The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 รวม ฉบับสมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by dawny6944, 2022-07-15 04:51:36

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 รวม ฉบับสมบูรณ์

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.6 รวม ฉบับสมบูรณ์

แผนการจัดการเรียนรู้
วชิ า ภาษาไทย

รหสั วิชา ท33101
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 1

นางสาวลลิตา เภาคำ
ตำแหน่ง นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์

โรงเรยี นวัดประดใู่ นทรงธรรม
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1

สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการจดั การเรยี นรู้
วิชา ภาษาไทย

รหสั วิชา ท33101
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1

ลงชอ่ื ………………………………………......…ผู้จดั ทำ
(นางสาวลลติ า เภาคำ)

ลงชื่อ……………………………….......…………หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้
(นายณฐั ภัทร สำเรจ็ )

ลงชอ่ื ……………………………….................,,รองผูอ้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ
(นางสาววาสนา เปรมชืน่ )

ลงชอ่ื ………………………………………......…ผู้อำนวยการสถานศึกษา
(นางสาวเอื้อมพร วอนยิน)

แผนการจัดการเรยี นรู้ เล่มน้ีประกอบด้วย

1. แบบวิเคราะห์ตัวช้ีวดั / ผลการเรยี นรู้
2. คำอธิบายรายวชิ า
3. โครงสรา้ งรายวิชา
4. หนว่ ยการเรยี นรู้
5. แผนการจดั การเรยี นรู้

- ใบงาน
- ใบกจิ กรรม
- ส่ือ/นวัตกรรม
- แบบประเมนิ
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน/หลังเรียน
- ฯลฯ
6. หลักฐาน/ร่องรอยการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นวัดประดู่ในทรงธรรม

ท…่ี ………………………………………. วันที่ ...............................................................................................

เรื่อง ขออนุมัตแิ ผนการจัดการเรยี นรู้

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

-------------

เรียน ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นวัดประด่ใู นทรงธรรม

ตามที่ข้าพเจ้านางสาวลลิตา เภาคำ ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รหัสวิชา
ท33101 รายวชิ าภาษาไทย จำนวน 1.0 หน่วยกติ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 นน้ั

ข้าพเจ้าจึงได้วิเคราะห์ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา เพื่อจัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยการเรียนรู้และรายคาบ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดประดู่
ในทรงธรรม พุทธศักราช 2562 ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 โดยจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่ อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ให้บรรลุเป้าหมายของหลกั สูตรฯ ต่อไป

จงึ เรียนมาเพ่ือโปรดทราบ

ลงช่ือ ............................................................
(นางสาวลลิตา เภาคำ)

ตำแหนง่ นักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู

ความเหน็ ของหวั หนา้ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................................
(นายณัฐภัทร สำเร็จ)

ความเห็นของรองผ้อู ำนวยการโรงเรียนกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................

ลงช่อื ............................................................
(นางสาววาสนา เปรมชน่ื )

ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรยี น
..............................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ............................................................
(นางสาวเอื้อมพร วอนยนิ )

คำอธบิ ายรายวิชาพ้นื ฐาน (Course Syllabus)

ท๓3๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ ๑ เวลา 4 ช่ัวโมง จำนวน ๑.0 หนว่ ยกิต

ครูผูส้ อน นางสาวลลิตา เภาคำ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ศึกษาและอธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา และลักษณะของภาษา และอธิบายและวิเคราะห

หลกั การสร้างคําในภาษาไทย

เพื่อให้ผู้เรียนมีพื้นฐานความรู้ด้านธรรมชาติและลักษณะของภาษาอย่างถูกต้อง สามารถใช้ภาษาในการ

สื่อสารได้เหมาะสมแก่โอกาสและบุคคล ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์หลักการสร้างคำในลักษณะต่าง ๆ ได้ รวมถึง

ตระหนักและเห็นคุณค่าของวรรณกรรมทั้งด้านวรรณศิลป์และด้านเนื้อหา สามารถนำข้อคิดที่ได้จากวรรณกรรม

ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ตัวชวี้ ัดตามหลักสูตร
ตวั ชี้วดั สาระที่ ๔ (หลักการใชภ้ าษาไทย)
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและ พลังของภาษา

ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ (๑,6)

รวมท้ังหมด 2 ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท33101 กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
เวลา 4 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี 1

ลำดบั ชอ่ื หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ เรียนรู้ เรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
/ ตวั ชี้วัด
4 10
1 หลกั การสร้างคำ ท 4.1 ม.4-6/1 - ลกั ษณะของภาษา
ในภาษาไทย ท 4.1 ม.4-6/6 - หลกั การสรางคาํ ในภาษาไทย 4 10

