ยกร่างเนื้อหาวิชาการในการผลิตสื่อถ่ายทอดความรู้ทางการเกษตร ปี 2564
โปสเตอร์ (ออกแบบอาร์ตเวิร์ค) เรื่อง การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
แผ่นที่ 1
การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
หมายถึง การเกื้อหนุน และช่วยเหลือให้ครัวเรือนเกษตรกรมีอาหารบริโภคอย่างเพยงพอ อาหารมีความ
ี
ื่
ปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการที่เหมาะสมเพอการมีสุขภาวะที่ดี โดยการใช้รูปแบบ เทคนิค วิธีการส่งเสริมด้วย
ื่
การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับครัวเรือนเกษตรกร ตั้งแต่การผลิตไปจนถึงการเก็บรักษา เพอเป็นแหล่งอาหารของ
ครัวเรือนและชุมชน ลดการพึ่งพาอาหารจากภายนอก มีการส ารองอาหารไว้บริโภคทั้งในสภาวะปกติและเกิดภาวะ
วิกฤต
ี
ซึ่งมองค์ประกอบส าคัญ 4 มติ
ิ
1. การมีอาหารเพียงพอ (Food Availability) 2. การเข้าถึงอาหาร (Food Access)
3. การใช้ประโยชน์จากอาหาร (Food Utilization) 4. เสถียรภาพด้านอาหาร (Food Stability)
กระบวนการส่งเสริมความมนคงด้านอาหาร
ั่
1.สร้างกระบวนการเรียนรู้ :
จัดเวทีชุมชน วิเคราะห์พื้นที่ / ทาแผนความต้องการ
คัดเลือกครัวเรือนต้นแบบ
4. สรุปและขยายผล : 2. ถ่ายทอดความรู้และฝึกปฏิบัติ
สรุปบทเรียนเพื่อวางแผนต่อยอด / ขยายผลครัวเรือน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเกษตร
ต้นแบบ เชื่อมโยงเครือข่าย ด้านเคหกิจเกษตร
3. สร้างแหล่งอาหาร :
รายบุคลและแปลงรวมของชุมชน /วางแผนการบริโภคและใช้ประโยชน์ /
แลกเปลี่ยนและกระจาย /เก็บส ารองอาหารและเมล็ดพันธุ์
ผลที่เกิดขึ้นกับครัวเรือนเกษตรกร
1. มีอาหารคุณภาพเพียงพอต่อความต้องการ 2. ใช้ประโยชน์จากอาหารได้คุ้มคา 3. มีสุขภาวะที่ดี
4. ลดการพึ่งพาจากปัจจัยภายนอก 5. มีการส ารองอาหารยามฉุกเฉิน
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แผ่นที่ 2
การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
มิติที่ 1 การมีอาหารเพียงพอ
การมีอาหารเพียงพอ คือ การมีอาหารเพียงพอในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม
เพียงพอต่อความต้องการของสมาชิกในครอบครัว
เริ่มอย่างไรดี ?
ื่
ื
ื้
ก่อนอนลองส ารวจบริเวณพนที่รอบ ๆ บ้านว่า บ้านเรามีพชผัก และอาหารโปรตีนที่มาจากสัตว์อะไรบ้าง
และ ยังมีพนที่ว่างในส่วนไหนบ้าง เช่น หน้าบ้าน หลังบ้าน ข้างบ้าน จากนั้นสังเกตว่าในจุดนั้นได้รับแสงตอนไหน
ื้
ื
ื้
ื
บ้าง เพราะการเจริญเติบโตของพชต้องการแสงในสภาพที่ต่างกัน และการจัดสรรพนที่ยังท าให้สามารถดูแลพชผัก
ื้
ไม้ผล รวมไปถึงบริเวณที่เลี้ยงสัตว์ได้อย่างสะดวก และมีสุขภาวะที่ดีด้วย เมื่อได้พนที่ที่ต้องการจึงจัดวางรูปแบบ
และเลือกพืชผัก ผลไม้ และเลี้ยงสัตว์ ดังนี้
ปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ให้สอดคล้องกับความต้องการบริโภคของสมาชิก
