The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by panpraiya16, 2021-03-30 14:38:46

อะตอม

อะตอม

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4

ปารฉิ ัตร แกว้ ขวาน้อย ไปรยา ตากกระโทก
พิมพ์พกานต์ ไทยเดชา ศิริลักษณ์ จิตรหม่นั

คำนำ

หนังสืออิเล็กทรอนกิ สเ์ ลม่ นี้ เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิชานวตั กรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มีความมุ่ง
หมายเพอื่ ให้ผศู้ กึ ษาสามารถนำความร้ไู ปใช้ในรายชาเคมี หรอื อ่นื ๆ สามารถบอกการพัฒนาแบบจำลองอะตอม
ของนักวิทยาศาสตรย์ ุคตา่ งๆ อธบิ ายและแสดงการจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในระดับพลังงานหลกั และระดับพลังงาน
ย่อยถูกต้องใช้ทักษะกระบวน การทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์อธิบายแบบจำลองอะตอมของ
นกั วทิ ยาศาสตรท์ ่ีสำคัญได้ และคณะผู้จัดทำหวังอย่างยิ่งวา่ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์น้จี ะมีประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจ
ไมม่ ากก็นอ้ ย

คณะผจู้ ัดทำ

สารบัญ

คำนำ หน้าท่ี
สารบัญ
แบบจำลองอะตอมของดอลตนั 1
2
แบบจำลองอะตอมของทอมสัน 2
แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด 4
แบบจำลองอะตอมของนิลส์ โบร์ 5
แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก 6
การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดับพลงั งาน

โครงสร้างจำลองของอะตอม

คณุ รู้จักกบั คำว่า อะตอม มากนอ้ ยเพยี งใด
ใหค้ ณุ ลอง จินตนาการดวู ่า อะตอม คือ รูปทรงกลม รปู หนง่ึ ซ่ึงเป็นรูปทรงกลมที่เราไม่สา มารถ

มองเห็นได้ เราจะมาทำความรู้จักกับอะตอมกนั แต่คณุ ต้องไม่ลืมสิ่งที่คุณจิตนาการไว้นะ แล้วมาดูว่า
นกั วิทยาศาสตรท์ ัง้ 5 รนุ่ จะคน้ พบอะไรจากอะตอมบา้ ง และผลสุดทา้ ย อะตอมจะมลี กั ษณะอยา่ งไร

แบบจำลองอะตอมของดอลตนั

ในสมยั นน้ั เชอ่ื ว่าสสารแต่ละชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก เรยี กว่ากันว่า อะตอม
ซง่ึ แบง่ แยกไมไ่ ดห้ รือทำใหเ้ กิดใหม่หรือสูญหายไปไม่ได้อะตอมของธาตุเดียวกนั จะมสี มบตั ิเหมอื นกัน อะตอม
ของธาตุตา่ งชนิดกนั มสี มบัติตา่ งกันการเกิดสารประกอบเกิดจากอะตอมธาตุต่างชนิดกันมา รวมตัวกัน ด้วย
อัตราส่วน อะตอมคงท่ีและเป็นเลข จำนวนนอ้ ย ดอลตันยงั พบอีกว่า การเกิดปฏกิ ิริยาเคมีเกิดจา กการ ท่ี
อะตอมธาตุต่างๆมกี ารแลกเปลย่ี นท่ีอยูซ่ ึ่งกนั และกันไม่มีการสญู หาย ไปไหนเลย เราจึงสรปุ ไดว้ า่ แบบจำลอง
อะตอมของดาลตนั คือ "อะตอมทม่ี ีขนาดเล็กมาก แบ่งแยกไม่ได้" ดงั รูป

