 779 คน

ตารางที่ 1.24 จำนวนคนต่างดา้ วท่ไี ด้รับอนุญาตทำงานคงเหลอื พ.ศ.255๙-256๓ ของจงั หวัดเชยี งใหม่
(หนว่ ย: คน)

จังหวัด 255๙ 2560 2561 256๒ 256๓

เชยี งใหม่ 74,198 93,718 75,614 119,264 116,505

ท่มี า : สำนกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ขอ้ มูล ณ วันท่ี 27 สิงหาคม 2564

ในจังหวดั เชียงใหม่มีจำนวนคนต่างด้าวท่ีได้รบั อนุญาตทำงานคงเหลือ ใน ปี พ.ศ. 2559 จำนวน 74,198
คน ในปี พ.ศ. 2560 จำนวน 93,718 คน ในปี พ.ศ. 2561 จำนวน 75,614 คน ในปี พ.ศ. 2562
จำนวน 119,264 คน และในปี พ.ศ.2563 จำนวน 116,505 คน ซึง่ มีจำนวนลดลงเพยี งเล็กน้อยหากเปรียบใน
ปี 2562 และ 2563 และในชว่ งระยะเวลา 5 ปี มีการเพ่ิมขนึ้ จากปี 2559 รอ้ ยละ 63.7

1.๑0 ด้านที่อยู่อาศัย

ตารางท่ี 1.25 แสดงจำนวนชมุ ชนผู้มรี ายไดน้ อ้ ยของจังหวดั พ.ศ. 2562

จังหวัด จำนวน ชุมชนแออัด ชุมชนเมือง ชมุ ชนชานเมอื ง จำนวน (หนว่ ย:แห่ง:คน)
ชมุ ชน ครวั เรอื น บ้าน
ชุมชน ชุมชน ครัวเรอื น ชมุ ชน ครัวเรือน จำนวน จำนวน
ครวั เรอื น ประชากร

เชียงใหม่ 17 17 710 - - - - 629 710 2,840

ที่มา : กองยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศท่อี ยู่อาศยั ฝา่ ยวชิ าการพฒั นาที่อย่อู าศยั การเคหะแห่งชาติ ปี 2562 ข้อมูล ณ วันท่ี 20 สงิ หาคม 2564

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๓

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดเชยี งใหม่

ข้อมูลจากการเคหะแห่งชาติ ปี 2562 พบว่า ชุมชนผู้มีรายได้น้อยของจังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวน
17 ชุมชน ชุมชนแออัด จำนวน 17 ชุมชน 710 ครัวเรือน จำนวนบ้าน 629 แห่ง จำนวนครัวเรือน
710 ครัวเรือน รวมประชากร จำนวน 2,840 คน

1.๑1 ดา้ นเศรษฐกิจและรายได้
เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงใหม ป 2562 มีผลิตภัณฑมวลรวม มูลคา 259,026 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้น

จากป 2561 จำนวน 11,195 ลานบาท (ป พ.ศ. 2561 มีมูลคา 247,831 ลานบาท) สวนอตุ สาหกรรมท่ีมีผลิต
ภัณฑมวลรวมสูงสดุ 3 อันดับแรก ไดแก 1) เกษตรกรรม ปาไม และการประมง (รอยละ 19.23 ของ GPP) 2) การ
ขายสง-ขาย ปลีก การซอมแซมยานยนตฯ (รอยละ 13.93 ของ GPP) 3) กิจกรรมบริการที่พักและอาหาร
(รอยละ 9.38 ของ GPP)

ผลติ ภณั ฑม์ วลรวม

ตารางที่ 1.26 แสดงการขยายตัวของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจงั หวัด

จงั หวดั อตั ราการขยายตัว GPP (ร้อยละ)

ปี ๒๕๖๑ ปี ๒๕๖๒ ปี ๒๕๖๓
-
เชยี งใหม่ 3.2 2.4

ทมี่ า: ผลิตภัณฑภ์ าคและจงั หวัดแบบปรมิ าณลกู โซ่ พ.ศ. 2562 สำนักงานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ

ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) จังหวัดเชียงใหม่ มีอัตราการขยายตัวของ GPP ในปี 2562
ร้อยละ 2.4 ซ่ึงขยายตัวลดลง เมอ่ื เทียบกบั ปี 2563 ทีม่ ีอตั ราการขยายตวั ของ GPP ทรี่ ้อยละ 3.2

ตารางที่ 1.27 แสดงผลติ ภณั ฑจ์ ังหวดั ต่อหัว (GPP per capita) ปี ๒๕๖2
จังหวดั บาทตอ่ ปี

เชยี งใหม่ 143,638

ทีม่ า: ผลติ ภณั ฑภ์ าคและจงั หวดั แบบปรมิ าณลกู โซ่ ฉบบั พ.ศ. 2562 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capita) ปี 2562 ของจังหวัดเชียงใหม่เป็นอันดับที่ 28 จากการ
เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย โดยมีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว 143,638 บาทต่อปี เพิ่มขึ้นจากป พ.ศ. 2561
จำนวน 6,322 บาท (ป พ.ศ. 2561 มีมลู คา 137,316 บาท)

สำหรับผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว ย้อนหลังแสดงให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คือ ในปี พ.ศ. 2560
มีมลู ค่า 129,017 และในปี 2559 พบวา่ มีมลู คา่ 124,486 บาทต่อหวั

การขยายตัวทางเศรษฐกจิ
ข้อมูลจากสำนักงานแรงงานจังหวัด ตามไตรมาส 1 ปี 2564 พบว่า เศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่
ปี 2564 คาดว่าขยายตัวร้อยละ 2.7 โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (2.6 – 2.8) ปรับตัว ดีขึ้นจากการหดตัวรอ้ ยละ
- 11.6 ในปีกอ่ น ตามทกุ ภาคการผลิต

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๒๔

สำนักงานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์จงั หวดั เชียงใหม่

ดา้ นอปุ ทาน มแี นวโน้มขยายตวั จากการผลิตภาคบรกิ าร คาดวา่ ขยายตัวร้อยละ 2.5 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ (2.4 - 2.6) เพิ่มขึ้นจากการหดตัวร้อยละ - 22.0 ในปีก่อน สืบเนื่องจากมาตรการกระตุน้ การท่องเที่ยวใน
ประเทศและจังหวัดได้มีการจัดงาน/เทศกาลต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวชาวไทยเพิ่มขึ้น
ประกอบกับภาครัฐจะมีมาตรการผ่อนปรนเพื่อเปิดรับนักท่องเที่ยวชาวตา่ งชาติอีกทั้งช่วงปลายปีคาดว่าท่ัวโลกจะมี
การฉีดวัคซีนอย่างแพร่หลาย ที่เป็นปัจจัยหนุนให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ 6.7) เพิ่มข้ึนจากการหดตัวร้อยละ - 58
ในปีก่อน ซึ่งมีปัจจัยบวกที่ช่วยสนับสนุน เช่น สภาพอากาศที่เอื้ออำนวย ปริมาณน้ำฝนที่สูงกว่าปีก่อน เกษตรกรมี
การดูแลรักษาที่ดีขึ้น และแรงจูงใจจากนโยบายของภาครัฐในการช่วยเหลือเกษตรกร เป็นต้น สำหรับการผลิต
ภาคอุตสาหกรรม คาดว่าขยายตัว (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (29- 3.1) เพิ่มข้ึนจากการหดตัวร้อยละ 5.0
ในปีก่อน โดยปีนี้ผู้ประกอบการต้องปรับเปลี่ยนการดำเนินงานให้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค อีกทั้งต้อง
เผชิญกับ ความท้าทายหลายด้าน เช่น ภาวะการเปลี่ยนแปลง ภาวะการแข่งขัน และการสื่อสารที่ต่อเนื่อง/
เฉพาะเจาะจงแบบ Omni Channel เพือ่ การเขา้ ถงึ ท่ีครอบคลมุ