รวม

คะแนนกลางภาค 50 คะแนน คะแนนปลายภาค 50 คะแนน รวมทั้งสน้ิ 100 คะแนน

แผนการจดั การเรียนรู้

รหสั วิชา ท33101 ช่ือวิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

หน่วยการเรยี นรู้ เรื่อง การสร้างคำในภาษาไทย แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1

เร่ือง หลกั การสร้างคำในภาษาไทย

เวลา 1 ช่ัวโมง ผ้สู อน นางสาวลลติ า เภาคำ โรงเรียนวัดประดู่ในทรงธรรม

มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ
ม.4-6/1 อธบิ ายธรรมชาติของภาษา พลงั ของภาษา และลกั ษณะของภาษา
ม.4-6/6 อธิบายและวเิ คราะหหลกั การสรางคาํ ในภาษาไทย

จุดประสงค์การเรียนรู้

ดา้ นความรู้ ( Knowledge)

เม่อื จบหนว่ ยการเรียนรแู้ ล้ว ผู้เรียนสามารถ

(1) อธิบายหลักการสรา้ งคำในภาษาไทยได้

ด้านทกั ษะกระบวนการ ( Process)

การฟงั : .............................................................

การพดู : ............................................................

การอ่าน : ...........................................................

การเขยี น : ยกตัวอย่าง คำมลู คำประสม และคำซอ้ นได้ถูกตอ้ ง

ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ( Attitude )

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ซ่อื สัตยส์ จุ รติ มุง่ ม่ันในการทำงาน

มวี ินัย รกั ความเป็นไทย ใฝเ่ รยี นรู้ มจี ติ สาธารณะ

ดา้ นสมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน

 ความสามารถในการสือ่ สาร : .......................................................................................

 ความสามารถในการคิด : .......................................................................................

 ความสามารถในการแก้ปัญหา : .......................................................................................

 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต : .....................................................................................

 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : .....................................................................................

สาระการเรียนรู้
คำมูล คือ คำ ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคำอื่น อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้แต่เมื่อแยกพยางค์

แลว้ แตล่ ะพยางค์ไมม่ ีความหมาย คำภาษาไทยทใ่ี ช้มาแต่เดมิ สว่ นใหญ่เปน็ คำมลู ทมี่ พี ยางคเ์ ดียว
คำประสม คือ คำที่สร้างขึ้นใหม่โดยนำคำมูลตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน ให้เกิดเป็นคำใหม่

ความหมายใหม่ โดยอาจมเี คา้ ความหมายเดิมหรือมคี วามหมายใหม่ก็ได้
คำซ้อน เป็นการสร้างคำโดยนำคำมูลที่มีความหมายเหมือนกัน ใกล้เคียงกัน หรือตรงข้ามกันมาวางซ้อนกัน

ทำให้เกดิ คำใหม่ มคี วามหมายใหม่ โดยความหมายใหมอ่ าจกวา้ งขึ้น หนักแนน่ ขึ้น หรือเบาลงก็ได้

การบรู ณาการ
บรู ณาการขา้ มกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ระบุ)……………………………………………………………….

บรู ณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บรู ณาการกับประชาคมอาเซยี น
บูรณาการอืน่ ๆ (ระบุ) .....................................................................................................

คา่ นิยม 12 ประการ
ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
ซ่ือสัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสงิ่ ทดี่ งี ามเพื่อส่วนรวม
กตัญญูต่อพ่อแม่ ผปู้ กครอง ครบู าอาจารย์
ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม
รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
มศี ีลธรรม รกั ษาความสัตย์ หวงั ดีตอ่ ผอู้ ่นื เผอ่ื แผ่และแบง่ ปนั
เขา้ ใจเรยี นรู้การเป็นประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุขท่ีถูกต้อง
มีระเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรู้จกั การเคารพผูใ้ หญ่
มสี ตริ ้ตู ัว รคู้ ิด รู้ทำ รปู้ ฏิบัติตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว
รูจ้ ักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีความเข้มแขง็ ทัง้ รา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายตำ่ หรือกิเลส มคี วามละอายเกรงกลัว
ต่อบาปตามหลักของศาสนา
คำนงึ ถงึ ผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง

กรอบแนวคิดโรงเรยี นคณุ ธรรม 5 ประการ ความซอ่ื สัตย์สุจริต
ความพอเพยี ง ความกตัญญู
ความรบั ผดิ ชอบ อุดมการณ์คุณธรรม