1

แบบจำลองอะตอมของทอมสนั

ก่อนอน่ื เราตอ้ งมาทำความรูจ้ ักกบั รงั สแี คโทด (cathode ray) ท่ีทดลองไดจ้ ากการใชห้ ลอดแก้วที่
สูบอากาศออก และมีข้ัวโลหะ2อันอยู่คนละข้างคือแอโนดเปน็ ข้ัวไฟฟ้าบวกและแคโทดเป็นขั้วไฟฟ้า ลบของ
หลอดแก้วและต่อไปยังไฟฟา้ ที่มีศักยส์ ูงทำใหเ้ กิดรังสีและคน้ พบอิเล็กตรอนทอมสนั เป็น คนแรกพิสูจน์ว่า
อเิ ล็กตรอนเลก็ กวา่ อะตอมจากการทดลองของทอมสนั พบวา่ อนุภาคในรงั สแี คโทดมีประจุไฟฟ้าชนิดลบเพราะ
สงั เกต จากแนวการเบนของอิเลก็ ตรอนในสนามไฟฟ้าและสนามแมเ่ หล็ก
ทอมสนั สรุปไดว้ ่ารังสแี คโทดทไ่ี ด้จากโลหะตา่ งชนิดกันเป็นอนภุ าคชนิดเดยี วกนั เพราะq/mของโลหะทุกชนิดมี
ค่าเทา่ กันน่นั เองอนภุ าคน้ันก็คืออิเล็กตรอนทอมสันสามารถแยกอิเลก็ ตรอนออกจากอะตอมเขาจึงสรุปว่า
อะตอมยงั แบง่ แยกตอ่ ไปได้อีกขึน้ ภายในหลอดแก้ว ซง่ึ มองเห็นได้จากจุดสว่าง เม่อื รงั สีกระทบฉากเร่ืองแสง ที่
ใส่ไว้ เซอร์โจเซฟ จอหน์ ทอมสัน ใหแ้ นวคดิ อะตอมข้ึนใหม่ ดังนี้

"อะตอมมลี ักษณะเป็นรูปทรงกลมประกอบด้วยอนุภาคท่ีมีประจุบวกและมอี ิเล็กตรอนซงึ่ มีประจุไฟฟ้าลบ
อะตอมโดยปกติอยู่ในสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าซง่ึ ทำให้ท้งั สองประจุน้ีมีจำนวนเท่ากันและกระจายอยู่
ทวั่ ไปอยา่ งสมำ่ เสมอภายในอะตอมโดยมีการจัดเรียงท่ที ำใหอ้ ะตอมมีสภาพเสถียรมากท่ีสุด" ต่อมาภายหลัง
แบบจำลองนถี้ ูกคัดค้านโดยการทดลองของรทั เทอร์ฟอร์ด ท่วี า่ เน้อื อะตอมจะไม่สม่ำเสมอ แต่จะไปอัดกัน
แนน่ ตรงบรเิ วณเลก็ ๆ สว่ นหนงึ่ ในอะตอมเท่านัน้ (ซ่งึ ต่อมาเรียกวา่ นิวเคลยี ส)

แบบจำลองอะตอมของรทั เทอรฟ์ อร์ด

รัทเทอรฟ์ อรด์ (E.Rutherford) ได้ทำการทดลองยิงอนภุ าคแอลฟาเขา้ ไปในแผ่นทองคำเปลวบางๆอนุภาค
แอลฟาเปน็ อนภุ าคที่มมี วลเป็นสเี่ ทา่ ของอะตอมไฮโดรเจนและมีประจุ+2eโดยมากเกดิ จากการสลายตัวของ
ธาตกุ ัมมันตรังสีเช่นเรเดยี มอนุภาคแอลฟาท่ีใช้มีพลงั งานสูงถึง7.6ล้านอเิ ล็กตรอนโวลต์พบว่า เมื่ออนุภา ค
แอลฟาวิง่ ผา่ นทองคำเปลวโดยมากจะทะลไุ ปตรงๆหรือหักเหน้อยมาก แต่กม็ ีบางตวั ทห่ี กั เหจากแน วเดิมเป็น
มุมใหญ่ๆ ดงั รูป

2

ผลการทดลองของรทั เทอร์ฟอร์ดสรุปไดว้ า่
1. อนภุ าคแอลฟาส่วนใหญ่ : ผา่ นเปน็ เสน้ ตรง แสดงวา่ ในอะตอมมีทีว่ ่าง
2. อนภุ าคแอลฟาส่วนน้อย : หักเห (เลย้ี วเบน) แสดงวา่ ชนกับโปรตอนท่ีมีมวลมากอยู่ด้านข้า งของ

อะตอม
3. อนภุ าคแอลฟาบางส่วน : สะท้อนกลบั มาดา้ นหนา้ แสดงว่าชนกับโปรตอนในส่วนกลางของอะตอมท่ี