ด้านอุปสงค์ มีแนวโน้มขยายตัว ตามการใช้จ่ายภาครัฐ คาดว่าขยายตัวร้อยละ 9.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์
ร้อยละ 4.7 - 4.9) เพิ่มขึ้นจากการหดตัวร้อยละ 22 ในปีก่อน โดยในปี 2563 การลงทุนภาครัฐถือเป็นแรง
ขับเคลื่อนหลักในการกระตุ้นเศรษฐกิจ ส่วนปี 2564 มีมาตรการการคลังด้านการใชจ้ ่ายภาครัฐและโครงการคำใช้
จ่ายเพื่อแก้ไขปัญหา เยียวยา และพื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมฯ (โควิด 2019) เพื่อให้เม็ดเงินหมุนเวียนในระบบ
เศรษฐกิจ การลงทุนภาคเอกชน คาดว่าขยายตัวร้อยละ 1.1 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ (1.0 - 1.2) เพิ่มขึ้นจาก
การหดตัวร้อยละ -1.0 ในปีก่อน ซึ่งยอดชายวัสดุก่อสร้างมีทิศทางขยายตัวโดยเฉพาะร้านค้าก่อสร้างวัสดุสมัยใหม่
(Moder Trade) ทีส่ ามารถตอบสนองพฤติกรรมผู้บรโิ ภคแบบ New normal และสินเช่ือของสถาบันการเงินเฉพาะ
กจิ ท่คี าดว่าขยายตวั ตามนโยบายของภาครฐั ในการกระตุ้นเศรษฐกิจอย่างไรกด็ ีสินเชือ่ ของธนาคารพาณิชยค์ าดว่ายัง
หดตัว ตามการระมัดระวังในการให้สินเชื่อและความต้องการลงทุนที่สดลง ส่วนการบริโภคภาคเอกชน คาดว่า
ขยายตัวร้อยละ 1.0 (โดยมีช่วงคาดการณ์ร้อยละ 0.9 - 1.1) เพิ่มขึ้นจากการหดตัวร้อยละ 10.7 ในปีก่อน โดย
ผู้ประกอบการประเกทยานยนตเ์ ร่งจัดทำกลยทุ ธ์ท่ีกระตุ้นยอดขายอยา่ งต่อเนื่อง แต่ยังมีปัจจยั ท่ีจำกัด คือ กำลังซื้อ
ของผู้บรโิ ภคภาระหน้ีสินและความเข้มงวดของสถาบันการเงนิ เปน็ ต้น

จากรายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดเชียงใหม่ (กลุ่มงานบริหารการคลังและเศรษฐกิจ สำนักงาน
คลังจังหวัดเชียงใหม่) ในเดือนมิถุนายน 2564 พบว่า หดตัว จากผลกระทบของสถานการณ์ COVID-19 ที่ยืดเย้ือ
และมีหลายระลอก จึงส่งผลให้มีผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้น ภาคการผลิตหลัก คือ ภาคบริการเกิดการหดตัวมากขึ้น เชื่อมโยง
ถึงการบริโภค และการลงทุนภาคเอกชนช โดยผู้ประกอบการมีการชะลอการลงทุน ผู้บริโภคมีความกังวลต่อหลาย
ปัจจัยเสี่ยง โดยเฉพาะระดับ กำลังซื้อที่อ่อนแอและภาระหนี้สิน ซึ่งภาครัฐได้มีมาตรการต่างๆ ที่ช่วยเหลือและ
บรรเทาความเดือดร้อนในบางสว่ น นอกจากน้ี จงั หวัดเชียงใหม่ได้มแี นวคิดทจี่ ะทำโครงการ Charming Chiang Mai
Sand Box ในการกระตุ้นการท่องเที่ยว ส่วนภาคเกษตรกรรมหดตัว เนื่องจากปริมาณผลผลิตของข้าวและสุกรที่
ลดลง ซึ่งการผลิตผลผลิตที่ได้มาตรฐาน ถูกสุขอนามัย เป็นปัจจัยสำคัญที่จะส่งผลต่อคุณภาพของผลผลิตและสร้าง
ความมั่นใจแกผ่ ู้บรโิ ภค อย่างไรก็ตามผลผลิตที่มีการเติบโต ได้ดี คือ ผลผลิตของลำไย ข้าวโพดเลี้ยงสัตวแ์ ละมะม่วง
โดยเฉพาะผลผลิตลำไยที่ภาครัฐได้มีแนวทางในการบริหารจัดการด้านการตลาด เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรในด้าน
ระดับรายได้แต่มีปัญหาในเรื่องการขาดแคลนแรงงานจากสถานการณ์โควิด สำหรับภาคการผลิตที่ขยายตัว ได้แก่
การใช้จ่ายภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๕

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั เชยี งใหม่

เสถียรภาพเศรษฐกิจจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปของจังหวัด ในเดือนมิถุนายน ขยายตัว
ร้อยละ 1.6 เมื่อเทียบกับ เดือนเดียวกันปีก่อน และชะลอลงจากเดือนก่อนที่ขยายตัว ร้อยละ 2.0 ปัจจัยหลักมา
จากดัชนีราคาหมวดอื่น ๆ ไม่ใช่อาหาร และเครื่องดื่ม ขยายตัว ร้อยละ 2.8 ตามการสูงขึ้นของราคาสินค้าหมวด
พาหนะ การขนส่งและการสื่อสาร หมวดเครื่องนุ่งห่ม และรองเท้า ส่วนดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มี
แอลกอฮอล์ ขยายตัว ร้อยละ 0.1 ตามการเพิ่มขึ้นของราคาในหมวด เนื้อสัตว์ เป็ดไก่และสัตว์ หมวดไข่และ
ผลติ ภัณฑ์นม หมวดเคร่อื งประกอบอาหารและหมวดอาหารบริโภค-ในบ้าน เปน็ ต้น ท้ังนี้ สถานการณ์ด้านแรงงงาน
อยู่ในช่วงเปราะบาง โดยการจ้างงานเดือนมิถุนายน 2564 มีจำนวน 1,004,400 คน หดตัวร้อยละ -1.2
ส่วนจำนวนผูว้ ่างงานมจี ำนวน 29,200 คน อัตราการวา่ งงาน อยทู่ ่ี รอ้ ยละ 2.9 สำหรับจำนวนผู้ประกันตน มาตรา
33 หดตวั รอ้ ยละ -3.8

ตารางท่ี 1.28 แสดงรายไดโ้ ดยเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือนของจงั หวัด พ.ศ.๒๕๕๘ –๒๕๖๒

(หนว่ ย:บาท)

จังหวัด ๒๕๕๘ ๒๕๖๐ ๒๕๖๒

เชียงใหม่ 14,950.40 17,934.20 17,262.70

ทม่ี า สำนกั งานสถิติแห่งชาติ ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 20 สงิ หาคม 2564

รายไดโ้ ดยเฉล่ยี ต่อเดอื นต่อครัวเรือนของจังหวัดเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2558 มรี ายได้ 14,950.40 บาท/ปี
ปี พ.ศ. 2560 มีรายได้ 17,934.20 บาท/ปี ซ่งึ เพิ่มขึ้นคิดเป็นรอ้ ยละ 19.96

และ ปี พ.ศ. 2562 มรี ายได้ 17,262.70 บาท/ปี ซง่ึ ลงลงจากปี 2560 ร้อยละ 3.74

ตารางที่ 1.29 แสดงหนสี้ ินเฉล่ียต่อครัวเรอื น จำแนกตามวตั ถุประสงค์ของการกู้ยืม พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๒

(หน่วย:บาท)

จงั หวดั วัตถปุ ระสงค์ของการก้ยู ืม ๒๕๕๘ ๒๕๖๐ ๒๕๖๒

เชียงใหม่ หน้สี นิ ท้งั สิ้น 31,195.50 115,219.73 112,076.60
16,372.70 51,373.45 47,180.43
เพ่อื ใช้จ่ายในครวั เรอื น
เพอื่ ใชท้ ำธรุ กจิ ท่ีไม่ใช่ 1,093.20 4,297.98 3,812.56

การเกษตร 7,216.20 19,817.00 15,798.05
เพ่อื ใชท้ ำการเกษตร 434.10 252.16 945.43
เพอ่ื ใชใ้ นการศึกษา 6,039.10
39,206.14 44,340.13
เพ่ือใช้ซ้อื /เช่าซื้อบ้านและทีด่ ิน

อ่ืนๆ 40.30 - -

ทีม่ า สำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมลู ณ วนั ท่ี 20 สิงหาคม 2564
หมายเหต:ุ หนอี้ นื่ ๆ ไดแ้ ก่ หนจ้ี ากการคำ้ ประกันบคุ คลอน่ื หน้ีคา่ ปรับหรือจา่ ยชดเชยคา่ เสยี หายเปน็ ตน้

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๖

สำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนภูมิที่ 1.6 แสดงหนีส้ ินเฉล่ียต่อครวั เรอื น จำแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม พ.ศ. ๒๕๖2

วตั ถปุ ระสงค์ของการกู้ยืม เพื่อใชจ้ า่ ยในครวั เรือน
เพื่อใชท้ าธุรกิจทไ่ี มใ่ ช่การเกษตร
44,340.13 47,180.43 เพื่อใช้ทาการเกษตร
เพอื่ ใช้ในการศกึ ษา
15,798.05 เพ่ือใช้ซื้อ/เชา่ ชอ้ื บา้ นและท่ีดนิ

945.43 3,812.56

ข้อมูลด้านหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนปี 2562 ครัวเรือนในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ส่วนใหญ่เพื่อใช้จ่ายใน
ครัวเรือน เฉลี่ยครัวเรือนละ 47,180.43 บาท รองลงมา เป็นหนี้สินหรือมกี ารกู้ยืมเงิน เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซือ้ บ้านและ
ที่ดิน 44,340.13 บาท เพื่อใช้ทำการเกษตร 15,798.05 บาท เพื่อใช้ทำธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร 3,812.56

