The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

09. นางสาวสุพรรณวิภา โอฐ์ละออ_แฟ้มปฏิบัติการสอน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แฟ้มปฏิบัติการสอน

09. นางสาวสุพรรณวิภา โอฐ์ละออ_แฟ้มปฏิบัติการสอน

แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี สังกัดสำนักการศึกษาเทศบาลนครอุดรธานี จัดทำโดย นางสาวสุพรรณวิภา โอษฐ์ละออ รหัสนักศึกษา ๖๓๐๔๐๑๐๒๑๐๙ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ปีการศึกษา ๒๕๖๖


ก คำนำ แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ ได้รวบรวมหลักฐานที่เกี่ยวกับการสอน วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ที่เกิดจากการวิเคราะห์สภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อวางแผนพัฒนาการ เรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ โดยทุกขั้นตอนได้คำปรึกษาและตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดจากผู้เชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ เป็นอย่างดี แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์สภาพปัญหาการสอน การ วางแผนการวัดผลและประเมินผลอย่างละเอียด ตัวอย่างเครื่องมือวัดผล และตัวอย่างชิ้นงานนักเรียน ซึ่งทุกชิ้น ได้ผ่านการตรวจสอบแล้วเช่นเดียวกัน ขอขอบคุณนายพิบูลย์ สิทธิมงคล ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล ๒ มุขมนตรี คณะกรรมการพัฒนางานวิชาการโรงเรียน ผู้เชี่ยวชาญทุกท่าน ตลอดจนผู้ที่มีส่วนร่วมในการให้กำลังใจในการ จัดทำทุกขั้นตอน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสิ่งที่ดีงามเหล่านี้จะเป็นประโยชน์และผลดีต่อการพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการเรียนการสอนและพัฒนาการศึกษาต่อไป นางสาวสุพรรณวิภา โอษฐ์ละออ นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1 ประวัติผู้จัดทำ 2 ประวัติการศึกษา 3 ประวัติสถานศึกษา 4 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู 10 1. สภาพการจัดการเรียนการสอน 11 2. การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน 14 3. การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน 14 4. ตารางสอน 18 5. ตารางวิเคราะห์หลักสูตร 6. ตารางกำหนดการสอน 7. โครงสร้างรายวิชา 8. ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ 19 25 27 29 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ 38 1. การปฏิบัติงานพิเศษ 39 ส่วนที่ 4 การปฏิบัติตน 47


สารบัญ 1. ตารางการนิเทศการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 48 ภาคผนวก รูปภาพ 49


1 ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป


2 ประวัติผู้จัดทำ ชื่อ – สกุล นางสาวสุพรรณวิภา โอษฐ์ละออ ชื่อเล่น เกล หมู่โลหิต โอ เกิดวันที่17 เดือน พฤหัสบดีพ.ศ. 2544 เป็นบุตรคนที่ 3 จากจำนวน 3 คน สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ บิดาชื่อ นายสุวิทย์ โอษฐ์ละออ มารดาชื่อ นางสุทธิษา มุ่งโนนบ่อ ที่อยู่ปัจจุบัน 155 ม. 1 บ้านทุ่งใหญ่ ต.ทุ่งใหญ่อ.ทุ่งฝน จังหวัดอุดรธานี41310 ปัจจุบันกำลังศึกษาอยู่ที่สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี รหัสนักศึกษา 63040102109 เบอร์โทรศัพท์ 096-3844239 คติประจำใจ Do your best อาชีพที่อยากเป็นในอนาคต Freelancer E-mail: [email protected]


3 ประวัติการศึกษา ระดับการศึกษา สาขาวิชา สถานศึกษา ปีการศึกษา ปฐมวัย - โรงเรียนบ้านทุ่งใหญ่ 2548-2550 ประถมศึกษา - โรงเรียนบ้านทุ่งใหญ่ 2551-2556 มัธยมศึกษาตอนต้น - โรงเรียนทุ่งฝนวิทยาคาร 2557-2559 มัธยมศึกษาตอนปลาย วิทย์-คณิต โรงเรียนทุ่งฝนวิทยาคาร 2560-2562 อุดมศึกษา ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2563-ปัจจุบัน