มีมวลจำนวนมาก เรียกวา่ “นวิ เคลยี ส”
Ä นวิ เคลียสมีขนาดเล็กมีมวลมากควรจะประกอบด้วยโปรตอนมากกว่าอิเล็กตรอนเพราะอิเล็กตร อน มีมวล
นอ้ ยมาก จะไม่มีผลต่อการสะทอ้ นกลับของอนภุ าคแอลฟา

ตอ่ มา เจมส์ แชดวิก ไดท้ ำการทดลองยงิ อะตอมของเบรลิ เลียมด้วยอนภุ าคแอลฟา พบว่าจะมี
อนุภาคชนดิ ใหมท่ ี่ไมม่ ีประจหุ ลุดออกมา และมวลของอนภุ าคตัวใหม่นี้มคี ่าใกล้เคียงกับมวลของโปรตอน จึง
เรยี กอนุภาคชดิ ใหมว่ ่า “ นวิ ตรอน ” ดงั รปู

รทั เทอร์ฟอรด์ จึงสรปุ แบบจำลองอะตอมไวว้ ่า“อะตอมมีลกั ษณะทรงกลมประกอบด้วยโปรตอนและ
นวิ ตรอนรวมตัวกนั เป็นนิวเคลยี สอยตู่ รงกลาง และมอี เิ ล็กตรอนซ่ึงมจี ำนวนเท่ากับโปรตอนที่อยใู่ นนวิ เคลียสวิ่ง
อยรู่ อบ ๆ นวิ เคลยี ส ” แต่ แบบจำลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอรด์ แบบจำลองอะตอมนไ้ี ม่ได้สามารถอธิบายว่า
อเิ ล็กตรอนรอบนวิ เคลยี สเคลื่อนทีอ่ ยใู่ นลักษณะใด

อะตอมประกอบดว้ ยอนุภาคทส่ี ำคัญ3ชนดิ คือ โปรตอน นิวตรอน และอิเลก็ ตรอน และเรยี กอนุภาค
ทง้ั 3 น้ีวา่ “ อนภุ าคมลู ฐานของอะตอม ”

3

แบบจำลองอะตอมของนลิ ส์ โบร์

นลี ส์ โบร์ จึงได้เสนอแบบจำลองอะตอม โดยอาศยั ทฤษฎขี องพลงั คแ์ ละอัลเบริ ์ตไอนส์ ไตน์ ท่ีเก่ยี วกับ
ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งพลังงานกับความถ่ีของคล่ืน ( ควอนตมั ) รวมทั้งความรูเ้ รื่องของเสน้ สเปกตรัม
เรือ่ งเส้นสเปกตรมั
1. เมือ่ อิเลก็ ตรอนไดร้ ับพลังงาน จงึ ขึ้นไปอย่ใู นระดบั พลังงานทีส่ ูงขนึ้ ทำใหอ้ ะตอมไมเ่ สถียร อิเลก็ ตรอนจงึ คาย
พลงั งานเท่ากับพลงั งานทไี่ ดร้ บั เขา้ ไปพลงั งานส่วนใหญ่ทีค่ ายออกอยู่ในรปู ของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ปรากฏ
เปน็ เสน้ สเปกตรมั
2. การเปลี่ยนระดบั พลงั งานของอเิ ล็กตรอน อาจมกี ารเปลย่ี นขา้ มขนั้ ได้
3. อิเลก็ ตรอนในระดับพลังงานต่ำจะอยใู่ กล้นวิ เคลยี ส
4. ระดบั พลงั งาต่ำอยู่ห่างกนั มากกว่าระดับพลงั งานสงู ระดบั พลงั งานยง่ิ สงู ขน้ึ จะย่งิ อยูช่ ิดกนั มากขนึ้
สรปุ แบบจำลองอะตอมของ นีลส์ โบร์

1. อิเล็กตรอนจะเคลื่อนท่รี อบนิวเคลียสเป็นช้นั ๆตามระดบั พลังงาน และแตล่ ะชน้ั จะมีพลังงา น เป็นค่า
เฉพาะตวั
2. อเิ ลก็ ตรอนท่อี ยู่ใกลน้ ิวเคลยี สมากทส่ี ุดจะเรยี กว่าระดบั พลังงานตำ่ สุดยง่ิ อยูห่ า่ งจากนวิ เคลยี สมากข้ึนระดับ
พลังงานจะยิ่งสงู ขึ้น 3. อิเล็กตรอนที่อยูใ่ กล้นิวเคลียสมากทีส่ ุดจะเรียกระดับพลังงาน n = 1ระดับ
พลงั งานถัดไปเรยี กระดบั พลังงาน n =2 , n = 3,……. ตามลำดบั หรอื เรยี กเปน็ ช้นั K , L , M ,N ,O , P ,
Q ....