บาท และเพอ่ื ใชใ้ นการศกึ ษา 945.43 บาท

1.12 ดา้ นภาคเี ครอื ข่าย จำนวน หนว่ ย
ตารางที่ 1.30 แสดงจำนวนองค์กรภาคีเครือข่าย 516 องค์กร
189 กองทนุ
ประเภท 180 ตำบล
องค์กรสาธารณะประโยชน์ตาม พ.ร.บ. สง่ เสรมิ การจดั สวัสดกิ ารสงั คม 31 แหง่
กองทุนสวัสดกิ ารชมุ ชนตาม พ.ร.บ. ส่งเสรมิ การจัดสวัสดิการสงั คม 87 แห่ง
สภาองค์กรชมุ ชน 2,066 แห่ง
องค์กรคนพิการ 140 แหง่
ศูนยบ์ ริการคนพิการทวั่ ไป 53 แห่ง
ชมรมผสู้ งู อายุ (195,229 คน) 1,824 คน
โรงเรียนผ้สู งู อายุ 174 แห่ง
ศนู ย์พฒั นาคุณภาพชีวติ และสง่ เสริมอาชพี ของผูส้ งู อายุ (ศพอส.) 16 แหง่
Care giver 204 แห่ง
ศนู ย์พฒั นาครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 210 แห่ง
ศนู ย์ปฏิบตั ิการเพ่อื ป้องกนั การกระทำความรนุ แรงในครอบครวั ระดับตำบล (ศปก.ต.) 25 แห่ง
คณะกรรมการพัฒนาสตรี 1 แหง่
สภาเด็กและเยาวชนตำบล
สภาเดก็ และเยาวชนอำเภอ
สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด

รายงานผลการดำเนินงาน ๒๗

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั เชยี งใหม่

ประเภท จำนวน หน่วย

สถานรบั เลีย้ งเด็กเอกชน 185 แห่ง

สถานสงเคราะห์เดก็ เอกชน (จดทะเบียน 58 แห่ง ไม่จดทะเบียน 60 แห่ง) 118 แหง่

อาสาสมคั รพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ (อพม.) 3,878 คน

คลงั ปัญญาผูส้ ูงอายุ 631 คน

โครงการบา้ นม่ันคง (พอช.) 250 หลัง

องค์กรเอกชนด้านการป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนษุ ย์จงั หวดั เชยี งใหม่ 9 แห่ง

สถานคมุ้ ครองเอกชนเพ่ือการชว่ ยเหลอื และค้มุ ครองผูเ้ สียหายจากการค้ามนุษย์ 2 แหง่

ทีม่ า สำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนุษยจ์ งั หวัดเชียงใหม่ ขอ้ มลู ณ วันที่ 22 สิงหาคม 2564

องค์กรภาคีเครือข่าย มีดังนี้ องค์กรสาธารณประโยชน์ 516 องค์กรกองทุนสวัสดิการชุมชน 189 กองทุน
สภาองค์กรชุมชน 180 แห่ง องค์กรคนพิการ 31 แห่ง ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป 84 แห่ง ชมรมผู้สูงอายุ 2,066
ชมรม ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพของผู้สูงอายุ (ศพอส.) 54 แห่ง Care giver 1,824 คน ศูนย์พัฒนา
ครอบครัวในชุมชน (ศพค.) 174 แห่ง ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรงในครอบครัวระดับตำบล
(ศปก.ต.) 16 แห่ง คณะกรรมการพัฒนาสตรี 204 แห่ง สภาเด็กและเยาวชนตำบล 210 แห่ง สภาเด็กและเยาวชน
อำเภอ 25 แห่ง สภาเด็กและเยาวชนจังหวัด 1 แห่ง อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (อพม.) 3,878
คน สภาองคก์ รชุมชน 57 ตำบล คลังปัญญาผูส้ ูงอายุ 631 คน โครงการบา้ นม่ันคง (พอช.) 250 หลัง องค์กรเอกชนด้าน
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ 9 แห่ง และสถานคุ้มครองเอกชนเพื่อการช่วยเหลือและ
คุ้มครองผู้เสยี หายจากการค้ามนุษย์ 2 แหง่

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๒๘

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดเชียงใหม่

2. ข้อมลู สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั เชียงใหม่

2.1 ขอ้ มูลท่ัวไป
ที่อยู่ อาคารอำนวยการ ศาลากลางจังหวัดเชียงใหม่ ชั้น ๑ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมืองเชียงใหม่

จังหวดั เชียงใหม่
โทรศพั ท์ ๐๕๓-๑๑๒๗๑๖ และ ๐๕๓-๑๑๒๗๑๙
โทรสาร ๐๕๓-๑๑๒๗๑๘
เว็บไซต์: www.chiangmai.go.th
E-mail: [email protected]

2.2 ประวตั คิ วามเปน็ มาขององคก์ ร
สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ ังหวดั เชยี งใหม่ เดิมใช้ช่ือว่า สำนักงานประชาสงเคราะห์

จังหวัดเชียงใหม่ ได้เปิดดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2502 สังกัดกรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย
และต่อมาได้โอนมาสังกัดกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2536 โดยให้บริการ
ด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ประชาชนที่ประสบปัญหาสังคม ฟื้นฟูและพัฒนากลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ทกุ ประเภท อาทิ เด็ก เยาวชน สตรี คนพิการ ผู้ตดิ เช้อื และผ้สู ูงอายุ

ในปี 2545 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ตามพระราชบัญญัติ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 ซึ่งมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 สำนักงาน
ประชาสงเคราะห์จังหวัดได้ย้ายไปสงั กัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์ ภายใต้ชื่อใหม่วา่
สำนักงานพัฒนาสังคมและสวัสดิการจังหวัดเชียงใหม่ และภายหลังได้เปลี่ยนเป็นสำนักงานพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2547 เป็นราชการส่วนภูมิภาค
สังกดั สำนักงานปลดั กระทรวง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนษุ ย์

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ ปฏิบัติหน้าที่ผู้แทนกระทรวง ในจังหวัด
มีภารกิจหลักในการดำเนินงานด้านการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคม
การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความมั่นคงในชีวิตสถาบันครอบครัวและชุมชน และราชการอื่นตามที่มี
กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหนา้ ท่ีของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมัน่ คง ของมนุษย์หรอื สว่ นราชการ
ที่สังกัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๒๙

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษย์จังหวดั เชยี งใหม่

2.3 โครงสร้างองค์กรและบคุ ลากร
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ แบ่งเป็น ๒ กลุ่ม ๑ ฝ่าย และ ๑ ศูนย์

คือ กลุ่มนโยบายและวิชาการ กลุ่มการพัฒนาสังคมและสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป และศูนย์บริการคนพิการ
จังหวัดเชียงใหม่ มีบุคลากร 63 คน ได้แก่ ข้าราชการ 17 คน พนักงานราชการ 10 คน พนักงานราชการเฉพะกิจ 6 คน
พนักงานกองทุน 13 คน ลกู จ้างประจำ 4 คน จา้ งเหมา 13 คน

นางจิราพร เชาวน์ประยรู ยามาโมโต้
พัฒนาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ ังหวัดเชยี งใหม่

กลุ่มนโยบายและวชิ าการ กลมุ่ การพัฒนาสังคมและสวสั ดิการ ฝา่ ยบริหารงานท่ัวไป ศูนยบ์ ริการคนพิการฯ

นางสาววริสรา บญุ มา นายวโิ รจน์ เรอื งสอาด นางสาววรสิ รา บุญมา นางสาวกานตว์ รา ทาทอง
หัวหน้ากลมุ่ ฯ หวั หน้ากลมุ่ ฯ หัวหน้าฝา่ ยฯ ผู้อำนวยการฯ

2.4 อำนาจหน้าท่ี
1. จัดทำนโยบายและยทุ ธศาสตร์การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษุ ย์ในระดับจงั หวัดรวมทั้งรายงาน

สถานการณ์ทางสงั คม และเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข
2. ประสานและจัดทำแผนงาน โครงการและกิจการด้านการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ใน

ระดบั จงั หวดั ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวง
3. ส่งเสริมและประสานการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆ ตามภารกิจและเป้าหมายของหน่วยงานใน

กระทรวง
4. สง่ เสริม สนบั สนุน และประสานการดำเนินงานกับองค์กรเครือขา่ ยในจงั หวัดท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน
5. ส่งเสริมและประสานงานการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม รวมทั้งการส่งต่อให้หน่วยงานอื่นที่

เก่ียวข้อง ทง้ั ภาครฐั และภาคเอกชน ที่มหี น้าทีแ่ ละอำนาจในการจัดสวัสดกิ ารสงั คม
6. กำกับดูแล และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด

สาขา และหน่วยงานในสังกัดกระทรวง ให้ดำเนินการตามกฎหมาย นโยบายของกระทรวงและติดตามและ
ประเมินผลแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงในความรับผิดชอบของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวง
ในระดบั จงั หวดั