4 ประวัติสถานศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ประวัติความเป็นมาของโรงเรียน โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรีก่อตั้งเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2480 โดยอาศัยศาลาวัดมัชฌิมาวาส เป็นสถานที่เรียน ชื่อว่า โรงเรียนประชาบาลตำบลหมากแข้งวัดมัชฌิมาวาส แผนกศึกษาธิการจังหวัดอุดรธานี เป็นผู้จัดตั้ง มีพื้นที่ ๖ ไร่ ๙๔ ตารางวา 22 กันยายน 2480 ได้โอนให้เทศบาลเมืองอุดรธานีดำเนินการเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนเทศบาล 2 19 ตุลาคม 2486 ได้สร้างอาคารเรียนเป็นเรือนไม้ชั้นเดียว 5 ห้องเรียนขึ้นบริเวณเรือนจำเก่า (ที่ตั้งของโรงเรียนในปัจจุบัน) แล้วย้ายมาเรียน ในวันที่ 1 มกราคม 2487 1 สิงหาคม 2495 เทศบาลเมืองอุดรธานี โอนคืนให้ศึกษาธิการจังหวัดดำเนินการเปลี่ยนชื่อใหม่ เป็น โรงเรียนถนนมุขมนตรี 1 เมษายน 2506 แผนกศึกษาธิการจังหวัด โอนคืนให้เทศบาลเมืองอุดรธานีดำเนินการ โดยใช้ชื่อ ว่า โรงเรียนเทศบาล 2 มุขมนตรี เปิดทำการสอนถึงระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 7) ปี พ.ศ. 2512 ได้สร้างอาคารเรียนเพิ่ม 1 หลัง เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น 20 ห้องเรียน พร้อมทั้งปลูก สร้างบ้านพักครูใหญ่ 1 หลัง ปี พ.ศ. 2520 ได้สร้างอาคารหอประชุมขึ้น 1 หลัง ปี พ.ศ. 2526 ได้สร้างอาคารเรียนใหม่เป็นตึก 3 ชั้น 12 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2532 ได้สร้างอาคารเรียนแทนที่อาคารไม้เดิม เป็นตึก 4 ชั้น34 ห้องเรียน ชั้นล่างเป็น ห้องประชุม ปี พ.ศ. 2535 ได้เปิดทำการสอนในระดับมัธยมศึกษาศึกษาตอนต้น ตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษานักบริหารการศึกษาท้องถิ่นกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ปี พ.ศ. 2538 ได้ต่อเชื่อมอาคาร 3 ชั้น กับอาคาร 4 ชั้น ได้ห้องเรียนเพิ่มอีก 2 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2541 ได้รื้อถอนอาคารหอประชุมแล้วสร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ชั้น ขึ้นแทนชั้นล่างใช้ เป็นโรงอาหาร ชั้น ๒ ใช้เป็นห้องประชุมเล็กและห้องเรียน ปี พ.ศ. 2542 โรงเรียนได้งบประมาณพิเศษของมิยาซาวา ต่อเติมกั้นห้องประชุมเป็นห้อง สนับสนุนการสอนคือห้องสมุด ปี พ.ศ. 2543 ได้สร้างอาคาร ค.ส.ล. 3 ชั้น ชั้นบนเป็นห้องสนับสนุนการสอน ชั้นล่างเป็นโรง อาหาร โดยได้รับงบประมาณของเทศบาลนครอุดรธานี ปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างอาคารเรียนตามแบบ ศน.สท. 3/72 จำนวน 3 ชั้น 12 ห้องเรียน ปี พ.ศ. 2563 โรงเรียนได้รับงบประมาณอุดหนุนจากเทศบาลนครอุดรธานี สร้างอาคาร เอนกประสงค์(โดม) 1 หลัง


5 ข้อมูลบุคลากรของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. จำนวนบุคลากร 1.1 ผู้อำนวยการ 1 คน 1.2 รองผู้อำนวยการ 3 คน 1.3 ครู 50 คน 2. จำนวนนักการภารโรง/พนักงาน 4 คน 3. จำนวนนักเรียน 949 คน 4. จำนวนนักศึกษาที่ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 10 คน อาคารสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1. อาคาร 2 ปฐมวัยปีที่ 1-3 สภาพทั่วไปของสถานที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ตั้งอยู่เลขที่ 27 ถนนมุขมนตรี ตำบลหมากแข้ง อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 โรงเรียนอยู่ติดกับบ้านพักจวนผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี และด้านหลังโรงเรียนอยู่เยื้องกับ สวนสาธารณะหนองประจักษ์ 1. อาคาร 1 ประถมศึกษาปีที่ 1-4


6 2. อาคาร 2 ปฐมวัยปีที่ 1-3 3. อาคาร 3 มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 4. โรงอาหาร 5. อาคารอเนกประสงค์ (โดม)


7 ภาพสถานที่ฝึกประสบการณ์ แผนผังที่ตั้งสถานที่ฝึกประสบการณ์


8 แผนภูมิแสดงโครงสร้างการบริหารโรงเรียน แ


9 แผนผังสายงานที่ได้รับการฝึกงาน แผนผังสายงานที่ได้รับการฝึกสอนวิชาภาษาอังกฤษ ลงชื่อ................................................. (นางสาวสุพรรณวิภา โอษฐ์ละออ) นักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา วันที่.............เดือน................พ.ศ. ……… 1. นางกิติชา ธานีเนียม รองผู้อำนวยการสถานศึกษาฝ่ายวิชาการ 2. นางสาวณัฎฐา วิจารณรงค์ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ 3. นางสาวภวรันชน์ พุทธา ครูชำนาญการพิเศษ/ครูพี่เลี้ยง 1. นางสาวสุพรรณวิภา โอษฐ์ลออ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 2. นางสาวปวิชญา บุตรสงกา นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ผู้อำนวยการสถานศึกษา นายพิบูลย์ สิทธิมลคล