ปลูกทุกอย่างที่กิน และกินทุกอย่างที่ปลูก
ปลูกพืชผัก ผลไม้ และเลี้ยงสัตว์สัตว์ให้สามารถรับประทานได้ตลอดทั้งปี
ปลูกพืชผักผลไม้ และเลี้ยงสัตว์ตามหลักเกษตรที่เหมาะสม
ปลูกพืชผัก ผลไม้ แบบปลอดสารเคม ี
ภาพตัวอย่างการจัดพื้นที่สร้างความมั่นคงด้านอาหารในครัวเรือน
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แผ่นที่ 3
การปลูกผักหลากหลายบริโภคตลอดปี
การเลือกปลูกผักบริโภคในครัวเรือน
มีความหลากหลาย กินเป็นประจ า
กินได้หลายส่วน เก็บกินได้ทุกวัน
มีคุณค่าทางโภชนาการ
พืชผักพื้นบ้านและสมุนไพร
ไม่ใช้สารเคมี
ั
ปฏิทินการเลือกปลูกผกบริโภคในครัวเรือน
โภชนาการ (100 g)
อายุเก็บเกี่ยว
์
เดือน ล าดับ ผักสวนครัว พลังงาน คาร์โบไฮเดรต ไฟเบอร วิตามิน A วิตามิน c
(วัน)
Kcal กรัม กรัม ไมโครกรัม มิลลิกรัม
มกราคม 1 ผักช ี 45 – 60 23 3.67 2.8 337 3,930
2 ผักขึ้นฉ่าย 45 – 50 67 3 1.6 22 3
3 พริกขี้หนู 80 – 100 76 12.4 5.2 242 44
4 แตงร้าน 45 – 60 15 2.7 0.4 462 18
5 ผัดกาดหอม 40 – 50 14 2.9 1.3 7,405 9.2
กุมภาพันธ์ 6 ผักบุ้งจีน 20 – 25 19 2.7 0.8 81 14
7 ถั่วแขก 55 – 60 31 5.5 1.0 60 32
8 พริกชี้ฟ้า 80 – 100 58 6.6 3.5 10,000 168
9 บวบ 50 – 60 15 2.6 0.7 7 20
10 มะเขือ 60 – 120 31 5.9 1.3 19 24
มีนาคม 11 คะน้า 45 – 60 31 6.2 1.2 419 147
12 มะระ 50 – 70 31 6.3 0.7 0 85
13 แตงกวา 35 – 40 15 2.6 0.7 7 20
14 ถั่วฝักยาว 50 – 60 39 5.9 1.9 113 12
15 ผักกาดหอม 40 – 50 14 2.87 1.3 7,405 9.2
เมษายน 16 ผักกาดเขียวกวางตุ้ง 45 – 50 13 2.2 1 4,468 45
17 ฟักเขียว 90 – 110 13 3 2.9 0 21
18 ผักช ี 45 – 60 23 3.67 2.8 337 3,930
19 ผักบุ้งจีน 20 – 25 19 2.7 0.8 81 14
20 แตงกวา 35 – 40 15 2.6 0.7 7 20
21 มะเขือ 60 – 120 31 5.9 1.3 19 24
22 บวบ 50 – 60 15 2.6 0.7 7 20
พฤษภาคม 23 ผักบุ้งจีน 20 – 25 19 2.7 0.8 81 14
24 หอมแบ่ง 50 – 60 34 5.8 1.1 228 52
25 มันเทศ 90 – 120 90 20.7 3.3 384 33
26 มะระ 50 – 70 31 6.3 0.7 0 85
มิถุนายน 28 หอมแบ่ง 50 – 60 34 5.8 1.1 228 52
29 ผักกาดเขียวกวางตุ้ง 45 – 50 13 2.2 1 4,468 45
30 มะเขือ 60 – 120 31 5.9 1.3 19 24
31 บวบ 50 – 60 15 2.6 0.7 7 20
กรกฎาคม 32 ผักบุ้งจีน 20 – 25 19 2.7 0.8 81 14
33 คะน้า 45 – 60 31 6.2 1.2 419 147
34 ถั่วแขก 55 – 60 35 7.88 3.2 633 9.7
35 ถั่วฝักยาว 50 – 60 39 5.9 1.9 113 12
สิงหาคม 36 พริกชี้ฟ้า 80 – 100 58 6.6 3.5 10,000 168
37 ผักบุ้งจีน 20 – 25 19 2.7 0.8 81 14
โภชนาการ (100 g)
อายุเก็บเกี่ยว
์
เดือน ล าดับ ผักสวนครัว พลังงาน คาร์โบไฮเดรต ไฟเบอร วิตามิน A วิตามิน c
(วัน)
Kcal กรัม กรัม ไมโครกรัม มิลลิกรัม
38 ผักกาดเขียวกวางตุ้ง 45 – 50 13 2.2 1 4,468 45
กันยายน 39 คะน้า 45 – 60 31 6.2 1.2 419 147
40 ฟักทอง 50 – 60 128 25.6 1 310 84