7. เป็นศูนยข์ ้อมูลด้านการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ในระดบั จงั หวัด
8. เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และรณรงค์ให้มีการดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ รวมทั้งความกา้ วหน้าทางวิชาการและผลการปฏิบัตงิ านของกระทรวง

รายงานผลการดำเนินงาน ๓๐

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชียงใหม่

9. รับเรอื่ งราวร้องทกุ ขแ์ ละแกไ้ ขปัญหาสงั คมในระดับจังหวัด
10. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ปลัดกระทรวง
มอบหมาย

2.5 วิสยั ทศั น์ พันธกิจ คา่ นิยม
2.5.1 วสิ ัยทัศน์ : “สร้างสังคมดี คนมีคุณภาพ”
2.5.2 คา่ นิยมองค์กร : “อุทิศตน อาสางาน เอ้ืออาทร อำนวยประโยชนส์ ขุ ”
1) มีวินัย ซ่ือสัตยต์ อ่ ตนเอง
2) อดทน ขยันหมนั่ เพียร อทุ ิศตนและเวลาให้กบั การทำงานเต็มที่
3) พัฒนาตนเอง พฒั นางานอย่างตอ่ เนื่อง
4) ประพฤติตนเหมาะสม (วาจา กิรยิ ามารยาท แตง่ กายบุคลิก และการวางตวั )
๕) รับผิดชอบหน้าทจ่ี ริงจงั รักงาน รกั องค์กร
๖) มีน้ำใจ ย้มิ แย้มแจ่มใส ต่อเพือ่ นร่วมงานและผใู้ ชบ้ ริการ
๗) ช่วยเหลือเพ่อื นร่วมงานดว้ ยความเต็มใจ เต็มความสามารถ แบ่งบนั ความสุข องคค์ วามรู้
ทำงานแทนกนั ได้
๘) รู้จกั สามัคคี เสยี สละเพ่ือส่วนร่วม เน้นทำงานเป็นทมี
๙) รว่ มงานจติ อาสา จิตสาธารณะอยา่ งต่อเน่อื ง
๑๐) ให้บรกิ ารดว้ ยใจ เป็นมติ ร ถกู ต้อง รวดเรว็ ทันที มุง่ เน้นประชาชนได้รบั ประโยชนอ์ ย่างท่วั ถงึ
เปน็ ธรรม

2.5.3 พันธกิจ
๑) พฒั นาคนและสงั คมให้มีคุณภาพเตม็ ตามศักยภาพและมีภมู คิ ้มุ กันต่อการเปล่ยี นแปลง
๒) สรา้ งเสริมเครอื ข่ายจากทุกภาคสว่ นในการมสี ่วนร่วมพัฒนาสังคม
๓) พฒั นาองค์ความรู้ ขดี ความสามารถ และระบบการบรหิ ารจัดการดา้ นการพัฒนาสงั คม
๔) จัดระบบสวัสดิการทเี่ หมาะสมกับบริบทของจังหวัดเชียงใหม่ เพ่ือให้ประชาชนมีหลกั ประกนั
และมคี วามม่ันคงในชีวติ

2.5.4 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
๑. ส่งเสรมิ โอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางสงั คมบนพน้ื ฐานความพอเพียง
กลยทุ ธ์ท่ี 1 สร้างและสง่ เสริมโอกาสทางสังคม
กลยทุ ธท์ ่ี 2 สรา้ งและพฒั นากลไกในการสร้างความมน่ั คงทางสังคมในระดับพื้นที่
กลยทุ ธ์ท่ี 3 สรา้ งสมดลุ ระหว่างสวัสดกิ ารแบบถว้ นหนา้ (universal) และแบบมุ่งเปา้
(targeted)
กลยทุ ธ์ที่ 4 เสริมศกั ยภาพเพ่ือเพิ่มความสามารถในการจัดสวัสดกิ ารตามแนวคดิ สงั คม
สวัสดกิ ารที่เสนอใหภ้ าคส่วนอื่น ๆ ของสงั คมเขา้ มามสี ว่ นร่วมรับภาระใน
การจดั สวัสดกิ าร เช่น กองทุนสวัสดกิ ารชมุ ชน ร่วมระดมทุน การรว่ มทุนระหวา่ งภาครฐั และ
เอกชน (Public Private Partnership : PPP)

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓๑

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความม่นั คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชียงใหม่

๒. สรา้ งภมู ิคุม้ กันและพัฒนาศักยภาพกลุม่ เป้าหมาย
กลยุทธท์ ี่ 1 สร้างภูมิคุ้มกัน
กลยุทธท์ ี่ 2 เสรมิ สรา้ งประสิทธิภาพทางสังคม
กลยทุ ธท์ ่ี 3 สร้างเครือขา่ ย (เน้นการสร้างภาคเี ครือข่ายเพือ่ ทำงานในเชงิ รุก) สง่ เสรมิ ระบบ
อาสาสมคั ร

๓. ผนึกกำลงั ทางสังคมเพื่อเปน็ กลไกลในการพัฒนาสังคม
กลยุทธท์ ี่ 1 ผนึกกำลงั ทางสงั คมและส่งเสรมิ ขับเคลอื่ นจากทุกภาพสว่ น
กลยุทธ์ที่ 2 ส่งเสรมิ วัตกรรมทางสงั คม (Social lnnovation)

๔. บรหิ ารจดั การองคก์ รสู่ความเป็นผนู้ ำทางสังคมดว้ ยหลักธรรมาภิบาล
กลยุทธท์ ่ี 1 ปรบั บทบาท และยกระดับคุณภาพมาตรฐานการบรกิ ารและบริหารจดั การของ
หน่วยงาน พม. ในจังหวดั

2.5.5 พทุ ธศาสนสุภาษิต : ภูตํ เสสํ ทยิตพพฺ ํ (ภตู ัง เสสงั ทะยิตัพพัง) คนทุกคน ควรเก้ือกลู กัน

2.6 งบประมาณรายจา่ ยประจำปี

หนว่ ยงาน งบประมาณ (บาท) การเบิกจา่ ย(บาท)

1. สำนกั งานปลดั กระทรวง (สป.) 7,287,950.83 7,287,949.77

2. กรมพฒั นาสังคมและสวัสดกิ าร (พส.) 2,374,370.00 2,374,370.00

3. กรมกิจการเด็กและเยาวชน (ดย.) 7,988,737.95 7,988,737.95

4. กรมสง่ เสรมิ และพฒั นาคุณภาพชวี ิตคนพิการ (พก.) 566,390.64 566,390.64

5. กรมกจิ การสตรีและสถาบันครอบครัว (สค.) 2,640,996.69 2,640,995.99

6. กรมกิจการผสู้ งู อายุ (ผส.) 13,643,669.42 11,978,872.42

รวม 34,502,115.53 32,837,316.77

ผลการเบกิ จา่ ยงบประมาณ คดิ เปน็ 95.17 %

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓๒

สำนักงานพฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์จงั หวัดเชียงใหม่

ส่วนท่ี ๒
ผลการดำเนนิ งาน

สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ (สนง.พมจ.ชม.) ได้ดำเนินงาน
ตามนโยบาย ประเด็นการตรวจราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ กระทรวงการพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ และแผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔
ของสำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษย์จังหวดั เชียงใหม่ ดงั นี้

๑. การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คม

ผู้ประสบปัญหาทางสังคมคือ ผู้ที่ประสบปัญหาความเดือดร้อนที่เกิดขึ้นโดยปัจจุบันทันด่วน หรือเป็น
ที่คาดหมายว่าจะเกิดขึ้นในเวลาอันใกล้ และจะต้องได้รับการแก้ไขโดยฉับพลันทันท่วงที หรือหัวหน้าครอบครัว
สูญหาย ทอดท้ิง ใหส้ มาชิกครอบครวั ต้องตกอยใู่ นสภาพยากลำบาก

โครงการคุ้มครองช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม

วตั ถุประสงคโ์ ครงการ
1. เพ่อื ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบปัญหาทางสงั คม ให้ได้รับการชว่ ยเหลอื และบรรเทาความเดือดรอ้ น
2. เพื่อให้การช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และป้องกันมิให้เกิด
ปัญหาสังคมดา้ นอ่ืนๆตามมา

วัน เดอื น ปี / สถานทดี่ ำเนนิ การ ปีงบประมาณ 2564 พ้นื ที่ 25 อำเภอของจังหวดั เชียงใหม่
กลมุ่ เปา้ หมาย ผูป้ ระสบปญั หาทางสังคมทกุ ประเภท