10 ส่วนที่ 2 ข้อมูลการพัฒนาตนเองทางด้านวิชาชีพครู


11 1. สภาพการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนการภาษาอังกฤษในปัจจุบันมีหลายแนวคิด มีทั้งแนวคิดเกี่ยวกับการจัดหลักสูตร แนวคิดเกี่ยวกับแนวการสอน และแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ แนวคิดทั้ง 3 นี้ มีส่วนช่วยครูผู้สอนในการตัดสินใจวางแผนจัดการเรียนการสอน การคัดเลือกกิจกรรมประกอบการเรียน การสอน ตลอดจนเลือกสื่อการเรียนรู้ ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับครูผู้สอนที่จะต้องศึกษาทำความเข้าใจเพื่อช่วย ให้ การสอนของตนเองมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แนวคิดสำคัญที่ครูควรศึกษาทำความเข้าใจมีดังต่อไปนี้ คือ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ก : 101 – 128) 1. หลักสูตรภาษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (Lerner – Centered Language Curriculum) 2. แนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร (Communicative Language Teaching) 3. การสอนภาษาเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ (Language for Specific Purposes) 4. การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ (Integrated Learning) 5. การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) 6. การจัดการเรียนการสอนแบบภาษาที่เน้นเนื้อหา (Content-Based Instruction) 7. การสอนภาษาแบบองค์รวม (Whole Language Approach) 8. การเรียนรู้จากการทำโครงงาน (Project-Based Learning) 9. การเรียนรู้ที่เน้นภาระงาน (Task-Based Language) 10. การสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) 11. วิธีการสอนด้วยการตอบสนองด้วยท่าทาง (Total Physical Response) 12. การเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบไฟร์แม็ทซิสเต็ม (4 MATS Language System) กระบวนการจัดการ เรียนรู้ภาษาอังกฤษ การที่ครูจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ กระบวนการ มีความสามารถ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กำหนดเป็นมาตรฐานการเรียนรู้ นั้น ครูต้องมีเทคนิค วิธีการ ในการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสม สำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปว่า ปัญหาที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ประสบในการ จัดห้องเรียนมี 3 ประการ คือ (สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ข : 1 – 3) 1. การสร้าง แรงจูงใจให้ผู้เรียนอยากเรียน อยากใช้ภาษาอังกฤษในห้อง 2. การไม่สามารถจัดบรรยากาศในห้องเรียนได้ ตามที่คาดหวัง เพราะวัสดุอุปกรณ์ไม่เหมาะ ไม่เพียงพอ ผู้เรียนมีระดับความรู้ต่างกัน 3. การแสดงบทบาทของ ครูในการสอนห้องเรียนเพื่อให้สามารถจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เพราะมีการเน้นการสอน


12 เนื้อหามากเกินไป เทคนิควิธีการที่สำคัญที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษควรรู้และนำไปใช้มีดังนี้ การสอนทักษะการ ฟัง (Listening) คนมักเข้าใจว่าการฟังเกิดขึ้นเอง เมื่อผู้เรียนต้องเผชิญกับภาษานั้นโดยไม่ต้องมีการเรียนการ สอน แต่ความจริงแล้วการฟังเพื่อความเข้าใจในการเรียนการสอนภาษาที่สองเป็นทักษะ อันดับแรกที่ต้องได้รับ การฝึกฝน การสอนฟังอาจใช้การสอนแบบ Bottom up คือ สอนเป็นลำดับขั้นตอน ค่อยเรียนรู้ทีละน้อยจน เกิดความเข้าใจในที่สุด หรืออาจสอนแบบ Top down คือ การให้ผู้เรียนเข้าไปอยู่ในเหตุการณ์หรือกิจกรรม ต่าง ๆ ทำให้ผู้เรียนเกิดองค์ความรู้ต่อเนื่องจากพื้นฐานหรือประสบการณ์ของตน การสอนฟังผู้สอนจะต้องฝึก ให้ผู้ฟังสามารถแยกเสียงที่ได้รับฟัง รับรู้ และเข้าใจความหมายเรื่องที่ฟัง วิธีสอนที่ใช้กันทั่วไปในการสอนฟังมี กิจกรรม 3 ขั้นตอน คือ กิจกรรมก่อนฟัง กิจกรรมขณะฟัง และกิจกรรมหลังฟัง (สำนักงานคณะกรรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ข : 12 – 13) การสอนออกเสียง (Pronunciation) ครูผู้สอนภาษาอังกฤษส่วน ใหญ่จะสอนคำศัพท์ (Vocabulary) ไวยากรณ์ (Grammar) และฝึกผู้เรียนเรื่องการสนทนา ให้ทำกิจกรรมฝึก ต่าง ๆ เพื่อให้มีความสามารถในการฟังและอ่านได้ แต่จะสอนเรื่องการออกเสียงอย่างจริงจังน้อย ทั้งนี้อาจเป็น เพราะรู้สึกอึดอัดที่จะสอนเรื่องการออกเสียง หรืออาจรู้สึกว่าการสอนออกเสียงเป็นการสร้างปัญหาระหว่าง การเรียนการสอน จึงมักปล่อยให้นักเรียนฝึกออกเสียงกันเอง ในขณะที่เรียนเรื่องอื่น ๆ แต่แท้จริงแล้วการเน้น สอนออกเสียงไม่เพียงแต่ทำให้ผู้เรียนตระหนักในเรื่องความแตกต่างของเสียง ลักษณะของเสียง และ ความหมายของเสียงเท่านั้น แต่ยังสามารถพัฒนาทักษะการพูดได้อย่างมาก การให้ความสนใจในเรื่องเสียงที่ เปล่งออกมาจากส่วนต่าง ๆ ภายในปาก ทำให้ผู้เรียนรู้ว่าควรลงเสียงหนักเบาในตำแหน่งใดของคำ ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจภาษาพูด (Spoken – English) และพัฒนาทักษะความสามารถทางภาษา ได้ (สำนักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ข : 14) การสอนออกเสียงมักพบปัญหาที่ครูผู้สอน ต้องแก้ไข 3 เรื่อง (สำนักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ข : 15 – 16) 1. สิ่งที่ผู้เรียนได้ยิน เพราะผู้เรียนบางคนไม่สามารถแยกความแตกต่างของเสียง ซึ่งอาจเป็นเพราะเสียงนั้นไม่มีในภาษาเดิมของเขา ทำให้ฟังเสียงที่แตกต่างเป็นเสียงเดียวกัน ผู้สอนต้องพยายามให้เขารับรู้ความแตกต่างของเสียง ซึ่งอาจทำโดย การแสดงแผนภาพ แผนภูมิ การสาธิตและการอธิบาย เพื่อฝึกหูของผู้ฟังทีละน้อยจนกระทั่งเขาสามารถแยก เสียงที่แตกต่างกันได้ 2. การออกเสียงสูง – ต่ำ ผู้สอนต้องให้ผู้เรียนรู้จักการจำแนกอารมณ์ (Moods) และ ความตั้งใจ (Intention) โดยใช้แถบเสียง (Tape) หรือพูดให้ฟัง เพื่อให้ผู้เรียนสังเกตว่าคนพูดภาษาอังกฤษกัน อย่างไรในอารมณ์ ความรู้สึก และสถานการณ์ที่แตกต่างกัน 3. ตัวอักษรแทนเสียง (The Phonetics Alphabet) ผู้เรียนภาษาอังกฤษจำนวนมากมีปัญหาในการออกเสียงตัวสะกด จึงจำเป็นต้องรู้จักหน่วยเสียงที่ แตกต่างกัน ซึ่งวิธีที่ดีที่สุดในการส่งเสริมการรับรู้เหล่านี้คือ การนำเสนอด้วยสัญลักษณ์ (Phonetics Symbol) ซึ่งเมื่อผู้เรียนสามารถอ่านสัญลักษณ์ได้ก็จะสามารถรับรู้ว่าคำถามเหล่านั้น ออกเสียงอย่างไร การสอนออกเสียง