41 หัวไชเท้า 50 – 45 18 4.1 1.6 0 36
42 มะระ 50 – 70 31 6.3 0.7 0 85
43 แตงกวา 35 – 40 15 2.6 0.7 7 20
ตุลาคม 44 ผักช ี 45 – 60 23 3.67 2.8 337 3,930
45 กะหล่ าปลี 60 – 90 16 2.2 1.2 7 23
46 หัวไชเท้า 40 – 45 18 4.1 1.6 0 36
47 มะเขือเทศ 60 – 70 26 4.7 1.1 62 32
48 แตงร้าน 45 – 60 15 2.7 0.4 462 18
พฤศจิกายน 49 กะหล่ าดอก 60 – 90 16 2.2 1.2 7 23
50 ผักขึ้นฉ่าย 45 – 50 67 3 1.6 22 3
51 หอมแดง 60 – 80 72 16.8 3.2 0 8
52 พริกขี้หนู 80 – 100 76 12.4 5.2 242 44
53 กะเทียม 120 – 130 149 33.06 2.1 0 31.2
54 แครอท 55 – 75 42 7.9 1 1,166 3
ธันวาคม 55 กะหล่ าดอก 60 – 90 25 5 2 0 48.2
56 กะหล่ าปลี 45 – 50 16 2.2 1.2 7 23
57 หัวไชเท้า 40 – 45 18 4.1 1.6 0 36
58 พริกยวก 70 – 90 20 4.6 1.7 7 134
59 ถั่วลันเตา 60 – 90 81 14 5 765 40
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ตัวอย่าง รูปแบบภาพที่ต้องการสื่อในแผ่นที่ 3
แผ่นที่ 4
การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
มิติที่ 2 การเข้าถึงแหล่งอาหาร
ุ
การเข้าถึงแหล่งอาหาร คือ การมีสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากร/อาหารที่มีคณภาพ โดยการผลิต ซื้อขาย
แลกเปลี่ยนอย่างเพียงพอ ปลอดภัย มีคุณภาพ และต่อเนื่อง
วิธีการเข้าถึงแหล่งอาหารมีดังนี้
1. ผลิตเองภายในบ้าน
เป็นการเข้าถึงอาหารอันดับแรกของชีวิตประจ าวัน เพราะใช้เป็นอาหารในครัวเรือนที่มีความปลอดภัย มี
คุณภาพ ช่วยลดรายจ่าย และหากมีผลผลิตมากก็สามารถเพิ่มรายได้ในครัวเรือนได้อีกด้วย (ภาพเวคเตอร์บ้านและ
มีการผลิตอาหารไว้บริโภคในครอบครัว)
2. แลกเปลี่ยนผลผลิตกับเพื่อนบ้าน
ด้วยวิธีการน าผลผลิตที่มีอยู่ในครัวเรือนของตนเอง เช่น เมล็ดพันธุ์ กิ่งพันธุ์ หรือ ผลผลิตสดที่มีอยู่ไป
ื่
แลกเปลี่ยนกันแทนการใช้เงิน นอกจากจะได้อาหารที่มีความหลากหลายแล้ว ยังช่วยสร้างสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเพอน
บ้านอีกด้วย (ภาพเวคเตอร์แลกเปลี่ยนผลผลิตกับเพื่อนบ้าน)
3. ซื้อหาจากร้านค้า หรือตลาดทั้งในและนอกพื้นที่
เป็นแหล่งซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า ระหว่างผู้ผลิตหรือผู้ประกอบการกับผู้บริโภค ทั้งในรูปของวัตถุดิบและ
สินค้าส าเร็จรูปเป็นประจ า เป็นครั้งคราว หรือตามวันที่ก าหนด เช่น ร้านขายของช าในชุมชน ตลาดนัดชุมชน ตลาด
เกษตรกร เป็นต้น (ภาพเวคเตอร์ตลาด)
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แผ่นที่ 5
การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
มิติที่ 3 การใช้ประโยชน์จากอาหาร
การใช้ประโยชน์จากอาหาร คือ การน าผลผลิตที่เกิดขึ้นมาใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ถูกต้องตามหลัก
โภชนาการ และลดการเกิดขยะจากอาหารด้วยวิธีการต่างๆ
การใช้ประโยชน์จากอาหารสามารถท าได้โดย....