ผลท่ไี ดร้ ับจากการดำเนินงาน
ผลผลิต จัดการประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคม
ประจำจังหวัดเชยี งใหม่
(1.1) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวัดเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี 4/2563 วันที่ 30 พฤศจิกายน 2563
(1.2) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวัดเชียงใหม่ คร้งั ท่ี 5/2563 วนั ท่ี 21 ธนั วาคม 2563
(1.3) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จงั หวดั เชียงใหม่ คร้งั ที่ 1/2564 วันที่ 22 มกราคม 2564
(1.4) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวัดเชยี งใหม่ คร้ังท่ี 2/2564 วันที่ 19 กมุ ภาพนั ธ์ 256

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓๓

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชียงใหม่

(1.5) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จงั หวดั เชยี งใหม่ คร้ังที่ 3/2564 วันท่ี 19 มีนาคม 2564

(1.6) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จงั หวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 4/2564 วนั ท่ี 4 มิถนุ ายน 2564

(1.7) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวัดเชียงใหม่ คร้ังที่ 5/2564 วนั ท่ี 9 กรกฎาคม 2564

(1.8) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จงั หวดั เชยี งใหม่ คร้ังท่ี 6/2564 วันที่ 6 สงิ หาคม 2564

(1.9) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวดั เชียงใหม่ ครง้ั ท่ี 7/2564 วนั ท่ี 27 สงิ หาคม 2564

(1.10) การประชุมคณะกรรมการพิจารณาให้ความช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมประจำ
จังหวัดเชียงใหม่ คร้ังที่ 8/2564 วันที่ 10 กันยายน 2564

ผลลัพธ์ ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมทุกประเภทรับการช่วยเหลือ จำนวนประมาณ 4,923 ครอบครวั
รวมเปน็ เงนิ ท้งั สนิ้ 8,986,000.-บาท (แปดล้านเก้าแสนแปดหม่ืนหกพันบาทถ้วน)

(2.๑) เงนิ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบปัญหาทางสงั คมกรณีฉกุ เฉนิ สป. จำนวน
1,291 ครอบครัว

(2.๒) เงินสงเคราะห์และฟ้ืนฟูสมรรถภาพคนพิการ พก. จำนวน 204 ครอบครวั
(2.3) ระบบเงินสงเคราะห์ผู้สงู อายุในภาวะยากลำบาก จำนวน 181 ราย
(2.4) เงนิ สงเคราะห์ผูม้ ีรายไดน้ ้อยและผไู้ ร้ทพ่ี ่งึ จำนวน 450 ราย
(2.5) เงนิ ช่วยเหลือคา่ เล้ียงดใู นครอบครวั อปุ ถมั ภ์ จำนวน 66 ราย
(2.6) เงนิ สงเคราะห์เด็กในครอบครัวยากจน จำนวน 2,731 ราย
ปัญหาอุปสรรค
1. ผู้ประสบปัญหาทางสังคมไม่มีบัญชีธนาคาร ผู้ประสบปัญหาฯ มีความยากลำบากในการเดินทางไปเปิด
บัญชีธนาคาร และบัญชีธนาคารของผู้ประสบปัญหาฯ ไม่สามารถโอนเงินเข้าบัญชีได้ เนื่องจากไม่มีการ
เคลอื่ นไหวบญั ชี
2. การลงพนื้ ที่เยี่ยมบ้านสอบข้อเทจ็ จรงิ ของนักสงั คมสงเคราะห์ท่ีมีข้อจำกดั ด้านการ
3. คมนาคม ระยะทางเป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงาน เช่น พื้นที่สูง ถิ่นทุรกันดาร อยู่ห่างไกลจากตัว
เมอื ง ถนนที่ยานพาหนะเข้าไมถ่ ึงชมุ ชน ทำให้การเยีย่ มบา้ นจงึ เยย่ี มไดน้ ้อยรายและตอ้ งใช้
4. ผู้ทข่ี อรบั ความช่วยเหลือและเจ้าหนา้ ที่ อปท. ที่สง่ เรอื่ งเข้ามาขอรับความชว่ ยเหลือ สว่ นใหญ่จะไม่
ทราบว่ามีการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารไปแล้ว จะโทรศัพท์มาสอบถามอยู่ตลอด ซึ่งมักจะเช็คยาก
เนื่องจากว่าไม่ทราบว่ารับเรื่องเมื่อไหร่ เข้าประชุมพิจารณาวันที่เท่าไหร่ อนุมัติจ่ายวันไหน และ
ขอรับความชว่ ยเหลอื ตามระเบยี บอะไร
5. ไม่ไดม้ กี ารติดตามผปู้ ระสบปญั หาทุกรายภายหลงั จากไดร้ ับการช่วยเหลือ

รายงานผลการดำเนินงาน ๓๔

สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์จงั หวดั เชยี งใหม่

แนวทางแก้ไข
1. การลงพ้ืนทีเ่ ยี่ยมบ้านสอบข้อเทจ็ จรงิ ควรขอความอนุเคราะหใ์ หเ้ ครือข่าย เชน่ อพม. เจ้าหน้าท่ี อปท.

หรือหน่วยงานในพื้นที่ร่วมสอบข้อเท็จจริง และประสานส่งต่อให้นักสังคมสงเคราะห์วินิจฉัยปัญหา
ถ้ารอนกั สงั คมสงเคราะหเ์ พียงคนเดยี วลงพน้ื ทสี่ อบข้อเท็จจรงิ ทุกกรณี จะทำให้เกดิ ความลา่ ชา้ ไม่ทันต่อ
การช่วยเหลอื ได้ ผลเสียตกอยกู่ บั ผปู้ ระสบปญั หาไม่ได้รบั การชว่ ยเหลืออย่างทันทว่ งที
2. ควรมีมาตรการจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับยานพาหนะ เช่น การทำประกันภัยชั้น 1 และให้พนักงาน
ขับรถยนต์ตรวจสอบสภาพรถอยา่ งสม่ำเสมอพรอ้ มใช้งาน
3. การเบิกจ่ายเงินหากผู้ประสบปัญหาไม่มีบัญชีธนาคาร และอยู่ในพื้นที่ทุรกันดาร การคมนาคม
ไม่สะดวก การเบิกจ่ายเงินจะขอจ่ายเป็นเงินสด โดยพิจารณารายกรณี เจ้าหน้าที่การเงินควรจะเป็นผู้
เดนิ ทางไปมอบดว้ ยตนเอง และประสานงานผ้นู ำในพน้ื ทีร่ ่วมถา่ ยรูปเปน็ สักขพี ยานด้วย
4. ควรจัดทำระบบตรวจสอบเช็คสถานการณ์เบกิ จ่าย เพ่อื ตรวจสอบได้
ข้อเสนอแนะตอ่ การดำเนินงาน
ส่งเสริมกลไกเครือข่ายทางสังคมให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
เห็นความสำคัญในการช่วยเหลือผู้ประสบปัญหา และสามารถคัดกรอง วินิจฉัยสภาพปัญหาของผู้ประสบ
ปญั หาได้อยา่ งมคี ณุ ภาพ

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓๕

สำนักงานพฒั นาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่

2. การป้องกนั และปราบการคา้ มนุษย์

จงั หวัดเชยี งใหม่ เป็นจังหวดั ตน้ ทาง ทางผ่าน และปลายทางของปัญหาการค้ามนุษย์ สำหรับพ้ืนท่ี
ต้นทางเป้าหมายส่วนใหญ่อยู่ในตัวเมือง บริเวณถนนลานประตูท่าแพ โรงแรมและสถานบริการ สถานบันเทิงใน
อำเภอเมืองเชียงใหม่ เนื่องจากจงั หวดั เชยี งใหม่เปน็ ศนู ย์กลางการทอ่ งเทย่ี ว การคมนาคมขนสง่ ดา้ นการศึกษา และ
มีพื้นที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ทำให้มีผู้คนเข้ามาอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่จำนวนมาก ทั้งเข้ามาอยู่และทำงานใน
ภาคอุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลกระทบต่อการเกิดปัญหาสังคมโดยเฉพาะปัญหาการค้ามนุษย์ จากสถิติของศูนย์
ปฏบิ ัตกิ ารป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์จังหวัดเชียงใหม่ (ศปคม.ชม.) ปี 2563 มีการคัดแยกผู้เสียหายจาก
การค้ามนุษย์ จำนวน 8 ครั้ง คัดแยกผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จำนวน 39 คน พบว่าเข้าข่ายเป็นผู้เสียหายจาก
การค้ามนุษย์ จำนวน 5 คน และไม่เข้าข่ายเป็นผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ จำนวน 34 คน โดยจังหวัดเชียงใหม่
มีรปู แบบการค้ามนุษย์ท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ ด้านการแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการค้าประเวณี (3 คด)ี โดยรูปแบบการ
แสวงหาประโยชน์ทางเพศและการค้าประเวณีที่พบเป็นธุรกิจทางเพศแฝงตัวอยู่ตามสถานบริการและสถานบันเทิง
ซ่ึงจังหวัดเชียงใหม่เปน็ ศนู ย์กลางการท่องเที่ยวจงึ มีสถานประกอบการสุ่มเสี่ยงเป็นจำนวนมาก มีการนำเด็กชายและ
เยาวชนชาย อายรุ ะหว่าง 13 - 17 ปี เขา้ สู่กระบวนการค้าประเวณีเพ่ิมข้ึน ในสถานรา้ นคาราโอเกะ ผบั สปา นวด
ซึ่งแอบแฝงการค้าประเวณี โดยมีกลุ่มลูกค้าชาวต่างชาติเป็นผู้ซื้อบริการจากเจ้าของสถานบันเทิง มีการซักชวน
เด็กผชู้ ายไปถ่ายภาพอนาจารเดก็ นำภาพโปรโมทในเวบ็ ไซด์ร้านและใน twitter ให้มคี วามน่าสนใจ ดึงดูดผใู้ ชบ้ ริการ
เป็นอย่างมาก ซึ่งมีลักษณะทีส่ ่อไปในทางเพศ โดยในแต่ละครั้งเจ้าของสถานบันเทิงจะเป็นผู้ติดต่อไปยังเด็กชาย ให้
มาทำงานที่รา้ นเปน็ ครัง้ คราว ถ้ามีผซู้ อื้ บรกิ ารก็จะโทรศัพท์ให้เด็กมาที่สถานบนั เทิงตามท่ีเจ้าของสถานประกอบการ
สง่ั เทา่ นน้ั สถานที่หรอื พ้ืนท่ีเป้าหมายส่วนใหญ่อยู่ในตวั เมือง บรเิ วณถนนลานประตูท่าแพ โรงแรมและสถานบันเทิง
ในอำเภอเมอื งเชียงใหม่ และการคา้ ประเวณีส่วนใหญ่ในปจั จุบนั เป็นการขายบรกิ ารเพศ การนวดเพือ่ สำเรจ็ ความใคร่