13 อาจทำได้หลายลักษณะ เช่น Whole Lessons คือ การที่ครูสอนเน้นเรื่อง Stress และ Intonation ขณะ ดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนฝึกจำรูปแบบการออกเสียงสูง – ต่ำ ออกเสียงวลีที่จำเป็น แล้วพัฒนาต่อไปจนสามารถแสดงละครสั้น ๆ ได้ Discrete Slots คือ การแทรกกิจกรรมการออกเสียงสั้น ๆ ไม่ต่อเนื่องกันลงในบทเรียน ทั้งในรูปแบบฝึกเสียงเดี่ยว และฝึกเสียงคู่ที่แตกต่างกัน ในช่วงสั้น ๆ ขณะสอน ภาษาอังกฤษ Integrated Phases คือ การที่กำหนดให้การออกเสียงเป็นส่วนหนึ่งของบทเรียน โดยให้ฟังเทป แล้วฝึกออกเสียงตามให้ถูกต้อง Opportunistic Phases เป็นการสอนออกเสียงคำบางคำที่น่าสนใจขณะสอน ไวยากรณ์ หรือคำศัพท์ โดยไม่ต้องใช้เวลามาก การสอนไวยากรณ์ (Grammar) ไวยากรณ์ (Grammar) เป็น กระบวนการทางภาษาที่จะควบคุม และรวบรวมคำเพื่อก่อให้เกิดหน่วยของความหมายที่ยาวขึ้น ไวยากรณ์จึง เป็นตัวกำหนดเกณฑ์พื้นฐานของกิจกรรมในห้องเรียนที่มีจุดประสงค์ของการเรียนรู้ชั่วคราว เพื่อให้มองเห็น ผลได้ในระยะยาว เพราะการใช้ภาษาได้อย่างคล่องแคล่วควรเกิดขึ้นเมื่อบุคคลได้เรียนรู้ด้วยวิธีการหลากหลาย ในระยะยาว (สำนักงานคณะกรรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2548 ข : 19 – 20) การสอนไวยากรณ์ผู้สอน ต้องนำเทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใช้ใน ขั้นตอนสำคัญ 4 ขั้นตอน คือ 1. การนำเสนอ (Presentation) เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจรูปแบบและความหมายทั้งในภาษาพูด และภาษาเขียน 2. การสอนเป็นตอน ๆ และการอธิบาย (Isolation and Explanation) เป็น การเน้นเรื่อง ส่วนประกอบของไวยากรณ์ ทั้งด้านการออกเสียง รูปแบบ ความหมาย และหน้าที่ หรือกฎเกณฑ์ ในบางชั้น เรียนครูอาจจำเป็นต้องอธิบาย แปล หรือทำให้เห็นภาพรวมโดยใช้ภาษาแม่ของผู้เรียน 3. การฝึกฝน (Practice) เพื่อให้ ผู้เรียนเข้าใจโครงสร้างภาษาได้อย่างลึกซึ้ง ครูควรจัดให้มี แบบฝึกหัดทั้งที่ให้ทำในชั้นเรียน และที่ให้ทำเป็นการบ้าน ให้มีความหลากหลายครอบคลุมเนื้อหาที่เรียน 4. การทดสอบ (Test) เป็นการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับในสิ่งที่เรียนไปแล้ว เพื่อทราบว่า ผู้เรียนพัฒนาไปมากน้อยเพียงใด ครูควรปรับปรุงการสอนอย่างไรต่อไป การสอนเกมทางภาษา (Language games) เกมทางภาษา หมายถึง กิจกรรมทางภาษาที่จัดขึ้นเพื่อทดสอบ และเสริมสมรรถภาพในการเรียน ภาษา โดยเน้นหนักในการผ่อนคลาย เพื่อให้เกิดความสนุกสนาน และเกิดการเรียนรู้ทั้งในรายบุคคลและ สมาชิกในกลุ่ม ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด เรื่องศักดิ์ อำไพพันธ์ (2535 : 1 – 12) กล่าวถึงประโยชน์ และประเภท ของเกมทางภาษาว่า เกมทางภาษามีประโยชน์ในการเรียนการสอนมาก เพราะ 1. ทำให้เนื้อหากระจ่าง ง่ายต่อ การเข้าใจ 2. ช่วยเสริมสมรรถภาพในการสอนของครู 3. ใช้ทดสอบความรู้ความเข้าใจเนื้อหา 4. ช่วยเร้าให้ ผู้เรียนสนใจบทเรียน 5. ช่วยให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม คนเก่งได้ช่วยเหลือคนอ่อน 6. ปรับใช้ได้กับทุกเพศ ทุก วัย 7. ใช้ได้ทั้งรายบุคคล เป็นกลุ่ม หรือทั้งชั้นเรียน 8. ทำให้ผู้เรียนเกิดความสนุกสนาน กล้าแสดงออก อยาก


