The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-ครูกัญญ์วรา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanvaraak, 2022-09-15 07:43:11

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-ครูกัญญ์วรา

แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน-PA1ส-ครูกัญญ์วรา

PA 1/ส

แบบขอ้ ตกลงในการพฒั นางาน (PA)
สำหรับขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ)

(ทกุ สังกัด)
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565
ระหวา่ งวันที่ 1 เดอื น ตุลาคม พ.ศ. 2564 ถึงวนั ที่ 30 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2565

ผูจ้ ัดทำขอ้ ตกลง

ช่ือ นางสาว กญั ญ์วรา นามสกลุ อกั ษรเสือ ตำแหน่ง ครู

สถานศึกษา โรงเรียนมัญจาศึกษา สังกัด สพม ขอนแกน่

รบั เงินเดือนในอนั ดับ คศ 1 อตั ราเงินเดอื น 22,330 บาท

ประเภทหอ้ งเรยี นที่จดั การเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทหอ้ งเรยี น ตามสภาพการจดั

การเรียนรจู้ รงิ )

√ ห้องเรียนวชิ าสามญั หรือวชิ าพน้ื ฐาน

 หอ้ งเรียนปฐมวัย
 ห้องเรยี นการศึกษาพเิ ศษ
 ห้องเรียนสายวิชาชีพ
 หอ้ งเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอธั ยาศัย

ขา้ พเจ้าขอแสดงเจตจำนงในการจดั ทำข้อตกลงในการพฒั นางานตำแหนง่ ครู (ยงั ไมม่ ีวิทยฐานะ) ซง่ึ
เปน็ ตำแหน่ง ทดี่ ำรงอยูใ่ นปัจจบุ นั กบั ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา ไวด้ งั ต่อไปนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหนง่

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเปน็ ไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด

1.1 ชวั่ โมงสอนตามตารางสอน

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวิชา ชีววทิ ยา 6 จำนวน 9.96 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

รายวชิ า ชีววทิ ยา 2 จำนวน 2.49 ชวั่ โมง/สัปดาห

รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ จำนวน 1.66 ชั่วโมง/สัปดาห์

- ชมุ นุมสนกุ กับชีววทิ ยา จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สัปดาห์

- กิจกรรมยวุ กาชาด จำนวน 0.83 ชวั่ โมง/สัปดาห์

รวม จำนวน 15.77 ชวั่ โมง/สปั ดาห์

ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

- กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

รายวิชา ชวี วิทยา 6 จำนวน 9.96 ชั่วโมง/สัปดาห์

รายวชิ า วิทยาศาสตร์ 3 จำนวน 2.49 ชว่ั โมง/สปั ดาห

- ชมุ นมุ สนุกกบั ชวี วิทยา จำนวน 0.83 ชั่วโมง/สปั ดาห์

- กิจกรรมยวุ กาชาด จำนวน 0.83 ชัว่ โมง/สัปดาห์

รวม จำนวน 14.11 ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การเรยี นรู้ จำนวน 5 ช่ัวโมง/สัปดาห์
- โฮมรูม, เครอื ข่ายหมู่บ้าน, ทป่ี รกึ ษา, เวรสวสั ดิการ จำนวน 3 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
- ตรวจงานมอบหมายนักเรียน จำนวน 2 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
จำนวน 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์
1.3 งานพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
- คณะกรรมการงานฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป
จำนวน 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจดุ เนน้ จำนวน 1 ช่ัวโมง/สปั ดาห์
- งานโรงเรียนสีขาว จำนวน 1 ชั่วโมง/สปั ดาห์
- งานโรงเรียนวิถีพุทธ จำนวน 1 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- งานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง รวม จำนวน 11 ช่ัวโมง/สัปดาห์

รวมจำนวนชั่วโมงภาระงานเปน็ ไปตามก.ค.ศ.กำหนด จำนวน 26.77 ช่วั โมง/สัปดาห์

2. งานทจ่ี ะปฏิบตั ติ ามมาตรฐานตำแหน่งครู (ใหร้ ะบรุ ายละเอียดของงานทีจ่ ะปฏบิ ัติในแต่ละ
ดา้ นว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยกไ็ ด้)