2.๑ โครงการประชุมเพื่อจัดทำรายงานสถานการณ์และการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้า
มนษุ ย์ ประจำปี ๒๕๖๓ และแผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั และปราบปรามการคา้ มนุษยป์ ระจำปี ๒๕๖๔”

วัตถุประสงค์ ๑. เพ่อื จดั ทำรายงานสถานการณ์และการดำเนนิ งานปอ้ งกนั และปราบปรามการคา้ มนุษย์
ประจำปี ๒๕๖๓

2. เพ่ือร่วมกนั จัดทำแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกันและปราบปรามการคา้ มนษุ ย์ ประจำปี ๒๕๖๔

รายงานผลการดำเนินงาน ๓๖

สำนกั งานพฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชียงใหม่

กลุ่มเปา้ หมาย จำนวน ๔๕ คน
๑. ทีมสหวชิ าชีพทั้งจากหน่วยภาครฐั จำนวน
๒. ทีมสหวชิ าชีพจากองคก์ รเอกชน เครอื ข่ายอาสาสมัครพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของ
มนษุ ยแ์ ละสภาเดก็ และเยาวชนจังหวดั เชียงใหม่ จำนวน ๒๒ คน

วัน เดือน ป/ี สถานทด่ี ำเนินงาน วนั ท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๖๔ ณ โรงแรงเชยี งใหม่แกรนด์วิว อำเภอเมอื ง
เชยี งใหม่ จังหวัดเชยี งใหม่

ผลการดำเนินงาน
ผลผลิต ผู้เข้าร่วมการประชุม นำแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละหน่วยงาน ร่วมจัดทำ
รายงานสถานการณฯ์ และแผนปฏบิ ตั ิการฯ
ผลลัพธ์ มีการขับเคลื่อนแผนการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์อย่างต่อเนื่อง ทำให้
จำนวนคดีฐานความผิดเกย่ี วกับการคา้ มนษุ ย์ของจังหวัดเชยี งใหมล่ ดลง

ปัญหาอุปสรรค จำกัดบุคลากรในการเข้าร่วมประชุม อันเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-๑๙ โดยการ
ประชุมมีการเว้นระยะห่าง ซึ่งทำให้มีอุปสรรค ตอนการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม และรวมถึงบุคลากรบาง
หน่วยงานไม่สามารถมาเข้ารว่ มการประชุมได้

รายงานผลการดำเนินงาน ๓๗

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชยี งใหม่

๒.๒ โครงการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคม เพื่อเป็นผู้เฝ้าระวังทางสังคม
ดา้ นการต่อต้านการค้ามนษุ ย์

วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อสร้างความตระหนักรู้ ความเข้าใจถึงสถานการณ์ รูปแบบ ปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ
และการป้องกันตนเองจากภัยการค้ามนุษย์ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปถ่ายทอดเพื่อ
ขยายกล่มุ เปา้ หมายในพืน้ ที่

2. เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายภาคประชาสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคง
ของมนุษย์ ผู้นำ/แกนนำชุมขน ครู/อาจารย์ในสถานศึกษา ผู้ประกอบการ
ในพื้นท่ีจังหวดั เชยี งใหม่ ให้เป็นผ้เู ฝา้ ระวงั ทางสังคมดา้ นการต่อตา้ นการคา้ มนษุ ย์

3. เพื่อส่งเสริมการสร้างภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์
ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ โดยบูรณาการการทำงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน
ฐานะสว่ นสนับสนนุ การเฝา้ ระวงั ปญั หา และแจ้งเบาะแสการค้ามนุษย์

กลุ่มเป้าหมาย เป็นเครือข่ายภาคประชาสังคม อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ผู้นำ/
แกนนำชุมชน ครู/อาจารย์ในสถานศึกษา ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน ๕๐ คน วิทยากรและเจ้าหน้าที่
สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมัน่ คงของมนุษยจ์ ังหวัดเชียงใหม่ 10 คน
วัน เดอื น ปี/สถานทดี่ ำเนนิ งาน วนั ท่ี 12 เดอื น มนี าคม 2564 อำเภอฝาง จังหวดั เชียงใหม่
ผลการดำเนินงาน

ผลผลิต กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจปัญหาการค้ามนุษย์ และเป็นผู้เฝ้าระวังทางสังคม
ดา้ นการตอ่ ต้านการค้ามนษุ ยร์ ะดับพ้ืนท่ี

ผลลัพธ์ มีผู้เฝ้าระวังทางสังคมด้านการต่อต้านการค้ามนุษย์ เป็นเครือข่ายในการเฝ้าระวัง
และแจ้งเบาะแสการค้ามนุษย์ระดบั พน้ื ที่

ขอ้ เสนอแนะตอ่ การดำเนนิ งาน ในการคดั เลอื กพืน้ ทเี่ ป้าหมาย มีการสำรวจ วิเคราะหพ์ ื้นทเี่ ฝา้ ระวังปัญหา
การค้ามนุษย์ จึงเลือกพื้นที่อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ ในการดำเนินโครงการ เนื่องจากมีสถานการณ์
ปัญหาการคา้ มนษุ ย์ในพืน้ ทีฝ่ าง จำนวนมาก

รายงานผลการดำเนินงาน ๓๘

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์จังหวดั เชยี งใหม่

๓. เดก็ และเยาวชน

จังหวัดเชียงใหม่ พบจำนวนกลุ่มเด็ก (อายุต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์) จำนวน ๓๖๘,๒๑๓ คน มีเด็กที่ได้รับ
เงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การเล้ยี งดเู ดก็ แรกเกิด จำนวน 54,996 คน

ข้อมูล ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2564 พบว่า ช่วงอายุของแม่เด็กที่ลงทะเบยี น พบว่า อายุน้อยกว่า 20 ปี
จำนวน 5,719 คน ช่วงอายุ 20-25 ปี จำนวน 12,901 คน จำนวน 26-30 ปี จำนวน 11,987 คน
อายุ 31-39 ปี จำนวน 12,790 คน และมากกวา่ 40 ปี จำนวน 1,971 คน

อำเภอที่ลงทะเบียนมากที่สุด ได้แก่ อมก๋อย 5,020 คน แม่อาย 3,933 คน แม่แจ่ม 3,898 คน
แม่แจ่ม 3,842 คน ฝาง 3,842 คน และเชียงดาว 3,487 คน ส่วน 5 อำเภอที่ลงทะเบียนน้อยที่สุด คือ แม่ออน
614 คน ดอยหล่อ 624 คน สารภี 1,599 คน ดอยละเก็ด 1,758 คน และสนั กำแพง 1,815 คน

กลุ่มเยาวชน (อายุ ๑8 - ๒๕ ปี) ในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 147,480 คน พบเยาวชนที่ไม่เหมาะสม
จำนวน 3,8003 คน เช่น ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล สูบบุหรี่และติดสารเสพติดรายแรง มั่วสุมและทําความ
รำคาญใหกับชาวบาน ติดเกมส มีพฤติกรรมทางเพศและเลนการพนันตาง ๆ และมีเยาวชนที่ถูกทารุณกรรมทาง
รา่ งกายจติ ใจและทางเพศ จำนวน 86 ราย