14 ร่วมกิจกรม 9. ช่วยเสริมทักษะทั้งฟัง พูด อ่าน เขียน และสามารถใช้ในทุกลำดับขั้นของการสอน 10. ใช้ได้ หลายสถานการณ์ ทั้งในห้องเรียน กิจกรรมชมรม งานสร้างสรรค์ การทัศนาจร 2. การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน เด็กแต่ละคนมีความรู้ความสามารถไม่เท่ากัน เพราะพื้นฐานครอบครัวของแต่ละคนไม่เหมือนกัน เพราะฉะนั้น ในการจัดการเรียนการสอน ต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลด้วย ครูมืออาชีพต้องใจเย็น ในการจัดการเรียนการสอน แต่ไม่ได้หมายความว่าเด็กจะไม่ได้ความรู้ครบเนื้อหาตามหลักสูตรที่กำหนด ถ้าครู สามารถทำเนื้อหาที่ยากให้ง่ายต่อการเข้าใจของเด็ก รับรองเลยว่าเด็กจะชอบมาโรงเรียนและสนใจการเรียน แน่นอน แต่ปัญหาก็ยังมี เช่น - นักเรียนขาดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ไม่สามารถบูรณาการเชื่อมโยงไปยังเนื้อหา สาระอื่น ๆ ได้ ตัวจักรสำคัญที่จะให้นักเรียนเกิดทักษะดังกล่าว คือ ครูแน่นอนแต่ตัวครูใช่ว่าจะไม่มีปัญหา ทั้ง ปัญหาส่วนตัวและปัญหาของระบบโรงเรียน ครูอาจขาดทักษะเองเพราะเรียนมานานมากแล้ว ประเภทแก่ ความรู้ไม่เข้าเคสนี้ บางทีครูและนักเรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กัน อย่าลืมอย่างหนึ่งว่ายังมีอีกหลายมุมที่ นักเรียนรู้แต่ครูไม่รู้และเป็นอีกครั้งที่เราต้องเรียนรู้จากนักเรียนของเรา - ปัญหาความไม่ต่อเนื่องของการเรียนการสอน - ปัญหาครอบครัวของเด็กแต่ละคน ที่บางครอบครัวไม่ค่อยให้ความสำคัญของการศึกษา ผู้ปกครองไม่ เคยตรวจการทำการบ้านของบุตรหลาน ไม่เคยสนใจไต่ถามเกี่ยวกับการเรียน อย่าคิดว่ามีแบบนี้ด้วยหรือเด็ก เลยขาดความรับผิดชอบงานที่ครูกำหนดให้ - ปัญหามีมากมายหลายอย่างครูแต่ละคนประสบพบเจออาจจะเหมือนกันหรือไม่เหมือนกัน ถ้าเรา ตั้งใจจะแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนจริง ๆ ต้องดูที่ต้นตอของปัญหาและหาวิธีการหรือเทคนิคต่าง ๆ มาแก้ จะทำให้ปัญหาที่มีอยู่เบาบางลดน้อยลง วิธีที่ครูเราทำมานานมากและนิยมกันมาก คือ การทำวิจัย ปัญหาต่าง ๆ นานา และจริงหรือเปล่าที่การวิจัยนั้นสามารถแก้ปัญหาได้จริง ๆ หรือตรงจุดแต่อย่างน้อยก็ดีกว่า ไม่ทำอะไรเลย 3. การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน 3.1. ความสำคัญของการตัดสินใจ 1.1 การตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพควรคำนึงถึง 1) มีเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่เด่นชัด 2) มีเกณฑ์หรือมาตรฐานขั้นต่ำไว้ในใจ 3) มีข้อมูลที่เชื่อถือได้และเพียงพอ


15 4) มีตัวเลือกเอาไว้เปรียบเทียบ 5) มีเวลาเพียงพอในการตัดสินใจ 6) ถ้าหากเกิดการผิดพลาด จะต้องแก้ไขได้และไม่ถึงขั้นเดือดร้อน 7) พิจารณาว่าคุ้มค่ากับการเสียเวลาหรือการลงทุนหรือไม่ 8) จงยึดหลักการตัดสินใจ โดยเปรียบเทียบความเสี่ยงกับผลที่ได้รับ 1.2 ข้อควรระวังในการตัดสินใจ 1) ข้อมูลมากเพียงพอแล้วหรือยัง 2) ข้อมูลที่ได้มาเป็นข้อมูลของใคร เชื่อถือได้เพียงใด ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่แท้จริง หรือไม่ หรือฟังเขาเล่ากันมา 3) ถ้าข้อมูลมีไม่มากพอควรขอเวลาพิจารณาสัก 2-3 วัน หรือสักระยะหนึ่งจะดีกว่า 4) พิจารณาว่ามีอคติในการตัดสินใจหรือไม่ 5) โปรดตระหนักไว้ว่าการตัดสินใจที่กำลังถูกเร่งเร้าจนเกินไป อาจจะมีอะไรซ่อนเร้น อยู่ภายใน 6) ในกรณีที่ตัดสินใจแล้วว่า “ไม่ตอบรับ” ก็ควรหาทางออก โดยให้เหตุผลว่าต้องขอ ปรึกษากับคณะทำงานที่เกี่ยวข้องหรือผู้บังคับบัญชาก่อน ซึ่งจะดูสุภาพนุ่มนวลไม่เสียน้ำใจ 7) หากถูกเร่งเร้าให้ตัดสินใจทันทีมิฉะนั้นจะเสียโอกาส ขอแนะนำว่ายอมเสียโอกาส ดีกว่า เพราะในชีวิตยังมีโอกาสอีกมากมายหลายครั้ง 3.2 การวิเคราะห์และการจำแนกชนิดของปัญหา สามารถจำแนกได้เป็น 3 ชนิด คือ 1) ปัญหาเกี่ยวกับความจริง คือปัญหาที่ใช้ข้อมูลหรือเหตุผลมาแก้ เช่น ปัญหาเกี่ยวกับไฟใน หน่วยงานดับเสมอ ๆ ถ้าไม่สามารถไปแก้ที่โรงไฟฟ้าได้ก็ต้องซื้อเครื่องปั่นไฟของหน่วยงานเอง เพื่อแก้ไขขณะที่ ไฟดับ เป็นต้น ข้อควรระวังคือ ต้องรู้สาเหตุที่แน่ชัดว่าต้นตอของปัญหาที่แท้จริงอยู่ตรงไหน การได้ข้อมูลที่ แม่นยำกว่าย่อมแก้ปัญหาได้ดีกว่า ซึ่งวิธีการนี้เรียกว่าเป็นการแก้ปัญหาเชิงวิทยาศาสตร์ 2) ปัญหาเกี่ยวกับอารมณ์ คือ ปัญหาที่เกี่ยวกับจิตใจ การหาข้อมูลมาแก้ย่อมไม่ได้ผล การ แก้ปัญหาเกี่ยวกับอารมณ์ นอกจากจะตอบตามข้อมูลที่เป็นจริงแล้ว อาจต้องมีการแสดงออกที่ช่วยคลี่คลาย หรือบรรเทาสถานการณ์เฉพาะหน้า 3) ปัญหาเกี่ยวกับผลประโยชน์ เป็นปัญหาที่ค่อนข้างละเอียดอ่อน แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ 1) ผลประโยชน์ที่สัมผัสได้ เช่นทรัพย์สินเงินทอง และ 2) ผลประโยชน์ที่สัมผัสไม่ได้ เช่น ชื่อเสียง ศักดิ์ศรี หรือ บางครั้งทั้งสองลักษณะมารวมกัน ก็ยิ่งเพิ่มความยากลำบากในการแก้ไขการตัดสินใจแก้ไข จึงต้องคำนึงถึงการ


16 ทำให้อารมณ์สงบลง แล้วแก้ด้วยการหาสาเหตุและใช้เหตุผล การประนีประนอม และการต่อรอง เป็นเครื่องมือ ที่ดีมิใช่น้อยหลังจากอารมณ์สงบลงแล้ว 3.3 พื้นฐาน 7 ประการของการตัดสินใจ โดยธรรมชาติของคนเราแล้วจะทำการตัดสินใจบนพื้นฐาน 7 ประการ ดังนี้ 1) การตัดสินใจบนพื้นฐานของวัฒนธรรม เป็นการตัดสินใจบนพื้นฐานของวัฒนธรรม เช่น การรับสมัครงานบางคนตัดสินใจไม่รับเพราะเป็นคนพูดจาโผงผาง ตรงไปตรงมาแต่กลับเลือกอีกคน เพราะมี ความอ่อนน้อมถ่อมตนซึ่งสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กร 2) การตัดสินใจบนพื้นฐานของคนส่วนใหญ่ เช่น หากในที่ประชุมมีความเห็นของคนส่วน ใหญ่ว่าอย่างไรก็ต้องปฏิบัติตามนั้น 3) การตัดสินใจบนพื้นฐานของวิทยาศาสตร์ เช่น การชันสูตรศพแล้วพบว่าผู้ตายถูกฆาตกรรม มิใช่อุบัติเหตุ จึงดำเนินการหาผู้กระทำผิดมาดำเนินคดี 4) การตัดสินใจบนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ เช่น หากทำผิดกฎหมายก็ต้องถูกทำโทษตาม กฎระเบียบนั้น 5) การตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลที่คิดขึ้น เช่น อยากได้เครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ที่ รูปลักษณ์สวย ราคาแพง และใช้ต่ออินเตอร์เน็ตได้ จึงบอกกับผู้ใหญ่ว่า ต้องซื้อรุ่นนี้ เพราะเป็นรุ่นที่มี หน่วยความจำสูง ประมวลผลเร็ว ใช้งานง่าย และคุ้มค่ากับสิ่งที่ต้องจ่ายออกไป อีกทั้งยังช่วยให้ทำงาน ได้เร็ว ขึ้น ง่ายขึ้น เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพ 6) การตัดสินใจบนพื้นฐานของนโยบาย เช่น หากประเทศไทยมีนโยบายที่จะทำการซื้อ น้ำมัน จากประเทศบรูไนเท่านั้น ก็ต้องทำการซื้อน้ำมันจากประเทศบรูไนเท่านั้น ถึงแม้ประเทศอื่น ๆ ใน ตะวันออก กลางจะมีการผลิตน้ำมันก็ตาม 7) การตัดสินใจบนพื้นฐานของความไม่ตรงไปตรงมา เช่น นำเสนอโครงการสืบสานภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ซึ่งโครงการนี้จะต้องคัดเลือกจังหวัดทำเป็นตัวอย่างนำร่อง แต่ข้อมูลไม่ครบหรือให้ข้อมูลที่โน้ม เอียง เพราะต้องการให้จังหวัดบ้านเกิดเป็นจังหวัดที่ทำโครงการนำร่อง นั่นเป็นการตัดสินใจบนพื้นฐานความไม่ ตรงไปตรงมา 3.4 กระบวนการวิเคราะห์ปัญหาและการตัดสินใจสำหรับนักบริหาร 1) การตระหนักและเข้าใจในปัญหา คือ ตระหนักและเข้าใจในปัญหาว่าเหตุการณ์ที่กำลัง เกิดขึ้นนี้ อาจจะทำให้เกิดปัญหาต่อไปในวันข้างหน้า