ภาระ / ชน้ิ งาน
ใบงาน เรอื่ ง การสร้างคำในภาษาไทย

แนวทางการวัดประเมนิ ผล

สง่ิ ทป่ี ระเมิน เครอื่ งมือ วิธกี าร เกณฑ์
ถกู 80% - ผ่าน
อธบิ ายหลกั การสร้างคำในภาษาไทยได้ ใบงาน ตรวจสอบคำตอบ ถูก 80% - ผ่าน
เร่ือง การสร้างคำ ของนักเรียน/ตรวจใบงาน

ยกตัวอย่าง คำมลู คำประสม และคำ ใบงาน ตรวจสอบคำตอบ

ซอ้ นได้ถกู ต้อง เร่อื ง การสร้างคำ ของนักเรียน/ตรวจใบงาน

คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน 1–ผ่าน, 0–ไม่ผา่ น

กจิ กรรมการเรียนร้เู น้นทกั ษะการคิด หลักฐานการเรยี นรู้
ใบงาน เรือ่ ง การสรา้ งคำ /การตอบคำถาม
ความเขา้ ใจท่ีคงทน ใบงาน เรื่อง การสร้างคำ /การตอบคำถาม
เขา้ ใจหลกั การสรา้ งคำ
ยกตวั อย่าง คำมูล คำประสม และคำซ้อน

ช่วั โมงที่ 1

กลยุทธก์ ารสอน/เนอื้ หา VARK style Bloom’s
taxonomy
1. การนำเข้าสู่บทเรียน (Warm-up & Introduction) Visual
- ครูกล่าวทักทายและทบทวนเนื้อหาเดิมของผู้เรียน Auditory 6: Create
เพือ่ ทดสอบความเขา้ ใจเกย่ี วกับลักษณะของภาษาไทย Read/write 5: Evaluate
4: Analyze
Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
2. การนำเสนอเน้ือหา ทักษะ กระบวนการ (Presentation) Visual 1:Remember
- ครูอธิบายเกี่ยวกับความหมายของพยางค์ คำ Auditory
และหลักการสร้างคำประสม คำซ้อน และคำซ้ำ Read/write 6: Create
5: Evaluate
Kinesthetic 4: Analyze
3: Apply
3. การฝกึ เนอ้ื หา ทกั ษะ กระบวนการ (Practice) Visual 2:Understand
1:Remember
- นักเรียนทำใบงานตามที่ครูมอบหมาย เรื่อง การสร้างคำ Auditory
6: Create
คำประสม คำซอ้ น และคำซำ้ Read/write 5: Evaluate
4: Analyze
- นกั เรียนและครรู ว่ มกันยกตวั อย่าง Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
4. การนำไปใช้ (Application) Visual 1:Remember

- ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความหมายและหลักการ Auditory 6: Create
5: Evaluate
ของการสรา้ งคำประสม คำซ้อน และคำซ้ำ Read/write 4: Analyze
3: Apply
Kinesthetic 2:Understand
1:Remember

สอื่ และแหล่งการเรียนรู้
1) หนงั สือเรยี นหลกั ภาษาและการใช้ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 6

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
1. ผลการสอน
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................. ..................................................
2.ปญั หา/อปุ สรรค
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................ ....
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... ............................................................................... ..
3. แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชือ่ ………………………………………
ผสู้ อน

(นางสาวลลิตา เภาคำ)
ตำแหน่ง นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

ใบงาน
เรื่อง การสร้างคำ

คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนแยกประเภทของคำลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง

มะละกอ ไขแ่ ดง แขง้ ขา การบา้ น ศลิ ปะ ไมจ้ มิ้ ฟัน แดง ๆ

น่งั ๆ นอน ๆ ขาวดำ จิ้มลม้ิ ตาเขียว รมิ ๆ ไกล ๆ บดิ า

ซักฟอก คัดเลอื ก รถไฟใตด้ นิ ทกุ ๆ วนั มือหนัก กาแฟ

คำมลู คำประสม

คำซำ้ คำซอ้ น

ช่ือ - นามสกุล ................................................................ เลขที่ ...... ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 6/......

แผนการจัดการเรยี นรู้

รหัสวิชา ท33101 ชอ่ื วิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565

หน่วยการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การสร้างคำในภาษาไทย แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 2

เรอ่ื ง คำสมาส

เวลา 1 ชัว่ โมง ผสู้ อน นางสาวลลิตา เภาคำ โรงเรียนวดั ประดใู่ นทรงธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภมู ปิ ญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ขิ องชาติ
ม.4-6/6 อธบิ ายและวิเคราะหหลักการสรางคําในภาษาไทย

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ดา้ นความรู้ ( Knowledge)

เม่ือจบหน่วยการเรียนรแู้ ล้ว ผูเ้ รียนสามารถ

(1) อธิบายหลกั การและลักษณะของคำสมาสได้

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ ( Process)

การฟัง : .............................................................