3.1 โครงการเงนิ อุดหนนุ เพอื่ การเลย้ี งดูเดก็ แรกเกิด

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพื่อเป็นมาตรการให้พ่อแม่ผู้ปกครองนำเด็กเข้าสู่ระบบบริการของรัฐเพื่อให้เด็กได้รับการดูแล
ใหม้ คี ุณภาพชวี ิตทดี่ ีอย่างเปน็ ระบบ
2. เพื่อจัดสวัสดิการพื้นฐานและเป็นหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานให้เด็กแรกเกิดที่อยู่ในภาวะ
ยากลำบากได้รับการเลี้ยงดูทีม่ ีคณุ ภาพ
3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กแรกเกิดและเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญ
ในการพัฒนาอย่างตอ่ เน่ืองในชว่ งวยั อ่ืนๆ

กล่มุ เป้าหมาย ผปู้ กครองเด็กแรกเกิดหรือผ้ดู ูแลเด็ก จงั หวัดเชียงใหม่ จำนวน 56,236 คน
วัน เดือน ปี/สถานทีด่ ำเนินงาน พ้ืนที่ 25 อำเภอจงั หวดั เชยี งใหม่
ผลการดำเนนิ งาน

ผลผลิต บิดา/มารดาหรือผู้ปกครองเด็กแรกเกิด ลงทะเบียนรับสิทธิ ณ องค์การบริหารส่วน
ตำบลหรือเทศบาล จำนวน 56,236 คน

ผลลัพธ์ บิดา/มารดาหรือผู้ปกครองเด็กแรกเกิด สามารถได้รับเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดู
เด็กแรกเกิด จำนวน 52,572 คน

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๓๙

สำนกั งานพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดเชยี งใหม่

ปัญหาอุปสรรค

- ชว่ งทีร่ ะบบประมวลผลข้อมูล จะไมส่ ามารถบันทึกและแก้ไขขอ้ มูลได้ ทำใหเ้ กดิ ความล่าช้าในการบนั ทึก

ขอ้ มลู และมีขอ้ มูลคงค้างบันทึกจำนวนมาก

- ผู้ลงทะเบียนย่นื บญั ชที ี่ปดิ ไปแล้ว ทำใหม้ ขี ้อมลู ท่คี งค้างแก้ไขอยู่

- ผู้ลงทะเบยี นไม่เขยี นเบอร์โทรศัพท์ ทำใหเ้ วลามีปญั หาติดต่อผ้ลู งทะเบยี นได้ยาก

ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน

- การประมวลผลมรี ะยะเวลานานเกินไป อยากให้มรี ะยะเวลาการประมวลผลทเ่ี ร็วขึน้ เพอ่ื ทจ่ี ะไดเ้ รง่ บนั ทึก

และไมม่ ีข้อมลู คงคา้ งเป็นจำนวนมาก

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔๐

สำนักงานพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวดั เชยี งใหม่

3.2 โครงการส่งเสริมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตเด็กปฐมวัยจงั หวัดเชยี งใหม่

วัตถปุ ระสงค์โครงการ
๑. เพือ่ สนับสนนุ อาหารเสริมและสื่อพฒั นาการเดก็ สำหรับสถานรับเลี้ยงเดก็ เอกชน
๒. เพื่อจัดประชุมคณะอนุกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กปฐมวัยจังหวัดเชียงใหม่ ให้มี
การขับเคลอื่ นการพฒั นาเด็กปฐมวัยอย่างมีประสิทธภิ าพ
๓. เพื่อให้สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชนและสถานสงเคราะห์เด็กเอกชนปฏิบัติตามมาตรฐานที่
กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนษุ ย์กำหนด
4. เพื่อยกระดับสถานรับเลย้ี งเด็กเอกชนใหไ้ ด้มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

กลมุ่ เป้าหมาย
๑. ผดู้ ำเนนิ กิจการสถานรับเลย้ี งเด็กเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 185 แห่ง
๒. คณะอนกุ รรมการสง่ เสริมการพฒั นาเด็กปฐมวัยจังหวดั เชียงใหม่
๓. เจ้าหน้าทห่ี น่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ภาคประชาสังคม
และสภาเดก็ และเยาวชน

วัน เดือน ปี/สถานทีด่ ำเนินงาน วนั เสารท์ ี่ 19 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00-16.00 น. ณ บริเวณ
ลานจอดรถด้านทิศเหนืออาคารอำนวยการ ศาลากลางจงั หวัดเชยี งใหม่

ผลการดำเนนิ งาน
ผลผลติ ๑. จำนวนเด็กที่ได้รบั ประโยชนจ์ ากอาหารเสริมและส่ือพฒั นาการเด็ก
2. จำนวนสถานรับเลี้ยงเด็กเอกชนทป่ี ฏิบัตติ ามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
ผลลัพธ์ ๑. เดก็ กล่มุ เปา้ หมาย ไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนอื่ ง มี
พัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ทเ่ี หมาะสมกับวยั ได้รับความรัก ความอบอุ่น จากครอบครัวมากยิ่งขึน้

ปัญหาอุปสรรค เนอื่ งดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ต้องปฏบิ ตั ิตาม
มาตรการของจังหวดั ทำใหก้ ารจัดกจิ กรรมล่าชา้

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔๑

สำนกั งานพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์จงั หวัดเชียงใหม่

3.3 โครงการครอบครวั อุปถัมภ์

วตั ถปุ ระสงค์โครงการ
1. เพื่อจัดหาครอบครัวให้เด็กที่มีอายุตั้งแต่แรกเกิดถึง 18 ปีบริบูรณ์ ซึ่งเป็นเด็กกำพร้า
ถูกทอดท้งิ หรือเปน็ เดก็ ที่ครอบครัวประสบปัญหา ไมส่ ามารถใหก้ ารเลยี้ งดไู ด้
2. เพื่อจดั หาครอบครวั ท่เี หมาะสมให้แกเ่ ดก็ จัดให้เด็กเขา้ ไปอยู่กับครอบครัวที่เหมาะสม
3. เพื่อให้เด็กกำพร้าถูกทอดทิ้ง ได้มีโอกาสอยู่กับครอบครัว ได้รับความรักความอบอุ่น
การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม และไดร้ บั การศึกษา มคี วามเปน็ อยู่อยา่ งเด็กปกตทิ ว่ั ไป
ในบรรยากาศของความเป็นบ้านหรือครอบครวั

วัน เดอื น ปี/สถานท่ดี ำเนินงาน ตลุ าคม 2563 – มีนาคม 2564 / 25 อำเภอของจงั หวดั เชยี งใหม่

กลุ่มเป้าหมาย ครอบครัวที่อุปการะเลี้ยงดูเด็กที่กำพร้าบิดามารดา หรือถูกทอดทิ้ง หรือบิดามารดา
ไม่สามารถเลี้ยงดูได้ด้วยเหตุผลความจำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งเป็นญาติของเด็ก
และทม่ี ไิ ดเ้ ป็นญาติของเดก็

ผลท่ีไดร้ ับจากการดำเนินงาน
1. ประโยชน์ต่อเดก็ : ครอบครัวเปน็ สถาบนั แรกทำหนา้ ที่หลักในการดูแลเอาใจใส่เด็กอยา่ งใกล้ชดิ
และเป็นองคป์ ระกอบที่สำคญั ยิง่ ในการสรา้ งความมัน่ คงทางอารมณ์
2. ประโยชน์ตอ่ ผ้ปู กครอง/ผดู้ ูแลเด็ก: เงนิ อุดหนุนช่วยเหลือค่าเล้ียงดูเด็กในครอบครวั อุปถัมภ์ จะ
ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลเด็ก รวมถึงได้รับความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูและ
สง่ เสรมิ พัฒนาการเด็กได้อย่างถกู ต้องเหมาะสม
3. ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ: เด็กและเยาวชน เป็นทรัพยากรมีความสำคัญ หากสังคมใดมี
เด็กท่ขี าดความสมบูรณท์ างด้านรา่ งกายและจิตใจ ก็จะกลายเปน็ ปัญหาแกส่ ังคมที่จะต้องแก้ไข
สงั คมจึงต้องเหน็ ความสำคัญท่จี ะต้องให้บริการสวสั ดิการแกเ่ ด็กและครอบครัว เพ่ือส่งเสริม
ชว่ ยเหลอื สนับสนุน พัฒนา สงเคราะห์ อบรม ขัดเกลา ให้เปน็ พลเมืองท่ีดีมปี ระสิทธภิ าพ

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔๒

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่นั คงของมนุษยจ์ งั หวดั เชียงใหม่

3.4 โครงการพัฒนาระบบปกป้องคุ้มครองเดก็

วัตถุประสงค์ เพ่ือจดั ประชมุ คณะกรรมการ และคณะอนุกรรมการคุม้ ครองเด็กจงั หวัด

วัน เดือน ปี/สถานที่ดำเนินงาน จัดประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดเชียงใหม่ วันพุธที่ 24

มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชมุ 1 ช้นั 2 ศาลากลางจงั หวัดเชียงใหม่

กลมุ่ เปา้ หมาย คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก เจ้าหน้าที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

จังหวัดเชียงใหม่ เจ้าหน้าที่หน่วยงานในสังกัดกรมกิจการเด็กและเยาวชน เครือข่ายที่ทำงานด้านเด็กและ

ครอบครวั จำนวน 32 คน

ผลทไี่ ด้รบั จากการดำเนนิ งาน
ได้จัดการประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวดั เชียงใหม่ คร้ังที่ 1/ 2564 เพ่ือรายงานข้อมูล

และสถานการณ์ด้านการคุ้มครองเด็ก พิจารณาแก้ไข เพิ่มเติมคำสั่งคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการ
คมุ้ ครองเด็กจังหวดั และแต่งต้ังคณะทำงานเพื่อพจิ ารณางานครอบครวั อปุ ถัมภ์

รายงานผลการดำเนินงาน ๔๓

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจ์ งั หวดั เชียงใหม่

3.5 การประชุมคณะอนกุ รรมการบริหารกองทุนคุ้มครองเด็ก

วตั ถุประสงค์โครงการ เพอื่ พิจารณาการให้ความช่วยเหลอื เดก็ และครอบครวั ทปี่ ระสบปญั หาความเดือดร้อน
และพึงได้รับการสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพจากกองทุนคุ้มครองเด็ก ตามมาตรา ๓๒ และมาตรา
๔๐ ในพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖
กลุ่มเป้าหมาย คณะอนุกรรมการบริหารกองทุนคุ้มครองเด็กจังหวัดเชียงใหม่ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
จำนวน 15 คน
วัน เดอื น ป/ี สถานทดี่ ำเนินงาน วันศกุ รท์ ี่ 30 กรกฎาคม ๒๕๖4 เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๒.๐๐ น. และ

วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม ๒๕๖4 เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๒.๐๐ น.
ณ ห้องประชุมชั้น 5 สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
อาคารอำนวยการ ศาลากลางจังหวัดเชยี งใหม่
ผลการดำเนนิ งาน
ผลผลิต พิจารณาให้ความเห็นชอบการช่วยเหลือเด็กและครอบครัว จำนวน 7 ครอบครัว

เด็ก 17 ราย เป็นเงินทัง้ สน้ิ 172,000.- บาท (หน่งึ แสนเจ็ดหมนื่ สองพันบาทถ้วน)
ผลลัพธ์ เด็กและครอบครัว ได้รับการช่วยเหลือให้มีคณุ ภาพชีวิตทีด่ ีข้ึน ตามวัตถุประสงค์กองทนุ

คุ้มครองเดก็

ปัญหาอุปสรรค การอนุมัติการให้ความช่วยเหลือ และการอนุมัติโครงการ จะต้องดำเนินการผ่าน
คณะกรรมการฯ จากสว่ นกลาง ทำใหเ้ กิดความล่าช้าในการใหค้ วามช่วยเหลือ

ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน เห็นควรให้อำนาจคณะอนุกรรมการฯจังหวัด เป็นผู้พิจารณาอนุมัติการ
ใหช้ ่วยเหลือเด็กและครอบครัว เพอ่ื ความรวดเร็วในการใหค้ วามชว่ ยเหลือ

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔๔

สำนกั งานพฒั นาสงั คมและความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชยี งใหม่

4. สตรีและครอบครัว

กลุ่มสตรี ช่วงอายุ ๒6 – ๕๙ ปี มีจำนวน 460,328 คน พบสภาพปัญหาแม่เลี้ยงเดี่ยวฐานะยากจนที่ต้อง
เลี้ยงดูบุตรเพียงลำพัง สตรีที่ถูกเลิกจ้าง และสตรีที่ถูกทํารายรางกายจิตใจ อาจเป็นจำนวนที่น้อยหากเทียบกับ
สัดส่วนประชากรหญงิ ทั้งหมด แต่ก็สะท้อนให้เห็นถึงผู้หญิงจะเป็นผู้ถูกกระทำความรุนแรงมากกกว่าชาย ในขณะที่
ชายมกั จะเป็นผ้กู ระทำความรนุ แรง

จำนวนกลุ่มครอบครัวในจังหวัดเชียงใหม่ มีจำนวน ๘๓๕,๙๗๗ ครัวเรือน เป็นครอบครัวแหว่งกลางหรือ
ครอบครัวข้ามรุ่น คือ ครอบครัวที่มีรุ่น ปู่-ย่า แล้วข้ามไปที่รุ่นหลาน จำนวน 81,420 ครอบครัว พบปัญหาความ
รนุ แรงในครอบครวั มีท้ังความรุนแรงทางด้านรา่ งกาย การขม่ เหงดา้ นจิตใจ การดา่ ทอด้วยคำพดู การลว่ งละเมิดทาง
เพศ โดยผู้ถกู กระทำความรุนแรงสว่ นใหญ่เป็นผู้หญิงและเด็ก ซ่ึงข้อมลู การรบั แจ้ง ตัวเลขสถติ จิ ำนวนผกู้ ระทำความ
รนุ แรงในครอบครวั สว่ นใหญอ่ ยูใ่ นวัยแรงงานหรือวยั

4.1 กิจกรรมส่งเสริมสมั พนั ธภาพของครอบครวั

วัตถุประสงค์โครงการ เพ่ือประชาสมั พันธง์ านดา้ นครอบครัว
กลมุ่ เป้าหมาย ศนู ยพ์ ัฒนาครอบครัวในชุมชน ครอบครวั ในจังหวดั เชยี งใหม่ ประชาชนทวั่ ไป
วัน เดือน ป/ี สถานที่ดำเนินงาน เดือนสิงหาคม - กนั ยายน 2564 จังหวัดเชยี งใหม่
ผลการดำเนนิ งาน

ผลผลติ สอื่ ประชาสัมพันธ์งานด้านครอบครวั สเปรยแ์ อลกอฮอล์ขนาดพกพา จำนวน 1,500 ชนิ้
ผลลพั ธ์ มชี ่องทางในการประชาสัมพันธง์ านดา้ นครอบครวั
ปัญหาอุปสรรค เน่อื งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (covid-19)
ทำให้ไมส่ ามารถจัดกจิ กรรมที่มกี ารรวมกลุ่มได้

ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวมีหนังสือแจ้งให้ปรับกิจกรรมที่ไม่
สามารถดำเนินการได้เน่ืองจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19)
จึงจัดทำสื่อประชาสมั พันธ์งานด้านครอบครวั ในรูปแบบสเปรยแ์ อลกอฮอล์ขนาดพกพา เพื่อประชาสัมพนั ธ์
งานด้านครอบครัว เช่น ช่องทางการให้บริการระบบให้คำปรึกษาผ่านทาง Family Line : ระบบเพื่อน
ครอบครัว เพื่อให้ความช่วยเหลือและจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจของสำนักงานพัฒนา
สงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดเชียงใหม่

รายงานผลการดำเนนิ งาน ๔๕

สำนักงานพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดเชียงใหม่

4.2 กจิ กรรมงานวนั แห่งครอบครวั

การแจกส่ือประชาสัมพนั ธง์ านดา้ นครอบครัว

วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ เพอ่ื ประชาสมั พันธ์งานด้านครอบครวั
กลมุ่ เปา้ หมาย ศูนย์พัฒนาครอบครวั ในชมุ ชน ครอบครัวในจังหวัดเชยี งใหม่ ประชาชนทั่วไป
วนั เดือน ป/ี สถานท่ดี ำเนินงาน เดือนกรกฎาคม 2564 จังหวัดเชียงใหม่
ผลการดำเนนิ งาน

ผลผลติ สอ่ื ประชาสัมพันธ์งานด้านครอบครวั สเปรย์แอลกอฮอล์ขนาดพกพา จำนวน 1,000 ชิน้
ผลลัพธ์ มีช่องทางในการประชาสมั พันธ์งานด้านครอบครัว
ปญั หาอุปสรรค เนื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (covid-19) ทำ
ให้ไม่สามารถจัดกจิ กรรมที่มกี ารรวมกลุ่มได้
ข้อเสนอแนะต่อการดำเนินงาน กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวมีหนังสือแจ้งให้ปรับกิจกรรม
ทไี่ มส่ ามารถดำเนินการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-
19) ได้ จึงจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์งานด้านครอบครัวในรูปแบบสเปรย์แอลกอฮอล์ขนาดพกพา
เพอื่ ประชาสัมพันธง์ านด้านครอบครัว เช่น ชอ่ งทางการใหบ้ ริการระบบให้คำปรึกษาผ่านทาง Family Line
: ระบบเพื่อนครอบครัว เพื่อให้ความช่วยเหลือและจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจของ
สำนักงานพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ยจ์ ังหวดั เชยี งใหม่


Click to View FlipBook Version