17 2) การตกผลึกของปัญหา คือ บางครั้งมีเหตุการณ์ที่คลุมเครือยังไม่บ่งบอกว่าอะไรเป็น สาเหตุของปัญหา หรือผู้บริหารที่ไม่เห็นความสำคัญของปัญหา หรืออ้างว่าไม่มีเวลา ไม่ตระหนักที่จะหาข้อมูล รอให้ปัญหาเกิดขึ้นจนค่อนข้างเด่นชัดเสียก่อนแล้วจึงแก้ไข 3) การกำหนดว่าเป็นปัญหา คือ ผู้บังคับบัญชาหรือนักบริหารที่รอให้ปัญหาเกิดขึ้นเสียก่อน แล้วจึงแก้ไข ย่อมต้องเสียเวลาและทรัพย์สินมากกว่าที่จะแก้ไขเสียตั้งแต่ขณะที่ยังอยู่ขั้นการตระหนัก และ เข้าใจในปัญหาและการตกผลึกของปัญหา 4) การหาวิธีการแก้ไขปัญหา คือ การหาสาเหตุว่ามาจากอะไร จะมีวิธีแก้ไขวิธีใดบ้าง แต่ละ วิธีมีข้อดีข้อเสียอย่างไร แล้วจึงทำการตัดสินใจลงไปว่าจะดำเนินการด้วยวิธีใด 5) การลงมือปฏิบัติ คือ การแก้ไขปัญหาตามที่ได้ตัดสินใจแล้ว อาจต้องดำเนินการอย่างเป็น ขั้นตอนมีวิธีกระบวนการในการปฏิบัติเป็นลำดับขั้น 6) การประเมินผลการปฏิบัติงาน คือ การประเมินผลการปฏิบัติงานที่ได้ทำการแก้ไขไปแล้ว ว่า สามารถแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้หรือไม่ มีปัญหาแทรกซ้อนอะไร จะต้องปรับปรุงวิธีการอื่นใดหรือไม่ ถ้า แก้ไขได้เรียบร้อยปัญหาก็หมดไป แต่ถ้ายังไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ก็ต้องกลับไปดูที่การกำหนดว่าเป็นปัญหา อีกครั้งว่าอะไรคือสาเหตุที่แท้จริง หรืออาจมีสาเหตุอื่น ๆ อีกก็ต้องคิดและหาวิธีการแก้ไขต่อไป จนกว่าจะหมด ปัญหา


18 4. ตารางสอน ตารางสอนภาคเรียนที่ 1 และ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ


19 5. ตารางวิเคราะห์หลักสูตร การวิเคราะห์ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสารมาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล


20 สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ


21 สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูด และการเขียน


22 สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนำไปใช้ได้อย่างเหมาะสม กับกาลเทศะ


23 สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐาน ในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน


24 สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต ๔.๒ ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก


25 6. ตารางกำหนดการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ วิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐาน รหัสวิชา อ 15101 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 40 ชั่วโมง หน่วยการ เรียนรู้ที่ แผนการ จัดการ เรียนรู้ที่ สัปดาห์ ที่ วัน เดือน ปี เรื่อง เวลา (ชั่วโมง) 1 She feeds her pets every 1 1 16 – 19 พ.ค. 2566 Words & Phrases 3 2 22 – 26 พ.ค.. 2566 2 3 29 พ.ค. – 2 มิ.ย. 2566 Recap 3 4 5 – 9 มิ.ย. 2566 2 I always help monks at the temple 3 4 12 – 16 มิ.ย. 2566 5 19 – 23 มิ.ย. 2566 Activities 3 6 26 – 30 มิ.ย. 2566 4 7 1 – 5 ก.ค. 2566 8 8 – 12 ก.ค. 2566 phonics 3 9 15 – 19 ก.ค. 2566 3 Being a good student 5 9 22 – 26 ก.ค. 2566 Things you should do 6 10 29 ก.ค. – 2 ส.ค. 2566 11 5 – 9 ส.ค. 2566 12 12 – 16 ส.ค. 2566


26 6 12 19 – 23 ส.ค.. 2566 Classroom rules 5 13 26 – 30 ส.ค. 2566 20 1 – 4 ต.ค. 2566 ทบทวน 2 20 5 – 6 ต.ค. 2566 ทดสอบ 1 รวม 40


27 7. โครงร่างรายวิชา โครงสร้างรายวิชาภาษาอังกฤษ 5 รหัสวิชา อ 15105 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี คะแนนเต็ม100 คะแนน ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนักคะแนน (๑๐๐ คะแนน) 1 Our Guest อ 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4. อ 1.2 ป.5/1, ป.5/2 อ 3.1 ป.5/1 12 12 2 Our House & Housework อ 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 อ 3.1 ป.5/1 อ 4.1 ป.5/1 11 10 3 Our Food & Health อ 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, อ 1.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 13 13 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางปี) 4 10 4 To Market อ 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, อ 1.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 อ 4.1 ป.5/1 อ 4.2 ป.5/2 12 8


28 5 Water อ 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3 อ 2.2 ป.5/1, ป.5/2 อ 3.1 ป.5/1 อ 4.1 ป.5/1 อ 4.2 ป.5/1 12 9 6 Around the world อ 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, อ 3.1 ป.5/1 อ 4.1 ป.5/1 อ 4.2 ป.5/1 12 8 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายปี) 4 30 รวม 80 100


29 8. ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ LESSON PLAN 1 Foreign Language Department (English) Subject: Fundamental English 5 Unit 1: She feeds her pets everyday Grade: 5 Topic: Words and Phrases Time: 1 hour Teacher: Supanwipa Odlaor Date: ------------------------------------------------------------------------------------ 1. STANDARD Standard FL1.1: Understanding and ability in interpreting what has been heard and read from various types of media, and ability to express opinions with reasons Standard FL1.3: Ability to speak and write about information, concepts and views on various matters 2. GRADE-LEVEL INDICATOR Indicator 1.1 Grade 5/2: Accurately read aloud the given sentences, the paragraphs and the short poems by observing the principles of reading. Indicator 1.3 Grade 5/1: Speak/write to give information about themselves, their friends and the environment around them. 3. CONCEPT This lesson is going to provide students to practice speaking, listening reading and writing skills through using vocabulary related to daily activities. 4. OBJECTIVE


30 Terminal Objective Students will be able to apply the vocabulary that relate in real-life situation effectively. Behavioral Objectives 1. Students will be able to select and pronunciation the vocabulary correctly. (K) 2. Students will be able to pronounce clearly. (P) 3. Students will be able to express curiosity and enthusiasm for adding new vocabulary to a given topic. (A) 5. CONTENT 5.1 Vocabulary Take a shower (v.) have breakfast (v.) wash the dishes (v.) walk the dog (v.) do homework (v.) feed the pets (v.) read a book(v.) watch television (v.) 5.2 Skill: Speaking, Listening and Reading 6. INSTRUCTIONAL ACTIVITIES Warm up (5 minutes) 1. The teacher greets student. Teacher: Good morning/Good afternoon student. How are you today? Students: I’m fine. / I’m good. / I’m doing well. (Possible answers) Thank you and you? Teacher: I’m very well, thank you. 2. The teacher tells students to look at pictures. Discuss and encourage students to answer questions from the pictures. Teacher: What is the girl doing?


31 Students: She is feeding the horses. Teacher: Do you have pet? Students: Yes, I do. No, I don’t. Presentation (20 minutes) 3. The teacher tells students the topic. Teacher: Today we are going to study about everyday activities. 4. The teacher turns on the first audio file for the students to listen to the words and look at the picture cards or the PowerPoint screen. Take a shower (v.) have breakfast (v.) wash the dishes (v.) walk the dog (v.) do homework (v.) feed the pets (v.) read a book(v.) watch television (v.) 5. The teacher leads student to read vocabulary on the PowerPoint screen. Teacher: Everyone, listen and repeat after me. 6. Students pronounce follow teacher. 7. The teacher lets the students read, spell, and tell the meaning. Teacher: Can you tell the meaning of these pictures? Students: Yes, we can. 8. The teacher trains the students to read the vocabulary until they are fluent. Practice (10 minutes) 9. The teacher lets students read the instructions for activity B (listen and speak) and tell what time it is, then give reasons.


32 Teacher: Everybody read Activity B together and tell me what time it is? Then give reasons. Students: Listen and say. In the evening because, we can observe the clock on the wall and the atmosphere outside the window. Product (20 minutes) 10. The teacher tells the students that they will listen to the Q&A about the activity during that time and turn on the audio files 1-2 times. Teacher: I will turn on the Q&A audio file about the activity that took place twice and let everyone listen and repeat. Students: Q: What does she do in the evening? A: She does her homework in the evening. 11. The teacher uses the pictures in Activity A to ask questions, trying to give all students the opportunity to answer them. Example: Teacher: What does he do in the morning? Students: He has breakfast in the morning. Teacher: What does she do in the evening? Students: She feeds the pets in the evening. Wrap up (5 minutes) 12. The teacher reviews the vocabulary by teacher show on the PowerPoint screen and tell the meaning T: Can you remember vocabularies?


33 S: Yes, we can. T: I will show vocabulary, you have to pronounce and tell the meaning 13. The teacher says “Good bye.” T: It’s enough for today. Thank you for your attention. Have a good day. Good bye. 7. Evaluations 7.1 Checking the student's pronunciation. 7.2 Checking the students’ Q&A according to the specified sentence structure. 7.3 Observing the students’ participation and interest while they do activities in class. 8. Instructional Materials 8.1 Student’s book สื่อการเรียนรู้ สมบูรณ์แบบ ภาษาอังกฤษ ป. 5 Page3 8.2 Audio file 8.3 PowerPoint


34 Teacher’s notes Problems …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… Solutions …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… Suggestions …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ……………………………….. (Miss Supanwipa Odlaor) English Teacher Suggestions from the trainer teacher …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ( ) can be used for teaching ( ) good lesson plan ( ) integrated lesson plan ( ) student-centered lesson plan …………………………….. (Miss Phawaran Phuttha) Trainer Teacher


35 from the school director ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………… …..………………………… (Mr. Phibun Sitthimongkhon) School Director


36 Student’s book สื่อการเรียนรู้ สมบูรณ์แบบ ภาษาอังกฤษ ป. 5 Page3


37 PowerPoint


38 ส่วนที่ 3 การปฏิบัติงานพิเศษ


39 1. การปฏิบัติงานพิเศษ ในการปฏิบัติการสอนในครั้งนี้ ได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่อื่น ๆ นอกเหนือจากการสอน ดังต่อไปนี้ 1. ปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันศุกร์หน้าประตูทางเข้าโรงเรียน 2. ปฏิบัติหน้าที่ครูเวรอบรมนักเรียนก่อนปล่อยแถวเข้าชั้นเรียนและกลับบ้านของสายชั้นประจำวัน อังคาร 3. ปฏิบัติหน้าที่ตามฝ่ายงานต่าง ๆ เช่น ฝ่ายปฏิคม ฝ่ายสถานที่ เป็นต้น 4. เข้าร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ 5. ปฏิบัติงานหน้าที่พิเศษอื่น ๆ ตามคำสั่งของโรงเรียน


40


41


42


43


44


45


46


Click to View FlipBook Version