4

แบบจำลองอะตอมแบบกลมุ่ หมอก

จากแบบจำลองอะตอมของโบร์ ไม่สามารถอธบิ ายสมบตั บิ างอย่างของธาตทุ ี่มหี ลายอเิ ลก็ ตรอนไดจ้ ึงมี
การศกึ ษาเพิม่ เติมและเช่อื วา่ อิเลก็ ตรอนมีสมบตั เิ ปน็ ได้ทงั้ คลืน่ และอนุภาคการศึกษาเพม่ิ เตมิ และเชื่อว่า
อิเลก็ ตรอนมีสมบัติเป็นได้ทง้ั คลื่นและอนุภาคสรปุ แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอกแบบจำลองน้เี ช่อื ว่า

1. อิเลก็ ตรอนไมไ่ ด้เคล่อื นทเ่ี ป็นวงกลม แต่เคล่ือนที่ไปรอบๆนวิ เคลยี ส เป็นรปู ทรงต่างๆตามระดับพลงั งาน
2. ไม่สามารถบอกตำแหนง่ ท่ีแน่นอนของอิเล็กตรอนได้เน่อื งจากอิเลก็ ตรอนมีขนาดเล็กมาก และเคล่ือนท่ี
รวดเรว็ ตลอดเวลาไปทัว่ ทั้งอะตอม
3. อะตอมประกอบด้วยกลุ่มหมอกของอิเลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียส บรเิ วณท่ีมีหมอกทึบแสดงว่ามีโอกาสพบ
อิเลก็ ตรอนไดม้ ากกว่าบริเวณทม่ี หี มอกจาง ดงั รปู ทีแ่ สดงไว้

5

การจัดอเิ ล็กตรอนในระดับพลงั งาน

อิเลก็ ตรอนในอะตอมทีอ่ ยู่ ณ ระดบั พลังงาน (energy levels หรอื shell) จะมพี ลงั งานจำนวนหน่ึง
สำหรบั อเิ ล็กตรอนทอี่ ยู่ใกลน้ ิวเคลยี สมากทีส่ ุดจะมีพลังงานน้อยกว่าพวกท่อี ยู่ไกลออกไป ยิง่ อยู่ไกลมากย่ิงมี
พลังงานมากขึน้ โดยกำหนดระดบั พลังงานหลักให้เป็น n ซึ่ง n เปน็ จ้านวนเต็มคือ 1, 2, … หรอื ตวั อักษรเรียง
กนั ดังน้ี คือ K, L, M, N, O, P, Q ตามลา้ ดบั เมือ่ n = 1 จะเป็นระดบั พลงั งานต่ำสุด หมายความว่า จะต้องใช้
พลังงานมากทส่ี ุดที่จะดึงเอาอิเลก็ ตรอนนั้นออกจากอะตอมได้ จำนวนอิเลก็ ตรอนทจ่ี ะมีได้ในแต่ละ ร ะดับ
พลังงานหลักต้องเท่ากับหรือไมเ่ กิน 2n2 และจำนวนอเิ ลก็ ตรอนในระดบั นอกสุดจะต้องไม่เกนิ 8 เช่น

ระดับพลังงานที่หนง่ึ n = 1 (shell K) ปรมิ าณอเิ ลก็ ตรอนท่ีควรมอี ยู่ = 2(1)2 = 2
ระดับพลังงานท่ีสอง (n = 2) ปริมาณอิเลก็ ตรอนสงู สุดทค่ี วรมไี ด้ = 2(2)2 = 8
ระดบั พลงั งานท่สี าม (n = 3) ปรมิ าณอเิ ล็กตรอนสูงสุดที่ควรมไี ด้ = 2(3)2 = 18
ระดับพลังงานที่ส่ี (n = 4) ปรมิ าณอเิ ล็กตรอนสงู สดุ ท่ีควรมีได้ = 2(4)2 = 32
ระดบั พลงั งานที่หา้ (n = 5) ปริมาณอเิ ลก็ ตรอนสูงสุดท่ีควรมไี ด้ = 2(5)2 = 50
ระดับพลงั งานทห่ี ก (n = 6) ปรมิ าณอเิ ล็กตรอนสงู สดุ ทีค่ วรมีได้ = 2(6)2 = 72
ระดบั พลังงานที่เจ็ด (n = 7) ปริมาณอิเล็กตรอนสงู สุดทีค่ วรมไี ด้ = 2(7)2 = 98

รปู ท่ี 1.1 ออร์บทิ ลั (orbital)

6

เชน่ ตารางที่ 1.1 การจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลังงานหลกั ของธาตุตา่ งๆ

จากการศกึ ษาสเปกตรมั ของธาตุตา่ งๆ พบวา่ ในระดบั พลังงานหลัก (n) ยังประกอบดว้ ยระดับพลังงาน
ยอ่ ยหรือเรยี กวา่ ซับเซลล์ (sub-levels หรือ sub-shells) โดยกา้ หนดเป็นสญั ลกั ษณ์คือ s p d และ f ซึ่งใน
แต่ละระดับพลงั งานยอ่ ยจะมีอเิ ล็กตรอนได้ไมเ่ ทา่ กนั และมีพลงั งานไม่เทา่ กนั กล่าวคอื ระดบั พลงั งานย่อย s มี
พลังงานต่ำกว่า p ต่ำกว่า d ตำ่ กว่า f ตามล้าดบั ในระดบั พลังงานย่อยยังประกอบด้วยออรบ์ ิทลั (orbital) ซ่ึง
ในแตล่ ะออรบ์ ิทลั มีอเิ ล็กตรอนไดไ้ ม่เกิน 2 อเิ ลก็ ตรอน ดงั นี้

ระดับพลังงานย่อย s มีอเิ ลก็ ตรอนไดไ้ มเ่ กิน 2 อิเล็กตรอน มี 1 ออรบ์ ทิ ัล
ระดับพลังงานย่อย p มอี ิเลก็ ตรอนไดไ้ มเ่ กิน 6 อิเล็กตรอน มี 3 ออร์บิทลั
ระดับพลังงานยอ่ ย d มีอิเลก็ ตรอนได้ไม่เกนิ 10 อิเล็กตรอน มี 5 ออรบ์ ทิ ัล
ระดบั พลงั งานยอ่ ย f มีอิเลก็ ตรอนไดไ้ ม่เกนิ 14 อเิ ล็กตรอน มี 7 ออร์บทิ ัล
ภายในระดบั พลังงานหลกั อนั เดยี วกันจะประกอบด้วยพลังงานย่อยเรยี งล้าดบั จากพลังงานต่้าไปสูง คือ
จาก s ไป p d และ f เช่น 3p สูงกว่า 3s ซึง่ เมือ่ นำมาเรียงลำดับกนั แลว้ พบว่ามเี ฉพาะ 2 ระดับพลังงานแรก
คอื n = 1 และ n = 2 เทา่ นนั้ ท่มี ีพลังงานเรยี งลำดับกนั แต่พอข้ึนระดับพลังงาน n = 3 เร่มิ มกี ารซ้อนเกยกัน
ของระดับพลงั งานย่อย ดังรปู

7

รปู ที่ 1.2 แสดงระดับพลงั งานในอะตอม
จากการศกึ ษาพบวา่ กรณีของอะตอมท่ีมีหลายอิเล็กตรอนนน้ั ระดบั พลังงานของ 3d จะใกล้กบั 4s
มาก และพบว่า ถา้ บรรจอุ เิ ลก็ ตรอนใน 4s กอ่ น 3d พลังงานรวมของอะตอมจะตำ่ และอะตอมจะเสถียร กว่า
ดงั นน้ั ในการจดั เรยี งอิเลก็ ตรอนในออรบ์ ทิ ัลแบบที่เสถยี รท่ีสุด คอื การจัดตามระดบั พลงั งานทตี่ ่ำทีส่ ุดกอ่ นท้ังใน
ระดับพลงั งานหลักและยอ่ ย ซงึ่ วธิ กี ารจัดอเิ ลก็ ตรอนสามารถพิจารณาตามลกู ศรในรปู ท่ี 1.8 โดยเรยี งลำดับได้
เปน็ 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d 4p 5s 4d 5p 6s 4f 5d 6p 7s 5f 6d 7p