การพดู : ............................................................

การอ่าน : ...........................................................

การเขียน : สามารถแยกชนิดของคำสมาสได้ถูกตอ้ ง

ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ( Attitude )

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551

รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ อยู่อย่างพอเพยี ง ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต มงุ่ มั่นในการทำงาน

มวี ินยั รักความเป็นไทย ใฝ่เรียนรู้ มจี ิตสาธารณะ

ด้านสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น

ความสามารถในการสอื่ สาร : .......................................................................................

ความสามารถในการคิด : ..............................................................................................

ความสามารถในการแก้ปญั หา : ...................................................................................

ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : .............................................................................

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : .............................................................................

สาระการเรยี นรู้
ภาษาไทยยืมคำสมาสในภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตมาใช้นานแลว้ และคนไทยคงจะได้เรียนรู้กฎเกณฑ์การ

สร้างคำสมาสในภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตดจี ึงได้สร้างคำสมาสในภาษาไทยข้ึนเลียนแบบคำสมาสในภาษาบาลี
และภาษาสันสกฤต คำสมาสประเภทน้ีอาจนำคำยืมภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตทมี่ ีใช้อยู่ในภาษาไทยมารวมเป็น
คำสมาส

การบรู ณาการ
บูรณาการข้ามกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (ระบุ)……………………………………………………………….

บรู ณาการกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
บรู ณาการกบั ประชาคมอาเซียน
บรู ณาการอื่นๆ (ระบุ) .....................................................................................................

ค่านยิ ม 12 ประการ
ความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ซอื่ สัตย์ เสียสละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นส่งิ ที่ดีงามเพ่ือส่วนรวม
กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครบู าอาจารย์
ใฝ่หาความรู้ หมั่นศกึ ษาเล่าเรียนทงั้ ทางตรง และทางอ้อม
รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
มีศลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผือ่ แผ่และแบง่ ปนั
เขา้ ใจเรียนร้กู ารเป็นประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขท่ีถกู ต้อง
มีระเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ ้อยรูจ้ ักการเคารพผใู้ หญ่
มีสตริ ูต้ วั ร้คู ดิ รู้ทำ รู้ปฏบิ ตั ติ ามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว
รู้จักดำรงตนอยูโ่ ดยใชห้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มคี วามเข้มแข็งทง้ั ร่างกาย และจติ ใจ ไมย่ อมแพ้ต่ออำนาจฝ่ายต่ำ หรอื กเิ ลส มคี วามละอายเกรง
กลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
คำนงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชนข์ องตนเอง

กรอบแนวคดิ โรงเรียนคณุ ธรรม 5 ประการ ความซือ่ สตั ย์สจุ ริต
ความพอเพียง ความกตัญญู
ความรับผิดชอบ อุดมการณ์คุณธรรม

ภาระ / ชิ้นงาน เครอื่ งมือ วิธกี าร เกณฑ์
- การถามคำถาม ถกู 80% - ผา่ น
การถามคำถาม ตรวจสอบคำตอบ ถกู 80% - ผ่าน
แนวทางการวัดประเมนิ ผล ของนักเรยี น

สง่ิ ทป่ี ระเมนิ ตรวจสอบคำตอบ
อธิบายหลกั การและลกั ษณะของ ของนักเรยี น

คำสมาสได้

สามารถแยกชนดิ ของคำสมาสได้

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบประเมิน ตรวจแบบประเมนิ 1–ผา่ น, 0–ไม่ผา่ น

กจิ กรรมการเรยี นรเู้ น้นทกั ษะการคดิ หลักฐานการเรียนรู้
การตอบคำถามหน้าชั้นเรียน
ความเข้าใจทคี่ งทน การตอบคำถามหนา้ ชน้ั เรียน
เข้าใจหลักการและลักษณะของคำสมาส
ยกตัวอยา่ งและแยกชนิดของคำสมาส