ู่
1. ประกอบอาหารอย่างถูกต้องตามหลักโภชนาการ และบริโภคอาหารครบ 5 หม
การประกอบอาหารที่ดี ต้องใช้วัตถุดิบที่สดใหม่ สะอาด และปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ
ื่
ครบถ้วน เพอสุขภาพอนามัยที่ดีของผู้บริโภค โดยเน้นให้มีการบริโภคอาหารที่หลากหลายให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณ
ที่เพียงพอ เหมาะสมในแต่ละวัย
่
ั
ตัวอย่างส ารับอาหาร 5 หมู่ ได้แก ข้าวสวย / ต้มจืดฟกหมูสับ / ปลาทอดราดพริก / ไข่เจียวหมู
สับมะเขือเทศ / ผลไม้ตามฤดูกาล (ใส่รูปประกอบ)
ปัจจุบันคนหันมานิยมบริโภคอาหารจานเดียวที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบทั้ง 5 หมู่ เช่น
ก๋วยเตี๋ยว ผัดไทย ข้าวผัดน้ าพริกปลาทู ขนมจีนน้ ายา/น้ าเงี้ยว เป็นต้น (ใส่รูปประกอบ)
2. ใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า ลดการเกิดขยะจากอาหารในครัวเรือน
โดยยึดหลักการจัดการก่อนเป็นขยะอาหาร มุ่งเน้นที่การจัดการภายในครัวเรือนที่ใช้งบประมาณ
น้อย เพื่อน าไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สามารถปฏิบัติได้ ดังนี้
วางแผนก่อนการซื้อ : ตรวจสอบอาหารที่มีอยู่ วางแผนรายการอาหาร ซื้อวัตถุดิบให้
พอดีกับที่บริโภค และไม่กักตุนอาหารในปริมาณมาก
เก็บรักษาอย่างถูกวิธี : เก็บรักษาให้เหมาะสมกับชนิดและประเภทของอาหารในอุณหภูมิ
ที่เหมาะสม หมั่นตรวจเช็คสภาพอาหารและวันหมดอายุอยู่เสมอ
ใช้ในปริมาณที่เหมาะสม : เตรียมอาหารให้พอเหมาะกับจ านวนสมาชิกในครอบครัว
น ามาถนอมอาหารและแปรรูป : วัตถุดิบส่วนที่เหลือจากการบริโภคสามารถน ามาถนอม
อาหารหรือแปรรูปให้เก็บได้นานขึ้นหรือกลายเป็นอาหารชนิดใหม่
รีไซเคิลขยะอาหาร : สามารถท าได้หลายวิธี เช่น น าไปเป็นอาหารเลี้ยงสัตว์ ท าปุ๋ยหมัก/
น้ าสกัดชีวภาพ และผลิตก๊าซชีวภาพ หากมีพื้นที่มากพอ
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
แผ่นที่ 6
การส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร
มิติที่ 4 การมีเสถียรภาพด้านอาหาร
ื่
ึ
การมีเสถียรภาพด้านอาหาร คือ การเข้าถงอาหารที่ปลอดภัย มีคุณภาพ เพอการบริโภคได้อย่างเพียงพอ
ตลอดเวลา ไม่มความเสี่ยงจากการขาดแคลนอาหารและเมล็ดพันธุ์เมื่อเกิดภาวะวิกฤติต่างๆ
ี
เราสามารถสร้างเสถียรภาพด้านอาหารได้อย่างไร?
1. รู้จักการเก็บรักษาอาหาร และถนอมอาหารไว้ใช้ในครัวเรือนอย่างถูกวิธี
โดยท าให้อาหารอยู่ได้นาน ไม่เน่าเสีย ช่วยยืดอายุอาหาร ไม่กอให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งใน
่
ด้านสี กลิ่น รส เนื้อสัมผัส เพื่อเก็บรักษาอาหารให้มีคุณภาพ และยังคงคุณค่าทางโภชนาการของอาหารไว้
การเก็บรักษาอาหาร และถนอมอาหารไว้ใช้ในครัวเรือน
การถนอมอาหาร ท าเพื่อ... การเก็บรักษาอาหาร ท าได้โดย...