รปู ท่ี 1.3 แสดงลำดบั การบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บิทลั
ในการจดั อิเล็กตรอนอาจเขียนเปน็ แผนภาพออรบ์ ทิ ัลซ่ึงแสดงสปินของอเิ ล็กตรอนด้วย ดังตัวอยา่ ง C
มี z = 6 มีโครงแบบอเิ ล็กตรอนเป็น 1s2 2s2 2p2 ซ่ึงการจดั แสดงสปนิ ของอเิ ล็กตรอนแสดงในตารางที่ 1.1
ในการบรรจอุ ิเล็กตรอนหรอื การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนลงในออร์บิทลั จะต้องยดึ หลักในการบรรจุ
อิเลก็ ตรอนของอะตอมหน่งึ ๆ ลงในออรบ์ ิทลั ที่เหมาะสมตามหลกั ดงั ต่อไปนี้
1) หลกั ของเพาลี (Pauli exclusion principle) กลา่ ววา่ “ไม่มีอิเล็กตรอนคหู่ นึง่ คใู่ ดในอะตอมทม่ี ี
เลขควอนตัมทั้งสีเ่ หมือนกันทุกประการ” น่นั คืออเิ ลก็ ตรอนคหู่ นึ่งในออร์บิทลั จะมคี า่ n, ℓ, mℓ เหมอื นกันได้
แต่ตา่ งกนั ทีส่ ปิน

8

2) หลักของเอาฟบ์ าว (Aufbau principle) มวี ิธกี ารดังนี้
2.1) สัญลักษณว์ งกลม O, หรอื _ แทน ออร์บิทลั
ลูกศร ↑↓ แทน อิเลก็ ตรอน 1 ตวั ทีส่ ปิน ข้นึ -ลง

↑↓ เรยี กวา่ อิเลก็ ตรอนคู่ (paired electron)
↑ เรียกว่าอิเลก็ ตรอนเดีย่ ว (single electron)
2.2) บรรจอุ ิเล็กตรอนเขา้ ไปในออรบ์ ทิ ัลที่มรี ะดบั พลงั งานตำ่ จนครบจำนวนก่อน ดงั รปู ท่ี 1.1
3) กฎของฮนุ ด์ (Hund’s rule) กล่าววา่ “การบรรจุอิเลก็ ตรอนในออร์บิทัลทมี่ รี ะดับพลังงานเท่ากนั
(degenerate orbital) จะบรรจุในลักษณะทีท่ ้าให้มอี เิ ล็กตรอนเด่ยี วมากท่สี ุดเทา่ ทจ่ี ะมากได้” ออรบ์ ิทัลทมี่ ี

ระดบั พลังงานมากกว่า 1 เช่น ออรฺบิทัล p และ d เปน็ ตน้

รปู ที่ 1.4 โครงแบบอเิ ลก็ ตรอน (แบบสญั ลักษณ)์ ของธาตุ

4) การบรรจุเตม็ (filled configuration) เป็นการบรรจุอิเล็กตรอนในออร์บทิ ัลที่มีร ะดับพลังงาน
เทา่ กัน แบบเตม็ ครบ 2 ตัว ส่วนการบรรจุคร่ึง (half- filled configuration) เป็นการบรรจุอิเลก็ ตรอนลงใน
ออร์บทิ ลั แบบครึ่งหรอื เพยี ง 1 ตวั เทา่ น้นั ซง่ึ การบรรจทุ งั้ สองแบบ (ของเวเลนซ์อิเลก็ ตรอน) จะทำให้มีความ
เสถียรมากกวา่ ตวั อย่างการบรรจุเต็ม เช่น

รปู ที่ 1.5 การบรรจอุ ิเล็กตรอนในออรืบิทัลแบบเต็ม

9

ตวั อย่างการจัดอเิ ลก็ ตรอนของธาตุเลขอะตอม 1 ถึง 18
รูปที่ 1.6 การจดั อิเลก็ ตรอนของธาตเุ ลขอะตอม 1 ถึง 18

10

อ้างองิ

https://sites.google.com/site/sciencephatchara/khorngsrang -xatxm-khux-xari
https://boonmawong.wordpress.com/เน้อื หาบทเรียน/การจัดอิเลก็ ตรอนในระดั/

10


Click to View FlipBook Version