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตวั ชี้วดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ที่จะเกิดขึน้ กบั ผเู้ รียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวงั ให้เกิดขน้ึ ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ
การประเมนิ กบั ผเู้ รยี น เปลี่ยนแปลงไปในทาง
(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ทด่ี ขี ้ึนหรอื มกี ารพัฒนา
มากข้นึ หรือผลสัมฤทธ์ิ
1. ดา้ นการจัดการเรียนรู้ 1.1 สร้างและหรือพัฒนา - ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นา สูงข้ึน (โปรดระบุ)
สมรรถนะและการ
ลักษณะงานที่เสนอให้ครอบคลุม หลักสตู ร เรียนรูใ้ นรายวชิ า - ผ้เู รียนไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ
ชีววิทยา 6 เต็มตาม 100 ได้เรียนร้ตู าม
ถงึ การสร้างและหรือพฒั นาหลกั สตู ร • มกี ารจัดทำรายวิชา ศักยภาพ หลักสตู รความต้องการ
และเหมาะสมกับตนเอง
การออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ชวี วิทยา 6 ระดับช้ัน - ผูเ้ รยี นไม่น้อยกว่าร้อยละ

การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 และ

การสรา้ งและหรือพัฒนาส่ือ หนว่ ยการเรียนรู้ให้

นวตั กรรมเทคโนโลยี และแหลง่ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน

ลักษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชี้วดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทจี่ ะเกิดข้ึนกับผ้เู รียน
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ท่คี าดหวังใหเ้ กิดขนึ้ ที่แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ
เรยี นรู้ การวัดและประเมินผลการ การประเมิน กบั ผ้เู รียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง
จัดการเรียนรู้ การศึกษา วเิ คราะห์ (โปรดระบุ) (โปรดระบุ) ที่ดขี ้นึ หรือมีการพฒั นา
สงั เคราะห์ เพื่อแกป้ ัญหาหรือ มากขนึ้ หรือผลสมั ฤทธิ์
พฒั นาการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศ การเรยี นรู้ และผลการ สูงขน้ึ (โปรดระบุ)
ท่สี ่งเสริมและพัฒนา ผู้เรียนและการ เรยี นรูต้ ามหลักสูตร
อบรมและพฒั นาคณุ ลกั ษณะที่ดีของ รวมท้งั สอดคล้องกบั บรบิ ท 70 มผี ลสมั ฤทธ์ิทางการ
ผ้เู รยี น ของสถานศึกษา ผเู้ รยี น เรยี นรายวิชาชวี วิทยา
และท้องถิน่ และสามารถ เพิ่มเติมเป็นไปตามค่า
แก้ไขปญั หาในการจัดการ เป้าหมายของโรงเรยี น
เรยี นรไู้ ด้

1.2 ออกแบบการจดั การ - ผ้เู รียนมคี วามรู้ - ผู้เรยี นร้อยละ 70
เรียนรู้ ดังน้ี ทักษะ คุณลักษณะ มีกระบวนการคิดและ
• มีการออกแบบการ ประจำวิชาชวี วทิ ยา 6 ค้นพบองค์ความรดู้ ว้ ย
จัดการเรียนรใู้ นรายวิชา มคี ุณลักษณะอนั พงึ ตนเอง และสรา้ งแรง
ชีววิทยา ระดับช้นั ประสงค์ และ บันดาลใจในการเรียน
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ทีเ่ น้น สมรรถนะที่สำคญั ตาม วชิ าชีววทิ ยา
ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั สามารถ หลกั สตู ร
แก้ไขปัญหาในการจดั การ
เรยี นรขู้ องผู้เรยี นได้

__________________ _________________ _________________

1.3 จัดกิจกรรมการ - ผูเ้ รียนได้พฒั นาเต็ม - ผเู้ รียนร้อยละ 70

เรยี นรู้ ดังน้ี ตามศกั ยภาพ สามารถ มกี ระบวนการคิดและ

• มีการอำนวยความ เรยี นร้แู ละทำงาน ค้นพบองค์ความรู้ด้วย

สะดวกในการเรยี นรู้ โดยมี รว่ มกนั ได้ ตนเอง และสรา้ งแรง

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ บันดาลใจ

ท่สี ามารถแกไ้ ขปัญหา

ในการจัดการเรยี นรู้

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชว้ี ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดข้นึ กับผู้เรียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังใหเ้ กิดขึ้น ทแี่ สดงให้เห็นถึงการ

การประเมนิ กบั ผเู้ รียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง

(โปรดระบุ) (โปรดระบุ) ทดี่ ขี น้ึ หรอื มีการพฒั นา

มากข้ึนหรือผลสัมฤทธ์ิ

สูงขึ้น (โปรดระบุ)

1.4 สร้างและหรือพัฒนา

ส่อื นวัตกรรมเทคโนโลยี

และแหลง่ เรียนรู้

• มกี ารสรา้ งและหรือ - ผู้เรยี นมีทักษะการคิด - ผเู้ รยี นร้อยละ 70

พฒั นาส่อื นวัตกรรม และสามารถสรา้ ง สามารถสรา้ งสือ่

เทคโนโลยี และแหลง่ นวัตกรรมได้ นวัตกรรมจากการเรียน

เรยี นรู้สอดคล้องกับ รายวชิ าชีววทิ ยาได้

กิจกรรมการเรยี นรู้

สามารถแก้ไขปัญหาในการ

เรียนร้ขู องผ้เู รยี น

1.5 วดั และประเมนิ ผล

การเรยี นรู้

• มีการวดั และประเมนิ ผล - ผูเ้ รยี นสามารถ - นักเรียนร้อยละ 80 มี
ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
การเรยี นรูด้ ้วยวธิ กี ารท่ี พัฒนาการเรยี นรู้ได้ ตง้ั แต่ระดับผลการเรียน
2.0 ขึน้ ไป
หลากหลาย เหมาะสม อยา่ งต่อเน่ือง มี - นักเรยี นรอ้ ยละ 90 มี
คะแนนคณุ ลกั ษณะอนั
และสอดคล้องกบั ผลสมั ฤทธิส์ ูงกว่า พึงประสงค์ ตั้งแต่ระดับ
ดีขึ้นไป
มาตรฐานการเรยี นรู้ มีการ เป้าหมายของ - นักเรียนร้อยละ 90 มี
คะแนนอา่ น คดิ
ประเมนิ ผลการเรยี นรูต้ าม สถานศกึ ษา วเิ คราะหแ์ ละเขียน
ตัง้ แตร่ ะดบั ดีขนึ้ ไป
สภาพจริง และนำผลมาใช้

แกไ้ ขปญั หาการจัดการ

เรยี นรู้

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้วี ัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่ ท่จี ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ทจ่ี ะเกิดขึน้ กับผเู้ รยี น
ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทีค่ าดหวังใหเ้ กดิ ขึ้น ทแ่ี สดงให้เห็นถึงการ
การประเมิน กบั ผูเ้ รยี น เปลีย่ นแปลงไปในทาง
(โปรดระบุ) (โปรดระบ)ุ ท่ีดขี ้นึ หรือมกี ารพฒั นา
มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ
1.6 ศกึ ษา วเิ คราะห์ สงู ขึน้ (โปรดระบ)ุ
และสังเคราะห์ เพ่อื แก้ไข
ปญั หาหรือพัฒนาการ - ผเู้ รียนได้รบั การแก้ไข - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100
เรยี นรู้
• มกี ารศกึ ษา วิเคราะห์ ปัญหาหรอื พฒั นาการ ได้รบั การแกไ้ ขปญั หา
และสงั เคราะห์ในรปู แบบ
การวิจัย เพือ่ แกไ้ ขปญั หา เรยี นรู้ในรายวชิ า หรอื พัฒนาการเรียนรใู้ น
หรอื พฒั นาการเรยี นรูท้ ี่
ส่งผลต่อคุณภาพผ้เู รียน ชวี วทิ ยา รายวชิ าชวี วิทยา
และนำผลการศึกษา
วิเคราะห์ และสังเคราะห์
มาใชแ้ ก้ไขปญั หาหรือ
พฒั นาการจดั การเรียนรู้

1.7 จดั บรรยากาศท่ี

สง่ เสรมิ และพัฒนาผ้เู รยี น

ดังน้ี

• มีการจัดบรรยากาศท่ี - ผ้เู รยี นเกิดกระบวน - นักเรยี นรอ้ ยละ 90 มี
ความคิดเห็นเกีย่ วกบั
เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั การคิด มีทักษะชวี ติ การจัดการเรยี นการสอน
ของครอู ยู่ในระดับมาก
ความแตกตา่ งของผเู้ รยี น ทกั ษะการทำงาน (3.50) ขน้ึ ไป (สอบถาม
ผ่านแบบสอบถาม)
เป็นรายบคุ คล สามารถ ทกั ษะการเรยี นรู้และ

แก้ไขปัญหา การเรียนรู้ นวตั กรรม เกดิ ทักษะ

สรา้ งแรงบันดาลใจ ดา้ นสารสนเทศ สอื่

ส่งเสรมิ และพฒั นาผเู้ รยี น และเทคโนโลยี

ให้เกดิ กระบวนการคิด

ทักษะชวี ติ ทกั ษะการ

ทำงาน ทกั ษะการเรียนรู้

และนวตั กรรม ทักษะด้าน

สารสนเทศ ส่ือ และ

เทคโนโลยี

ลกั ษณะงานที่ปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวชี้วัด (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนินการพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ทีจ่ ะเกิดขนึ้ กับผู้เรียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ที่คาดหวังให้เกดิ ขนึ้ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

การประเมนิ กบั ผเู้ รียน เปลย่ี นแปลงไปในทาง

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ทีด่ ีขนึ้ หรอื มีการพฒั นา

มากขึน้ หรือผลสัมฤทธิ์

สงู ขน้ึ (โปรดระบุ)

1.8 อบรมและพฒั นา

คณุ ลักษณะทดี่ ขี องผเู้ รยี น

ดังนี้

• มีการอบรมบ่มนสิ ยั ให้ - ผูเ้ รยี นมีคณุ ธรรม - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100

ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ มีคณุ ลักษณะอนั พงึ

จรยิ ธรรม คณุ ลักษณะอนั อันพงึ ประสงค์ และ ประสงคต์ ามคา่

พึงประสงค์ และคา่ นยิ ม ค่านิยมความเปน็ ไทยที่ เป้าหมายของโรงเรยี น

ความเปน็ ไทยที่ดีงาม โดย ดีงาม

คำนึงถงึ ความแตกตา่ งของ

ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล และ

สามารถแก้ไขปัญหาผู้เรียน

ได้

2. ด้านการส่งเสรมิ และสนบั สนุน 2.1 จัดทำขอ้ มูล

การจดั การเรียนรู้ สารสนเทศของผู้เรียน

ลักษณะงานทเี่ สนอให้ครอบคลมุ และรายวชิ า ดังนี้

ถงึ การจัดทำข้อมลู สารสนเทศของ • มกี ารจดั ทำข้อมูล -ผู้เรียนไดร้ ับการ - ผู้เรยี นรอ้ ยละ 90

ผเู้ รยี นและรายวิชา การดำเนินการ สารสนเทศของผู้เรยี นใน ส่งเสรมิ สนับสนนุ การ ไดร้ ับการส่งเสริม

ตามระบบ ดูแลชว่ ยเหลอื ผ้เู รียน รายวชิ าชีววิทยา อย่าง เรยี นรู้ แกไ้ ขปัญหา สนับสนนุ การเรยี นรู้

การปฏบิ ัตงิ านวชิ าการและงานอืน่ ๆ เป็นระบบโดยมีข้อมูลเป็น และพัฒนาคุณภาพ แก้ไขปญั หาและพฒั นา

ของสถานศกึ ษา และการประสาน ปจั จุบนั เพื่อใช้ในการ ผู้เรียน คณุ ภาพผเู้ รยี น

ความรว่ มมอื กับผู้ปกครอง ภาคี สง่ เสริมสนบั สนนุ การ

เครอื ข่าย และหรือสถาน เรียนรู้ แกไ้ ขปัญหาและ

ประกอบการ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน

__________________ _________________ __________________

2.2 ดำเนนิ การตามระบบ

ดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน

• มีการใชข้ ้อมูลสารสนเทศ - ผู้เรยี นไดร้ บั การ - ผู้เรียนรอ้ ยละ 100

เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล สง่ เสรมิ ป้องกัน และ เขา้ สรู่ ะบบดแู ล

และประสานความร่วมมือ แกไ้ ขปัญหาอย่างเปน็ ชว่ ยเหลือนกั เรยี น เพ่ือ

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตวั ชีว้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทีจ่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึน้ กบั ผเู้ รยี น

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวังใหเ้ กิดขึ้น ทแ่ี สดงให้เหน็ ถึงการ

การประเมนิ กบั ผเู้ รียน เปล่ียนแปลงไปในทาง

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ทดี่ ขี ึน้ หรือมกี ารพัฒนา

มากขึน้ หรือผลสมั ฤทธ์ิ

สูงขนึ้ (โปรดระบุ)

กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพ่ือ ระบบ ตามขน้ั ตอนของ ได้รับการสง่ เสริม

พัฒนา และแก้ไขปัญหา ระบบดแู ลช่วยเหลือ ป้องกนั และแก้ไขปัญหา

ผู้เรยี นดว้ ยระบบ STD นักเรียน อยา่ งเป็นระบบ

2.3 ปฏิบัตงิ านวิชาการ - นักเรียนได้รับการ - ผ้เู รียนร้อยละ 80
และงานอ่ืน ๆ ของ พฒั นาความรู้ ไดร้ ับการจัดการศึกษา
สถานศึกษา ความสามารถทาง ท่ีมีคุณภาพ
• ร่วมปฏบิ ตั งิ านทาง ชีววทิ ยา ผา่ นสือ่
วชิ าการ และงานอน่ื ๆ นวตั กรรมทค่ี รูสร้าง
ของโรงเรยี นตามคำสั่งที่ และพัฒนาขน้ึ ใน
ไดร้ ับมอบหมาย เพื่อ รูปแบบต่างๆ และได้
ยกระดับคณุ ภาพการจดั รว่ มกจิ กรรมของกลมุ่
การศกึ ษาของโรงเรียน สาระการเรียนรู้
-ปฏิบตั ิหนา้ ท่สี อนรายวิชา วทิ ยาศาสตร์และ
ชีววทิ ยา เทคโนโลยี
-กรรมการฝา่ ยงานบรหิ าร
ทั่วไป

2.4 ประสานความ

รว่ มมือกับผ้ปู กครอง ภาคี

เครอื ขา่ ย และหรือสถาน

ประกอบการ

• ประสานความรว่ มมือกบั - ผู้เรยี นได้รบั การแก้ไข - ผูเ้ รียนร้อยละ 100

ผูป้ กครอง ภาคีเครือขา่ ย ปญั หาและส่งเสริม ไดร้ ับการแกไ้ ขปญั หา

และหรือสถานประกอบการ พฒั นาในด้านท่ตี นเอง และสง่ เสริมพัฒนาใน

เพอื่ ร่วมกันแก้ไขปัญหา ถนดั ดา้ นท่ตี นเองถนดั

และพัฒนาผเู้ รยี น

ลกั ษณะงานที่ปฏบิ ตั ิ งาน (Tasks) ผลลพั ธ์ (Outcomes) ตัวช้ีวดั (Indicators)

ตามมาตรฐานตำแหน่ง ทจี่ ะดำเนนิ การพัฒนา ของงานตามขอ้ ตกลง ทจ่ี ะเกิดขึ้นกับผเู้ รียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทค่ี าดหวงั ให้เกดิ ข้นึ ท่แี สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

การประเมนิ กับผเู้ รยี น เปลี่ยนแปลงไปในทาง

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบุ) ที่ดขี ้นึ หรอื มีการพัฒนา

มากขึ้นหรือผลสัมฤทธ์ิ

สงู ข้นึ (โปรดระบ)ุ

3. ด้านการพฒั นาตนเองและ 3.1 พัฒนาตนเองอยา่ ง

วชิ าชพี เป็นระบบและต่อเนื่อง

ลกั ษณะงานทเ่ี สนอให้ครอบคลุม • มีการพฒั นาตนเองโดยมี - ผเู้ รยี นไดร้ บั การแก้ไข - ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100

ถึงการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ การจัดทำ ID PLAN และ ปัญหาและพัฒนา ได้รับการแก้ไขปญั หา

และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม ในการ รายงานการอบรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียน ได้ และพฒั นาคณุ ภาพ

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อ ตนเอง อย่างเป็นระบบ เรียนรู้ผ่านส่ือที่ครู ผู้เรยี น ผ่านสื่อที่ครสู รา้ ง

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ และการนำ และนำผลการพฒั นา สร้าง,

ความรู้ความสามารถทักษะที่ได้จาก ตนเองและพัฒนาวิชาชพี

การพัฒนาตนเอง และวิชาชีพมาใช้ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้

ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การ เพอ่ื แก้ปัญหาและพัฒนา

พัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการ คุณภาพผูเ้ รยี น โดยเข้า

พัฒนานวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ ศกึ ษา อบรมการใช้ Canva

การพฒั นาการใชง้ าน

อบรมการใช้ภาษาเพื่อการ

ส่ือสารและจดั การเรียนรู้

3.2 มสี ่วนรว่ มในการ - ผเู้ รียนไดร้ บั การแก้ไข _________________
แลกเปลี่ยนเรยี นรูท้ าง ปัญหาและพฒั นา
วิชาชพี เพื่อแก้ไขปัญหา คุณภาพผู้เรียน - ผูเ้ รยี นร้อยละ 100
และพฒั นาการจดั การ ผา่ นกระบวนการ PLC ได้รบั การแกไ้ ขปญั หา
เรียนรู้ และพัฒนาคุณภาพ
• มกี ารสร้างกล่มุ ชุมชน ผู้เรยี น
แหง่ การเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ
เพื่อแก้ไขปัญหาและ
พัฒนาการจดั การเรยี นรู้
(PLC)

3.3 นำความรู้
ความสามารถ ทกั ษะท่ีได้
จากการพฒั นาตนเองและ

ลักษณะงานที่ปฏบิ ัติ งาน (Tasks) ผลลัพธ์ (Outcomes) ตัวชวี้ ดั (Indicators)
ตามมาตรฐานตำแหนง่
ทจ่ี ะดำเนนิ การพฒั นา ของงานตามข้อตกลง ที่จะเกิดขึน้ กบั ผู้เรียน

ตามข้อตกลงใน 1 รอบ ทคี่ าดหวังใหเ้ กิดขนึ้ ทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถึงการ

การประเมนิ กับผเู้ รียน เปลี่ยนแปลงไปในทาง

(โปรดระบ)ุ (โปรดระบ)ุ ท่ีดีข้ึนหรือมกี ารพฒั นา

มากข้ึนหรือผลสัมฤทธิ์

สูงข้ึน (โปรดระบ)ุ

วิชาชพี มาใชใ้ นการ

พัฒนาการจัดการเรียนรู้

การพฒั นาคุณภาพผู้เรียน

และการพัฒนานวัตกรรม

การจัดการเรียนรู้ ท่ีมีผล

ตอ่ คณุ ภาพผ้เู รยี น

-นำผลจากการประชมุ - ผูเ้ รยี นทมี่ ีปญั หา

PLC ไปสรา้ งเป็นสื่อ ได้รับการจัดการเรียนรู้ - ผู้เรียนร้อยละ 100

นวัตกรรม เพ่ือนำมาใชใ้ น อยา่ งมีคุณภาพ ของนักเรียนท่มี ปี ัญหา

การพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน ได้รับการจดั การเรยี นรู้

หรือแก้ไขนักเรยี นทม่ี ผี ล อย่างมีคุณภาพ

การเรยี นรไู้ ม่ผา่ นเกณฑท์ ่ี

กำหนด

หมายเหตุ
1. รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนาตามแบบPA 1ให้เป็นไปตามบริบท และสภาพการจัดการ

เรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อำนวยการสถานศึกษา และข้าราชการครู
ผ้จู ดั ทำข้อตกลง

2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางานต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ท่ี
ส่งผลโดยตรงต่อผลลพั ธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้นำเสนอรายวิชาหลกั ที่ทำการสอน โดยเสนอในภาพรวม
ของรายวิชาหลักที่ทำการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่ งได้
โดยจะต้องแสดงให้เห็นถงึ การปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง และคณะกรรมการประเมนิ ผลการพัฒนางาน
ตามข้อตกลงสามารถประเมินไดต้ ามแบบการประเมินPA2

3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบPA 1 ให้ความสำคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ ของผู้เรียน
(Outcomes) และตัวชี้วัด(Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ
พัฒนางานตามข้อตกลงใหค้ ณะกรรมการดำเนินการประเมิน ตามแบบPA 2 จากการปฏบิ ตั ิงานจริง สภาพการ
จัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางาน ตาม
ขอ้ ตกลงเปน็ สำคญั โดยไมเ่ นน้ การประเมินจากเอกสาร

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานท่เี ปน็ ประเด็นท้าทายในการพฒั นาผลลัพธ์การเรียนรขู้ องผเู้ รียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันดำรง

ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับ ประยุกต์ การ
จัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปล่ียนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการ
พัฒนามากข้ึน (ทั้งน้ี ประเดน็ ทา้ ทายอาจจะแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ระดับการปฏบิ ตั ทิ ค่ี าดหวงั ทส่ี งู กวา่ ได้)

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การประยุกต์ใช้ กระบวนการสอนแบบ Active Learning ในการพัฒนา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา เรื่อง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” ของนักเรียนระดับชั้น
มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

1. สภาพปัญหาของการจดั การเรยี นร้แู ละคณุ ภาพการเรียนรูข้ องผู้เรียน
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 มุ่งหวงั ให้ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์ที่

เน้นการเชื่อมโยงความรูก้ ับกระบวนการ มที กั ษะสำคญั ในการค้นควา้ และสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการ

ในการสืบเสาะหาความรู้ และการแกป้ ัญหาทีห่ ลากหลายให้ผู้เรยี น มสี ่วนร่วมในการเรยี นรู้ทกุ ขน้ั ตอน มกี ารทำ

กิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลายเหมาะสมกับระดับชัน้ รูปแบบการสอนโดยใช้กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เป็นรูปแบบการสอน ที่เน้นให้นักเรียนสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ครูไม่ต้องอธิบายหรือ

บรรยายเนื้อหาให้นักเรียนฟัง แต่จะใช้คำถามเพื่อนำไปสู่พฤติกรรมของนักเรียนในการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ

การเรียนรู้โดยใช้ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ถือเป็นหัวใจสำคัญยิ่งของการเรียนวทิ ยาศาสตร์ เพราะ
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เอื้อให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด วิทยาศาสตร์มี

บทบาทสำคัญในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคน ทั้งในการ

ดำรงชีวิตและในงานอาชีพ วิทยาศาสตร์ทำให้คนได้พัฒนาวิธีคิดและมีความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่าง
เปน็ ระบบ จากการสอบถามและการสงั เกตจากพฤติกรรมของนักเรยี น

จากรายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) พบว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานที่แสดง

ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนในรายวชิ าวิทยาศาสตรม์ ีคะแนนผ่านเกณฑ์เพยี งเล็กน้อย ซึ่งผลยังไมเ่ ปน็ ท่นี ่าพอใจ

จากปัญหาดังกล่าวข้างต้นข้าพเจ้าจึงต้องการ “ปรับและประยุกต์” โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้

เรื่อง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” โดยใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเป็นนวัตกรรมที่จะช่วยแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอนที่จะทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์สูงขึ้น ซึ่งผู้วิจัยคาดว่าจะเป็นแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชา

วิทยาศาสตร์ให้น่าสนใจ นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง มีเจตคติที่ดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และมีความสุขในการ

เรียน ตลอดจนเปน็ การช่วยตอบสนองเจตนารมณข์ องหลกั สตู รทตี่ ้องการพัฒนาใหน้ ักเรียนคิดเปน็ ทำเป็นและ
แกป้ ัญหาเป็น เพ่อื ส่งผลในการพฒั นาผเู้ รียนใหก้ ้าวเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซยี นอยา่ งเต็มตามศักยภาพ

2. วิธกี ารดำเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล
2.1 จดั ต้งั กลุ่มชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี ประจำกลุ่มสาระการเรียนรเู้ พือ่ แลกเปลีย่ นเรียนรู้

เกี่ยวกับกระบวนการสอนแบบ Active Learning

2.2 นำเสนอตอ่ ผบู้ ริหารเพือ่ ขออนุมัติจัดตง้ั กลุ่มชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี กลมุ่ สาระการ
เรียนรู้

2.3 วิเคราะหห์ ลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง
พุทธศักราช 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมัญจาศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี สาระชีววิทยา ข้อที่ 2

2.4 ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ วชิ าชีววิทยา เร่อื ง “สว่ นประกอบของสมองมนษุ ย์”

2.5 ออกแบบเอกสาร ผลิตสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้ และสร้างแบบทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรยี นวิชาชีววทิ ยา เรอื่ ง “สว่ นประกอบของสมองมนุษย์” โดยใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning

2.6 นำเอกสาร ส่ือประกอบการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นวิชา
ชีววิทยา เรื่อง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” โดยใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning ไปให้ครูใน

กลุ่มชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ พิจารณาความความเหมาะสมและความน่าสนใจในการจัดการเรียนรู้ พร้อม
ทงั้ ใหข้ ้อเสนอแนะเพือ่ ปรับปรงุ และพฒั นา

2.7 ปรับปรุงและพฒั นาเอกสาร ส่อื ประกอบการจัดการเรยี นรู้ และแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรยี น ตามคำแนะนำของครใู นกลมุ่ ชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี

2.8 ให้นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทดลองเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง “ส่วนประกอบของ

สมองมนุษย”์ โดยใชก้ ระบวนการสอนแบบ Active Learning

2.9 ตรวจสอบและพัฒนาการใช้กระบวนการสอนแบบ Active Learning

ในการจัดการเรียนรู้วิชาชีววิทยา เรื่อง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มี

ประสิทธภิ าพ
2.10 จดั การเรียนรู้วชิ าชีววิทยา เรอื่ ง “สว่ นประกอบของสมองมนุษย์” โดยใช้กระบวนการ

สอนแบบ Active Learning และเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นกับเกณฑ์ร้อยละ 70

3. ผลลพั ธ์การพฒั นาทค่ี าดหวงั
3.1 เชงิ ปริมาณ
เชงิ ปริมาณ

1.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 และ 6/4 ทั้ง 57 คน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้

วชิ าชวี วทิ ยา เรอื่ ง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” โดยใชก้ ระบวนการสอนแบบ Active Learning มีคะแนน

หลังเรียนสงู กวา่ เกณฑร์ อ้ ยละ 70 (รอ้ ยละ 70 ของคะแนนเตม็ )

เชิงคณุ ภาพ

2.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3 และ 6/4 ทั้ง 57 คน มีความรู้ความเข้าใจ

ทางการเรียน วิชาชีววิทยา เรื่อง “ส่วนประกอบของสมองมนุษย์” โดยใช้กระบวนการสอนแบบ Active

Learning สามารถนำความรไู้ ปเช่อื มโยงกับชวี ิตประจำวนั หรอื ประยุกตบ์ ูรณาการกบั ศาสตรอ์ นื่ ๆ ได้

ลงชื่อ........................................................................
(นางสาวกญั ญ์วรา อกั ษรเสือ)
ตำแหนง่ ครู

ผู้จัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน
1 ตลุ าคม 2564

ความเห็นของผู้อำนวยการสถานศึกษา
( ) เหน็ ชอบใหเ้ ป็นข้อตกลงในการพฒั นางาน
( ) ไมเ่ หน็ ชอบใหเ้ ปน็ ข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมขี ้อเสนอแนะเพื่อนำไปแก้ไข และเสนอ

เพ่อื พิจารณาอีกครั้ง ดงั น้ี
............................................................................................................................. ..........

........................................................................................................................ ......................................................

ลงช่อื ....................................................................
( นายสมนกึ เรอื่ งลอื )

ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นมัญจาศกึ ษา
1 ตุลาคม 2564


Click to View FlipBook Version