ช่ัวโมงที่ 1

กลยุทธก์ ารสอน/เนือ้ หา VARK style Bloom’s
taxonomy
1. การนำเขา้ สูบ่ ทเรียน (Warm-up & Introduction) Visual
- ครูกล่าวทักทายและนำผู้เรียนเข้าสู่เนื้อหา โดยการทำ Auditory 6: Create
กจิ กรรมทายซิ...ฉันคอื คำวา่ อะไร ผู้สอนจะมีความหมายและ Read/write 5: Evaluate
ตัวอักษรเพียงบางส่วนของคำศัพท์คำนั้นให้ โดยผู้เรียนต้อง Kinesthetic 4: Analyze
คิดหาคำตอบวา่ คำศพั ทท์ ถ่ี กู ต้องคือคำว่าอะไร 3: Apply
2:Understand
2. การนำเสนอเนื้อหา ทักษะ กระบวนการ Visual 1:Remember
(Presentation) Auditory
- ครูชแี้ จงวา่ คำศัพทท์ ่นี ำมาใชข้ า้ งต้นทง้ั หมดเปน็ คำสมาส Read/write 6: Create
และอธบิ ายเกีย่ วกบั ความหมาย หลักการสรา้ งคำสมาส Kinesthetic 5: Evaluate
และลกั ษณะของคำสมาส 4: Analyze
3: Apply
3. การฝกึ เนอื้ หา ทกั ษะ กระบวนการ (Practice) Visual 2:Understand
1:Remember
- ครูและผู้เรียนร่วมกันยกตัวอย่างคำสมาส และมีการ Auditory
6: Create
อภิปรายรว่ มกนั ว่าคำสมาสทย่ี กตัวอย่างมีทมี่ าจากคำว่าอะไร Read/write 5: Evaluate
4: Analyze
และเป็นคำสมาสชนดิ ใด Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
4. การนำไปใช้ (Application) Visual 1:Remember
- ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายความหมาย หลักการ Auditory
และชนิดของคำสมาส Read/write 6: Create
Kinesthetic 5: Evaluate
4: Analyze
3: Apply
2:Understand
1:Remember

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1) หนงั สือเรียนหลกั ภาษา และการใชภ้ าษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
2) ส่อื การเรียนการสอน เรอ่ื ง ทายซิ...ฉันคอื คำวา่ อะไร

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
1. ผลการสอน
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................... ................................................
2.ปญั หา/อปุ สรรค
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................ ....
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... .................................................................................
3. แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชื่อ ………………………………………
ผสู้ อน

(นางสาวลลิตา เภาคำ)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

แผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวิชา ท33101 ชือ่ วิชา ภาษาไทย กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565

หนว่ ยการเรยี นรู้ เรอื่ ง การสรา้ งคำในภาษาไทย แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 3

เรื่อง คำสมาสแบบสนธิ

เวลา 1 ช่ัวโมง ผสู้ อน นางสาวลลติ า เภาคำ โรงเรยี นวดั ประดใู่ นทรงธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ขิ องชาติ
ม.4-6/6 อธิบายและวิเคราะหหลักการสรางคาํ ในภาษาไทย

จุดประสงค์การเรยี นรู้

ด้านความรู้ ( Knowledge)

เมือ่ จบหนว่ ยการเรียนรแู้ ลว้ ผ้เู รยี นสามารถ

(1) อธบิ ายหลักการและลักษณะของคำสมาสแบบสนธิชนดิ ตา่ ง ๆ ได้

ด้านทกั ษะกระบวนการ ( Process)

การฟงั : .............................................................

การพูด : ............................................................

การอ่าน : ...........................................................

การเขียน : สามารถแยกคำสมาสแบบสนธิไดถ้ ูกตอ้ ง

ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ( Attitude )

คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551

รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อยูอ่ ย่างพอเพียง ซอ่ื สัตย์สุจริต มงุ่ มนั่ ในการทำงาน

มีวนิ ัย รกั ความเปน็ ไทย ใฝเ่ รยี นรู้ มีจิตสาธารณะ

ด้านสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

ความสามารถในการสอ่ื สาร : .......................................................................................

ความสามารถในการคิด : ..............................................................................................

ความสามารถในการแก้ปัญหา : ...................................................................................

ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : .............................................................................

ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี : .............................................................................

สาระการเรียนรู้
คำสนธิเกิดจากการนำคำบาลีหรือสันสกฤตมาเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันโดยการเปลี่ยนแปลงรูปสระ

รูปพยัญชนะ หรือนฤคหิตให้รวมกันเป็นคำใหม่ ควรจำแนกและศึกษาความหมายของคำให้เข้าใจจึงจะนำไปใช้ได้
ถูกตอ้ ง

การบรู ณาการ
บูรณาการขา้ มกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ระบ)ุ ……………………………………………………………….

บูรณาการกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บูรณาการกับประชาคมอาเซยี น
บรู ณาการอ่นื ๆ (ระบุ) .....................................................................................................

คา่ นิยม 12 ประการ
ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสง่ิ ทด่ี งี ามเพื่อส่วนรวม
กตญั ญูต่อพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์
ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรง และทางอ้อม
รกั ษาวัฒนธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
มีศีลธรรม รักษาความสตั ย์ หวังดตี อ่ ผูอ้ ื่น เผอ่ื แผ่และแบ่งปัน
เขา้ ใจเรียนรู้การเปน็ ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุขท่ีถกู ต้อง
มรี ะเบียบวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผนู้ อ้ ยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่
มีสตริ ้ตู ัว รคู้ ิด ร้ทู ำ รู้ปฏบิ ตั ิตามพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว
รจู้ กั ดำรงตนอย่โู ดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
มคี วามเข้มแข็งทัง้ รา่ งกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพต้ ่ออำนาจฝา่ ยตำ่ หรอื กเิ ลส มีความละอายเกรง
กลัวตอ่ บาปตามหลักของศาสนา
คำนึงถึงผลประโยชนข์ องสว่ นรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

กรอบแนวคดิ โรงเรียนคุณธรรม 5 ประการ ความซ่ือสัตย์สจุ รติ
ความพอเพยี ง ความกตัญญู
ความรับผดิ ชอบ อดุ มการณ์คุณธรรม

ภาระ / ช้ินงาน
- ใบงาน เรอื่ ง คำสมาสแบบมีสนธิ

แนวทางการวัดประเมินผล

ส่งิ ท่ปี ระเมิน เครอื่ งมือ วธิ กี าร เกณฑ์
ถกู 80% - ผา่ น
อธบิ ายหลักการและลกั ษณะของ การถามคำถาม ตรวจสอบคำตอบ
คำสมาสแบบสนธชิ นิดตา่ ง ๆ ได้ ของนักเรียน ถูก 80% - ผ่าน

สามารถเช่ือมและแยกคำสมาสแบบ การถามคำถาม/ ตรวจสอบคำตอบ
สนธไิ ด้ถกู ต้อง
ใบงานคำสมาส ของนักเรียน/ตรวจใบงาน

แบบมีสนธิ คำสมาสแบบมีสนธิ

คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ แบบประเมิน ตรวจแบบประเมนิ 1–ผ่าน, 0–ไมผ่ า่ น

กิจกรรมการเรียนรเู้ นน้ ทกั ษะการคิด หลกั ฐานการเรียนรู้
การตอบคำถามหนา้ ช้นั เรยี น
ความเข้าใจท่คี งทน
หลักการและลักษณะของคำสมาสแบบสนธิ การตอบคำถามหน้าชน้ั เรยี น
ชนิดตา่ ง ๆ
ยกตัวอย่างและแยกชนดิ ของคำสมาส

ชว่ั โมงที่ 1

กลยุทธ์การสอน/เน้อื หา VARK style Bloom’s
taxonomy
1. การนำเขา้ สู่บทเรยี น (Warm-up & Introduction) Visual
6: Create
- ครูกล่าวทักทายและทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนเรื่อง Auditory 5: Evaluate
4: Analyze
คำสมาส Read/write 3: Apply
2:Understand
Kinesthetic 1:Remember

2. การนำเสนอเน้อื หา ทักษะ กระบวนการ Visual 6: Create
(Presentation) Auditory 5: Evaluate
- ครอู ธบิ ายความหมายและชนิดของคำสมาสแบบสนธชิ นดิ Read/write 4: Analyze
ต่าง ๆ และรว่ มกนั ยกตวั อยา่ งคำสมาสแบบสนธิ Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
3. การฝึกเน้ือหา ทกั ษะ กระบวนการ (Practice) Visual 1:Remember

- ผู้เรียนทำใบงานคำสมาสแบบมีสนธิ เพื่อทดสอบความ Auditory 6: Create
เข้าใจ Read/write 5: Evaluate
4: Analyze
Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
4. การนำไปใช้ (Application) Visual 1:Remember
- ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั อภปิ รายความหมาย หลกั การ Auditory
Read/write 6: Create
และชนดิ ของคำสมาสแบบสนธิ Kinesthetic 5: Evaluate
4: Analyze
3: Apply
2:Understand
1:Remember

ส่อื และแหล่งการเรยี นรู้
1) หนังสอื เรียนหลกั ภาษา และการใช้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
1. ผลการสอน
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................... ................................................
2.ปญั หา/อปุ สรรค
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................ ....
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... .................................................................................
3. แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชื่อ ………………………………………
ผสู้ อน

(นางสาวลลิตา เภาคำ)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ



แผนการจดั การเรียนรู้

รหัสวชิ า ท33101 ชอ่ื วิชา ภาษาไทย กล่มุ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย

ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565

หน่วยการเรียนรู้ เร่อื ง การสรา้ งคำในภาษาไทย แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 4

เรือ่ ง หลักการสรา้ งคำชนิดต่าง ๆ

เวลา 1 ช่วั โมง ผูส้ อน นางสาวลลติ า เภาคำ โรงเรยี นวัดประดใู่ นทรงธรรม

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา

ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบตั ิของชาติ
ม.4-6/6 อธิบายและวเิ คราะหหลักการสรางคาํ ในภาษาไทย

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

ดา้ นความรู้ ( Knowledge)

เม่ือจบหน่วยการเรยี นรแู้ ล้ว ผู้เรียนสามารถ

(1) อธิบายหลกั การและลักษณะของการสร้างคำชนดิ ตา่ ง ๆ ได้

ดา้ นทักษะกระบวนการ ( Process)

การฟงั : .............................................................

การพดู : ............................................................

การอ่าน : ...........................................................

การเขยี น : จำแนกคำตามชนิดของการสรา้ งคำได้ถูกต้อง

ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ( Attitude )

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551

รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ อย่อู ย่างพอเพยี ง ซื่อสัตยส์ ุจริต ม่งุ ม่นั ในการทำงาน

มวี นิ ัย รกั ความเป็นไทย ใฝเ่ รยี นรู้ มีจิตสาธารณะ

ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น

ความสามารถในการสื่อสาร : .......................................................................................

ความสามารถในการคิด : ..............................................................................................

ความสามารถในการแก้ปญั หา : ...................................................................................

ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต : .............................................................................

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : .............................................................................

สาระการเรยี นรู้
คำประสม เกิดจากการนำคำมูลที่มีความหมายต่างกันตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมารวมกัน แล้วเกิดเป็นคำที่มี

ความหมายใหม่ หรอื ยงั คงมีเค้าความหมายของคำเดิม การสรา้ งคำประสมทำให้ภาษาไทย มีคำใชเ้ พ่ิมมากขึน้
คำซ้อน เป็นการสร้างคำขึ้นใหม่จากคำมูล โดยการนำคำมูลที่มีความหมายเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกัน หรือ

ตรงขา้ มกนั มารวมกนั แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คอื คำซอ้ นเพื่อความหมาย และคำซอ้ นเพ่ือเสียง
คำซ้ำ เป็นการสร้างคำขึ้นใหม่จากคำมูล โดยการนำคำมูลคำเดียวกันมากล่าวซ้ำ ความหมายของคำซ้ำอาจ

เหมอื นคำมลู เดมิ หรอื อาจมีน้ำหนกั มากข้ึนหรือเบาลง หรือแสดงความเป็นพหูพจน์
คําสมาสและคําสนธิ มีลักษณะเฉพาะ คือ ตองเปนคําที่มาจากภาษาบาลี – สันสกฤตมาสมาสหรือสนธิกัน

เท่านัน้ ภาษาอ่ืนมารวมกันจะไมใชคําสมาสหรือคาํ สนธิ

การบรู ณาการ
บรู ณาการขา้ มกลุม่ สาระการเรยี นรู้ (ระบุ)……………………………………………………………….

บูรณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

บูรณาการกบั ประชาคมอาเซียน

บูรณาการอ่ืนๆ (ระบุ) .....................................................................................................

คา่ นิยม 12 ประการ

ความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณ์ในสง่ิ ทีด่ ีงามเพื่อสว่ นรวม

กตญั ญตู ่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครบู าอาจารย์

ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนท้งั ทางตรง และทางอ้อม

รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอันงดงาม

มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดตี ่อผ้อู ื่น เผอ่ื แผ่และแบ่งปนั

เข้าใจเรยี นรกู้ ารเป็นประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขที่ถูกต้อง

มีระเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผ้นู อ้ ยรจู้ ักการเคารพผู้ใหญ่

มีสติรูต้ วั รู้คดิ รทู้ ำ ร้ปู ฏิบัติตามพระราชดำรสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั

รู้จกั ดำรงตนอยูโ่ ดยใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

มีความเข้มแข็งทงั้ รา่ งกาย และจิตใจ ไมย่ อมแพต้ ่ออำนาจฝา่ ยต่ำ หรอื กเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลวั

ตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา

คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาตมิ ากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง

กรอบแนวคิดโรงเรยี นคุณธรรม 5 ประการ

ความพอเพยี ง ความกตัญญู ความซอื่ สัตย์สจุ ริต

ความรบั ผิดชอบ อดุ มการณค์ ุณธรรม

ภาระ / ชิ้นงาน
- แผนผงั ความคิด เรือ่ ง การสรา้ งคำในภาษาไทย

แนวทางการวดั ประเมนิ ผล

สิง่ ท่ปี ระเมิน เครือ่ งมือ วิธกี าร เกณฑ์
ถกู 80% - ผา่ น
อธิบายหลักการและลกั ษณะของ การถามคำถาม/ ตรวจสอบคำตอบ
การสรา้ งคำชนิดต่าง ๆ ได้ แผนผังความคิด ของนักเรียน/ตรวจ ถูก 80% - ผ่าน
เรื่อง การสรา้ งคำ แผนผงั ความคิด
ในภาษาไทย
ตรวจสอบคำตอบ
จำแนกคำตามชนดิ ของการสร้างคำได้ การถามคำถาม/ ของนักเรยี น/ตรวจ
ถกู ต้อง แผนผงั ความคดิ แผนผังความคดิ
เรื่อง การสรา้ งคำ
ในภาษาไทย

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบประเมิน ตรวจแบบประเมิน 1–ผ่าน, 0–ไม่ผา่ น

กิจกรรมการเรยี นรเู้ น้นทกั ษะการคดิ หลักฐานการเรยี นรู้
การตอบคำถามหน้าชนั้ เรยี น/แผนผังความคดิ
ความเขา้ ใจทค่ี งทน การตอบคำถามหน้าชนั้ เรียน/แผนผังความคิด
หลักการและลักษณะของการสรา้ งคำชนิดตา่ ง ๆ

จำแนกคำตามชนิดของการสรา้ งคำไดถ้ กู ต้อง

ชั่วโมงที่ 1

กลยทุ ธก์ ารสอน/เน้ือหา VARK style Bloom’s
taxonomy
1. การนำเขา้ สู่บทเรียน (Warm-up & Introduction) Visual 6: Create
- ครูกล่าวทักทาย ทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียน และ Auditory 5: Evaluate
ตรวจสอบงานท่มี อบหมายในเร่ือง คำสมาสแบบมีสนธิ Read/write 4: Analyze
3: Apply
Kinesthetic 2:Understand
1:Remember
2. การนำเสนอเนอ้ื หา ทักษะ กระบวนการ Visual 6: Create
(Presentation) Auditory 5: Evaluate
- ครสู รุปลกั ษณะของการสรา้ งคำ ชนดิ ของการสร้างคำแต่ Read/write 4: Analyze
ละประเภท และขอ้ สงั เกตคำชนดิ ต่าง ๆ Kinesthetic 3: Apply
2:Understand
3. การฝึกเน้ือหา ทกั ษะ กระบวนการ (Practice) Visual 1:Remember
6: Create
- ผู้เรยี นแบง่ กลมุ่ รว่ มกันทำงานกับเพื่อนในชั้นเรยี น กลุม่ ละ Auditory 5: Evaluate
3-4 คน ผู้สอนแบ่งหัวข้อตามความเหมาะสม โดยให้ Read/write 4: Analyze
ผู้เรียนสรุปหลักการ ข้อสงั เกต และยกตัวอยา่ งคำท่ีเกิดจาก Kinesthetic 3: Apply
การสร้างคำรูปแบบต่าง ๆ ดังน้ี 2:Understand
1:Remember
1) คำซ้ำ
6: Create
2) คำซ้อน 5: Evaluate
4: Analyze
3) คำประสม 3: Apply
2:Understand
4) คำสมาส 1:Remember

5) คำสมาสแบบสนธิ

4. การนำไปใช้ (Application) Visual

- ผ้เู รยี นนำเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน ผสู้ อนพจิ ารณาและ Auditory
ตรวจสอบผลงาน พร้อมให้คำแนะนำที่เปน็ ประโยชนใ์ ห้ Read/write
ผูเ้ รียนต่อไป
Kinesthetic

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นหลกั ภาษา และการใช้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

บนั ทกึ ผลหลงั การสอน
1. ผลการสอน
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................. ...................................................
2.ปญั หา/อปุ สรรค
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
................................................................................................................................................................................ ....
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
.................................................................................................................................................... ................................
................................................................................................... .................................................................................
3. แนวทางแก้ไข
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
....................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................................
........................................................................................................................................................ ............................
....................................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................................

ลงชือ่ ………………………………………
ผสู้ อน

(นางสาวลลิตา เภาคำ)
ตำแหน่ง นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ


Click to View FlipBook Version