ยืดอายุของอาหาร แยกเป็นสัดส่วนไม่ปนกัน
รักษาคุณค่าทางโภชนาการ เก็บในอุณหภูมิและความชื้นที่เหมาะสม
ป้องกันจุลินทรีย์และสิ่งปนเปื้อน บรรจุในภาชนะที่สะอาด ปลอดภัย
วิธีการถนอมอาหารอย่างง่ายในครัวเรือน ได้แก่ ใส่รูปประกอบ
ตากแห้ง คือ การท าให้น้ าหรือความชื้นที่มีอยู่ในอาหารลดลง ด้วยการตากแดดหรือการ
รมควัน เช่น ปลารมควัน เนื้อแดดเดียว และกล้วยตาก
กวน คือ การใช้น้ าตาลผสมกบผักหรือผลไม้ ใช้ความร้อนกวนจนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น
ั
ลูกหยีกวน กล้วยกวน และมะม่วงกวน
้
เชื่อม คือ การเพิ่มน้ าตาลในอาหารโดยใช้ความร้อนท าให้สุก จนน้ าตาลซึมเขาไปในเนื้อ
เช่น กล้วยเชื่อม ฟักทองเชื่อม และมันเชื่อม
แช่อิ่ม คือ การแช่ผัก หรือผลไม้ในน้ าเชื่อม โดยเพิ่มปริมาณน้ าตาลขึ้นในแต่ละครั้ง จน
ิ่
ผักหรือผลไม้นั้นอิ่มตัวด้วยน้ าตาล เช่น มะม่วงแช่อิ่ม มะขามแช่อิ่ม และมะดันแช่อม
ดอง คือ การแช่หรือหมักอาหารด้วยเกลือ หรือน้ าตาล หรือน้ าส้มสายชู ท าให้ได้รสชาติ
แปลกใหม่ขึ้น เช่น มะม่วงดอง ฝรั่งดอง หน่อไม้ดอง
2. รู้จักการเก็บเมล็ดพันธุ์ผักพื้นบ้านไว้ใช้ในครัวเรือน
ซึ่งมีความจ าเป็นส าหรับการเพาะปลูก ท าให้มีเมล็ดพันธุ์ส าหรับปลูกอย่างสม่ าเสมอ เมื่อเกิดภัย
ธรรมชาติ เช่น น้ าท่วม ภัยแล้ง การเก็บส ารองเมล็ดพันธุ์จะท าให้มีเมล็ดพนธุ์ไว้ท าการเพาะปลูกต่อไปได้โดยไม่ขาด
ั
แคลนเมล็ดพันธุ์
สภาพที่เหมาะสมกับการเก็บเมล็ดพันธุ์
สภาพเมล็ดก่อนการจัดเก็บ : ต้องเป็นเมล็ดที่แก่จัดและมีความสมบูรณ์
ความชื้นของเมล็ดและสภาพอากาศ : ผึ่งหรือตากเมล็ดให้แห้งและเก็บในที่แห้ง
อุณหภูม : ควรเก็บในที่เย็น
ิ
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
วิธีการเก็บเมล็ดพันธุ์ผักพื้นบ้าน (ใส่รูปประกอบ)
ตระกูลพริก เก็บผลสุกแก่ น าเมล็ดออกมาท าความสะอาด ตากแดด 2-3 แดด ผึ่งในร่ม
2 วัน เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท
ตระกูลมะเขือ เก็บผลสุกแก่ น าเมล็ดออกมาท าความสะอาด ตากแดด 2-3 แดด ผึ่งใน
ร่ม 2 วัน เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท
ตระกูลบวบ เก็บผลแก่จัดแห้ง น าเมล็ดออกมาท าความสะอาด ตากแดด 2-3 แดด ผึ่งใน
ร่ม 2 วัน เก็บในภาชนะที่ปิดสนิท
ตระกูลถั่วต่าง ๆ เก็บฝักแก่สีน้ าตาล ผึ่งลมให้แห้ง น าเมล็ดออกท าความสะอาด เก็บใน
ภาชนะที่ปิดสนิท
ตระกูลกะเพรา เก็บดอกแก่จัด สีน้ าตาล น ามาสลัดเคาะเอาเมล็ดออกมา เก็บในภาชนะ
ที่ปิดสนิท
ื่
นอกจากนี้ครัวเรือนเกษตรกรสามารถรวมกลุ่มเพอสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับครัวเรือน
และชุมชน โดยการจัดตั้งกองทุนในรูปแบบเงินทุน สิ่งของ หรือปัจจัยการผลิต และมีการบริหารจัดการอย่าง
ต่อเนื่อง ท าให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้
ตัวอย่าง การตั้งกองทุนเพื่อสร้างความมั่นคงด้านอาหารให้กับครัวเรือนและชมชน
ุ
กองทุนเมล็ดพันธุ์
กองทุนต้นพันธุ์
กองทุนพันธุ์สัตว์
********************************************************
-โลโก้กรม-
เรียบเรียง : กองพัฒนาเกษตรกร
จัดท า : ส านักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี